ระบบการประกันคุณภาพอาชีวศึกษา

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Yamaha Electrics Co.,Ltd.
Advertisements

การปฏิรูปอุดมศึกษาไทยและความสำคัญของ Learning Outcome Assessment
การประเมินผลระหว่างเรียนที่ ส่งเสริมการสอนของครูและ การเรียนรู้ของนักเรียนใน ศตวรรษที่ 21.
ประเด็นบรรยาย ๑. ทำไมต้อง “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้” ๒. นโยบายของโครงการ ลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้ ๓. ผล O-net ของโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการ ลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้
แนวทางการบริหารจัดการเวลาเรียน “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้” สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ.
แนวทางการบริหารจัดการเวลาเรียน “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้” สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ.
1 ทบทวน แผนกลยุทธ์สำนักงาน เขต พื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต 9.
นางยุภา พรเศรษฐ์ ผู้อำนวยการโรงเรียนกันตังพิทยากร โรงแรมอินทรา รีเจนท์ กรุงเทพมหานคร การพัฒนาองค์ความรู้การบริหารจัดการ ห้องสมุดมีชีวิต และการขยายเครือข่ายห้องสมุดมีชีวิต.
แผนงานโครงการ หน่วยศึกษานิเทศก์ ผล ปีงบประมาณ 2558 แผน ปีงบประมาณ 2559.
แผนและขั้นตอนการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา
Report การแข่งขัน.
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.)
บทที่ 4 กลยุทธ์ระบบสารสนเทศ
การเรียนรู้โดยใช้โครงการเป็นฐาน (Project based Learning : PBL)
ผู้อำนวยการสำนักทดสอบทางการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ Moderate Class More Knowledge
เป็นกระบวนการเรียนรู้ ไม่ใช่การตรวจสอบ
Hospital Presentation นพ.ชัยวัฒน์ พงศ์ทวีบุญ ผู้อำนวยการโรงพยาบาล
คำขวัญกลุ่ม สร้างสรรค์ ส่งเสริม ใส่ใจ เรียนรู้ผ่านกิจกรรม กลุ่ม RE-ACC
การพัฒนา ระบบบริหารกองทัพเรือ ภายใต้กรอบการจัดการภาครัฐแนวใหม่
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วัลยา ธเนศพงศ์ธรรม ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายวิชาการ
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่
Week 4 โครงการบริษัทจำลองเพื่อการผลิตภาพเคลื่อนไหวและสื่อผสม Animation and Multimedia Project CAG2901.
คุณภาพแบบเรียบง่าย ผ่อนคลายด้วย SPA
การบำบัดรักษาทางสังคมจิตใจ สำหรับผู้ป่วยโรคซึมเศร้า ในการอบรมการบริการผู้ป่วยโรคซึมเศร้าสำหรับผู้ปฏิบัติ หลักสูตรกรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข.
การจัดทำแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม
สำหรับธุรกิจบริหารจัดการเรือ
ภาควิชาเวชศาสตร์ฟื้นฟู คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
โครงการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมอาจารย์และบุคลากรทางการศึกษา
บทที่ 11 กิจกรรมพัฒนาตนเองและทีมงานคุณภาพเพื่อประสิทธิภาพในการทำงาน
เทคนิคการทำงานให้มีประสิทธิภาพ
นายดำหริ งิมสันเทียะ ผอ.สพป.อย.1
คณะที่ 3 : พัฒนาระบบบริหารจัดการ การบริหารการเงินการคลัง
แบบฟอร์มการรายงานข้อมูลพื้นที่แปลงบำรุงป่า ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2558
สมรรถนะของข้าราชการ กลุ่มงานบริการประชาชน ด้านสุขภาพและสวัสดิการ
ประชุมชี้แจงการใช้สื่อ ชุดการจัดการเรียนรู้สื่อ ๖๐ พรรษา สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี สำหรับโรงเรียนขนาดเล็ก สพป.น่านเขต 2 วันที่ 16.
กฎกระทรวง ว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ. ศ
การจัดกิจกรรมฝึกอบรมประชาชน
โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตประชาชนในชนบท จังหวัดสตูล
แบบฟอร์มการบริหารโดยการควบคุมคุณภาพ (QCC) ดีเด่น ปี 2561
กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร กรมอนามัย
การแนะแนวอาชีพในศตวรรษที่ 21
โดย ดร.ปราณี คงพิกุล ผอ.กลุ่มนิเทศติดตามและประเมินผลการศึกษา
ผู้อำนวยการวิทยาลัยเทคโนโลยีไทย-ไต้หวัน (BDI)
รายงานการประเมินตนเอง
การบริหารโครงการ ด้วยระบบปฏิทินกิจกรรมแบบเบ็ดเสร็จ Project management with integrated calendar system โดย ... ธนาภรณ์ ฉิมแพ / ประจักษ์ สุขอร่าม / จารุวรรณ.
ดร.ศรีวรรณ ฉัตรสุริยวงศ์ ครูเชี่ยวชาญ (คศ.4)
PRE 103 Production Technology
กฎกระทรวง การประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 25๖๑
จิตสำนึกคุณภาพ.
The Association of Thai Professionals in European Region
ตอนที่ 3.2 กลยุทธ์การบริหารเจ้าหน้าที่
อาจารย์ ศิริรัตน์ หวังดี
ดร.ภาสกร พงษ์สิทธากร ผู้อำนวยการศูนย์พัฒนาการนิเทศและเร่งรัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน สพฐ.
Service Plan สาขาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ผสมผสาน
พลวัตโลกในศตวรรษที่ 21 ปฏิรูปการศึกษา : เตรียมคนไทย 4.0
การพัฒนาเครื่องมือวัดและประเมินผลการเรียนรู้
12-13 พฤษภาคม 2561 ณ หอประชุมภัคพิพิธ โรงเรียนหาดใหญ่วิทยาลัย ๒
นพ.ชลทิศ อุไรฤกษ์กุล 16 ธ.ค.58
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 2 : มาตรฐานการรักษาความปลอดภัยข้อมูล สธ412 ความมั่นคงของระบบสารสนเทศ อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ
Skills of 21st century learning ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 3Rs X 7Cs (เรียนรู้ตลอดชีวิต) Reading ’Riting (Writing) ’Rithmetic (Arithmetic) ทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ.
แนวปฏิบัติที่ดี (Best Practice)
แนวปฏิบัติที่ดีในการเพิ่มประสิทธิภาพ การทำบัตรประจำตัวนักศึกษาใหม่
การพัฒนาทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์
GREEN & CLEAN Hospital ประชุมชี้แจงรายละเอียดตัวชี้วัด (KPI Template)
“ทิศทางความร่วมมือในการลดการประสบอันตรายและโรคจากการทำงาน”
ข้อมูลการระดมความคิดเห็นต่อ การเปิดสอนหลักสูตรปริญญาโท แผน ข
ตัวชี้วัด 2.4 ระดับความสำเร็จของการดำเนินงาน
ดูง่าย จ่ายครบ จบในใบเดียว
TQS : Total Quality Service การบริการคุณภาพทั่วองค์การ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ระบบการประกันคุณภาพอาชีวศึกษา วิทยา ใจวิถี ผู้อำนวยการศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาอาชีวศึกษาภาคเหนือ wittaya2503@gmail.com  : 097 – 925 - 2858

“Mr.Wittaya Jaiwithee”

“Mr.Wittaya Jaiwithee”

“Mr.Wittaya Jaiwithee”

ปฏิรูปการศึกษา : ทักษะที่มีความสำคัญ - Cognitive Abilities - Process Skills - Systems Skills - Complex Problem Solving - Content Skills - Learning Skill - Working Skill - Digital Skill - Communication Skill - Presentation Skill ปัญญาที่เฉียบแหลม (Head) ทักษะที่เห็นผล (Hand) สุขภาพที่แข็งแรง (Health) จิตใจที่งดงาม (Heart) “Mr.Wittaya Jaiwithee”

ระบบการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา การประเมินคุณภาพ ภายใน การประกัน คุณภาพภายใน การพัฒนาคุณภาพ การศึกษา การติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา … J.Wittaya …

การประกันคุณภาพการศึกษา ผลการจัดการศึกษา การจัดการศึกษามีคุณภาพตาม มาตรฐานที่กำหนด การจัดการศึกษาบรรลุเป้าประสงค์ของ หน่วยงานต้นสังกัด การจัดการศึกษาได้รับการพัฒนาอย่าง ต่อเนื่อง สร้างความเชื่อมั่นให้แก่ผู้มีส่วน เกี่ยวข้องและสาธารณชน … J.Wittaya …

ระบบการประกันคุณภาพภายใน ตามหลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติเกี่ยวกับ การประกันคุณภาพภายในการอาชีวศึกษา … J.Wittaya …

กำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา จัดทำแผนพัฒนาการจัดการศึกษา ดำเนินการตามแผนพัฒนาการจัดการศึกษา ติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษาอย่างน้อยปีละ ๒ ครั้ง ประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานของสถานศึกษา จัดทำรายงานประเมินคุณภาพภายใน พัฒนาคุณภาพการศึกษา … J.Wittaya …

ระบบการประกันคุณภาพภายนอก เพื่อรับรองมาตรฐานและมุ่งพัฒนาคุณภาพการศึกษาประกอบด้วย (1) การประเมินคุณภาพภายนอก (2) การติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา รายงานผลการประเมินตนเอง แผนพัฒนาการจัดการศึกษา ของสถานศึกษา ประเด็นที่ต้องการให้มีการ ประเมินผลและ ติดตามตรวจสอบ หน่วยงานต้นสังกัด จัดส่งให้ สมศ. … J.Wittaya …

การขับเคลื่อนของสถานศึกษา สถานศึกษาดำเนินการประกันคุณภาพภายในอย่างต่อเนื่องเป็นประจำทุกปีโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ สถานศึกษาจัดทำรายงานประจำปี เสนอต่อคณะกรรมการสถานศึกษา หน่วยงานต้นสังกัด และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อพิจารณาและเปิดเผยรายงานนั้นต่อสาธารณชน สถานศึกษาต้องนำผลการประเมินคุณภาพทั้งภายในและภายนอกไปประกอบการจัดทำแผนการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา … J.Wittaya …

คณะกรรมการสถานศึกษาหรือวิทยาลัย ประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา … J.Wittaya …

คณะกรรมการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา คณะอนุกรรมการพัฒนาคุณภาพการศึกษา คณะอนุกรรมการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา คณะอนุกรรมการประเมินคุณภาพภายใน … J.Wittaya …

ทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ ในปีการศึกษาที่ผ่านมา แสดงพัฒนาการ ของสถานศึกษา (Act) การปฏิบัติและ ร่องรอยหลักฐาน (A1 A2 A3) แสดงผลการประเมิน ทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ ในปีการศึกษาที่ผ่านมา หัวใจสำคัญ … J.Wittaya …

หลักการสำคัญของการประกันคุณภาพการศึกษา การตรวจสอบและประเมิน คุณภาพ Awareness Attempt Achievement การควบคุมคุณภาพ การตรวจสอบและประเมิน คุณภาพ PLAN DO CHECK ACT การผดุงคุณภาพ … J.Wittaya …

คุณภาพของผู้สำเร็จการศึกษาอาชีวศึกษา ๑. ด้านคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ได้แก่ คุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพ พฤติกรรมลักษณะนิสัยและทักษะทางปัญญา ๒. ด้านสมรรถนะหลักและสมรรถนะทั่วไป ได้แก่ ความรู้และทักษะการสื่อสาร การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ การพัฒนาการเรียนรู้และการปฏิบัติงาน การทำงานร่วมกับผู้อื่น การใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การประยุกต์ใช้ตัวเลข การจัดการและการพัฒนางาน ๓. ด้านสมรรถนะวิชาชีพ ได้แก่ ความสามารถในการประยุกต์ใช้ความรู้และทักษะในสาขาวิชาชีพสู่การปฏิบัติจริง รวมทั้งประยุกต์สู่อาชีพ … J.Wittaya …

… J.Wittaya …

… J.Wittaya …

… J.Wittaya …

… J.Wittaya …

วิเคราะห์รายละเอียด กฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ.๒๕๖๑ ๑. ให้ยกเลิกกฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และ วิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ.๒๕๕๓ ๒. การประกันคุณภาพการศึกษา หมายความว่า การประเมินผลและการติดตามตรวจสอบ คุณภาพตาม มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาแต่ละระดับและประเภท การศึกษา มีกลไกในการควบคุม ตรวจสอบระบบการบริหารคุณภาพ การศึกษาที่สถานศึกษาจัดขึ้น เกิดการพัฒนาและสร้างความเชื่อมั่น ให้แก่ผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง และสาธารณชนว่าสถานศึกษานั้นสามารถจัดการศึกษาได้ อย่างมีคุณภาพ ตามมาตรฐานการศึกษา และบรรลุ เป้าประสงค์ของหน่วยงานต้นสังกัดหรือหน่วยงานที่กํากับดูแล … J.Wittaya …

จัดให้มีการประเมินผลและตรวจสอบคุณภาพการศึกษา ภายในสถานศึกษา สํานักงาน หมายความว่า สํานักงานรับรองมาตรฐาน และประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) ให้สถานศึกษาแต่ละแห่งจัดให้มีระบบการประกันคุณภาพ การศึกษาภายในสถานศึกษา โดยการกําหนด มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาให้เป็นไปตาม มาตรฐานการศึกษาแต่ละระดับและประเภทการศึกษา จัดทําแผนพัฒนา การจัดการศึกษาของสถานศึกษาที่มุ่ง คุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาและดําเนินการตามแผนที่ กําหนดไว้ จัดให้มีการประเมินผลและตรวจสอบคุณภาพการศึกษา ภายในสถานศึกษา ติดตามผลการดําเนินการ เพื่อพัฒนาสถานศึกษาให้มี คุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา … J.Wittaya …

จัดส่งรายงานผลการประเมินตนเอง ให้แก่หน่วยงานต้น สังกัดหรือหน่วยงานที่กํากับดูแลสถานศึกษาเป็นประจําทุก ปี ให้หน่วยงานต้นสังกัดหรือหน่วยงานที่กํากับดูแล สถานศึกษา มีหน้าที่ในการให้คําปรึกษา ช่วยเหลือ และแนะนําสถานศึกษา เพื่อให้การประกันคุณภาพ การศึกษาของสถานศึกษาพัฒนาอย่างต่อเนื่อง เมื่อได้รับรายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา แล้ว ให้หน่วยงานต้นสังกัดจัดส่งรายงานดังกล่าวพร้อม กับประเด็นต่าง ๆ ที่ต้องการให้มีการประเมินผลและการ ติดตามตรวจสอบให้แก่สํานักงานเพื่อใช้เป็นข้อมูลและ แนวทางในการประเมินคุณภาพภายนอก … J.Wittaya …

ให้สํานักงานดําเนินการประเมินผลและติดตามตรวจสอบ คุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา และ จัดส่งรายงานผลการประเมินพร้อมข้อเสนอแนะ ให้แก่ สถานศึกษาและหน่วยงานต้นสังกัดหรือหน่วยงานที่กํากับ ดูแลสถานศึกษานั้น ๆ เพื่อให้สถานศึกษาใช้เป็น แนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพการศึกษาต่อไป การดําเนินการ สํานักงานอาจจัดให้บุคคลหรือหน่วยงาน ที่ได้รับการรับรองจาก สํานักงาน ดําเนินการประเมินผล และติดตามตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของ สถานศึกษาได้ ให้หน่วยงานต้นสังกัดหรือหน่วยงานที่กํากับดูแล สถานศึกษานั้นติดตามผลการดําเนินการ ปรับปรุงและ พัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา เพื่อนําไปสู่การ พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา … J.Wittaya …

กรอบแนวคิดในการกำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา มาตรฐานการอาชีวศึกษา พ.ศ.2561 นโยบายของสำนักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา ความต้องการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา ของสถานศึกษา ความต้องการของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย กับการจัดการศึกษาของสถานศึกษา มาตรฐาน การศึกษา ของสถานศึกษา … J.Wittaya …

การกำหนดมาตรฐานการศึกษา ง่าย ไม่ซับซ้อน ไม่สร้างความยุ่งยากให้สถานศึกษา ไม่มีตัวชี้วัด ไม่มีเกณฑ์ มีแต่ Guide Line ที่บ่ง บอกถึงคุณภาพที่ต้องการให้เกิดขึ้นจริงๆ ใน สถานศึกษา การกำหนดคุณภาพมาตรฐานยึดหลัก : How and How well you… ไม่ต้องกังวลว่าจะวัดอย่างไร สถานศึกษาจะเป็นผู้ สะท้อนคุณภาพของสถานศึกษาเองทั้งเชิงปริมาณและ คุณภาพ … J.Wittaya …

กรอบแนวคิดในการจัดทำแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา วิสัยทัศน์ (Vision) พันธกิจ (Mission) กลยุทธ์ (Strategy) แผนงาน โครงการ กิจกรรม (Initiative) มาตรฐาน การศึกษา ของสถานศึกษา … J.Wittaya …

มาตรฐานการอาชีวศึกษา พ.ศ.2561 3 มาตรฐาน 9 ประเด็นประเมิน … J.Wittaya …

มาตรฐานที่ 1 คุณลักษณะของผู้สำเร็จการศึกษา อาชีวศึกษาที่พึงประสงค์ การจัดการอาชีวศึกษา เป็นการจัดการศึกษาเพื่อ พัฒนาผู้สำเร็จการศึกษาอาชีวศึกษาให้มีความรู้ มี ทักษะและ การประยุกต์ใช้เป็นไปตามมาตรฐานคุณวุฒิ อาชีวศึกษาแต่ละระดับการศึกษา และมีคุณธรรม จริยธรรม และคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ประกอบด้วย ประเด็นการประเมิน ดังนี้ … J.Wittaya …

1.1 ด้านความรู้ ผู้สำเร็จการศึกษาอาชีวศึกษามีความรู้ เกี่ยวกับข้อเท็จจริง ตามหลักการ ทฤษฏี และ แนวปฏิบัติต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาที่ เรียน หรือทำงาน โดยเน้นความรู้เชิงทฤษฏี และหรือข้อเท็จจริง เป็นไปตามมาตรฐานคุณวุฒิ อาชีวศึกษาแต่ละระดับการศึกษา … J.Wittaya …

องค์ประกอบที ๑ คุณภาพผู้สำเร็จการศึกษา สถานศึกษามี Innovation หรือ Best Practice ในเรื่องการ จัดความรู้ของผู้สำเร็จการศึกษาจนเป็นต้นแบบให้สถานศึกษา อื่นได้นำไปใช้ มีการดำเนินการเกี่ยวกับการจัดความรู้ของผู้สำเร็จการศึกษา สอดคล้องกับแผนการศึกษาชาติ พ.ศ.๒๕๖๐ - ๒๕๗๙ ยุทธศาสตร์ที่...ข้อ... มีการดำเนินการเกี่ยวกับการจัดการความรู้ของผู้สำเร็จ การศึกษาโดยมีพัฒนาเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ๒ ปี มีการดำเนินการเกี่ยวกับการจัดการความรู้ของผู้สำเร็จ การศึกษาเป็นไปตามแผนปฏิบัติงาน มีความครบถ้วนสมบูรณ์ มีความชัดเจนเชื่อถือได้และดำเนินการเป็นไปตามเป้าหมายที่ สถานศึกษากำหนด … J.Wittaya …

1.2 ด้านทักษะและการประยุกต์ใช้ ผู้สำเร็จการศึกษาอาชีวศึกษามีทักษะที่จำเป็น ในศตวรรษที่ 21 ทักษะวิชาชีพ และทักษะชีวิต เป็นไปตามมาตรฐานคุณวุฒิอาชีวศึกษาแต่ละระดับ การศึกษา สามารถประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงาน และการดำรงชีวิตอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และมีสุขภาวะ ที่ดี … J.Wittaya …

ประเด็นพิจารณา ๑.๒ ทักษะและการประยุกต์ใช้ในการ ปฏิบัติงานของผู้สำเร็จการศึกษา สถานศึกษามี Innovation หรือ Best Practice ในเรื่อง การส่งเสริมให้ผู้สำเร็จการศึกษามีความรู้เกี่ยวกับสาขาวิชาที่ เรียน เกิดทักษะที่จำเป็นในศตวรรษที่ ๒๑ ทักษะวิชาชีพ และ ทักษะชีวิตเป็นไปตามมาตรฐานคุณวุฒิอาชีวศึกษาแต่ละ ระดับการศึกษา และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการ ปฏิบัติงานได้ จนเป็นต้นแบบให้สถานศึกษาอื่นได้นำไปใช้ มีการดำเนินการเกี่ยวกับการส่งเสริมให้ผู้สำเร็จการศึกษาเกิด ทักษะและการประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงาน โดยสอดคล้อง กับแผนการศึกษาชาติ พ.ศ.๒๕๖๐ – ๒๕๗๙ ยุทธศาสตร์ ที่...ข้อ... … J.Wittaya …

มีการดำเนินการส่งเสริมให้ผู้สำเร็จการศึกษามีความรู้เกี่ยวกับ สาขาวิชาที่เรียน เกิดทักษะที่จำเป็นในศตวรรษที่ ๒๑ ทักษะวิชาชีพ และทักษะชีวิตเป็นไปตามมาตรฐานคุณวุฒิ อาชีวศึกษาแต่ละระดับการศึกษา และสามารถนำไป ประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงานได้ โดยมีพัฒนาเพิ่มขึ้นอย่าง ต่อเนื่อง ๒ปี มีการดำเนินการเกี่ยวกับการส่งเสริมให้ผู้สำเร็จการศึกษามี ความรู้เกี่ยวกับสาขาวิชาที่เรียน เกิดทักษะที่จำเป็นในศตวรรษ ที่ ๒๑ ทักษะวิชาชีพ และทักษะชีวิตเป็นไปตามมาตรฐาน คุณวุฒิอาชีวศึกษาแต่ละระดับการศึกษา และสามารถนำไป ประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงานได้ เป็นไปตามแผนปฏิบัติงาน มี ความครบถ้วนสมบูรณ์ มีความชัดเจนเชื่อถือได้และดำเนินการ เป็นไปตามเป้าหมายที่สถานศึกษากำหนด … J.Wittaya …

1.3 ด้านคุณธรรม จริยธรรม และคุณลักษณะที่ พึงประสงค์ ผู้สำเร็จการศึกษาอาชีวศึกษามีคุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพ เจตคติและกิจ นิสัยที่ดี ภูมิใจและรักษาเอกลักษณ์ของชาติไทย เคารพกฎหมาย เคารพสิทธิของผู้อื่น มีความ รับผิดชอบตามบทบาทหน้าที่ของตนเองตามระบอบ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีจิตสาธารณะ และมีจิตสำนึกรักษ์สิ่งแวดล้อม … J.Wittaya …

ประเด็นพิจารณา ๑.๓ คุณธรรม จริยธรรม และ คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้สำเร็จการศึกษา สถานศึกษามี Innovation หรือ Best Practice ในเรื่อง การส่งเสริมให้ผู้สำเร็จการศึกษามี คุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพ เจตคติและกิจนิสัยที่ดี ภูมิใจและรักษา เอกลักษณ์ของชาติไทย เคารพกฎหมาย เคารพสิทธิของ ผู้อื่น มีความรับผิดชอบตามบทบาทหน้าที่ของตนเองตาม ระบบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีจิต สาธารณะ และจิตสำนักรักษ์สิ่งแวดล้อม จนเป็นต้นแบบให้ สถานศึกษาอื่นได้นำไปใช้ มีการดำเนินการเกี่ยวกับการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม และคุณลักษณะที่พึงประสงค์ให้ผู้สำเร็จการศึกษา โดย สอดคล้องกับแผนการศึกษาชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙ ยุทธศาสตร์ที่...ข้อ... … J.Wittaya …

มีการดำเนินการเกี่ยวกับการส่งเสริมให้ผู้สำเร็จการศึกษามี คุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพ เจตคติและกิจ นิสัยที่ดี ภูมิใจและรักษาเอกลักษณ์ของชาติไทย เคารพ กฎหมาย เคารพสิทธิของผู้อื่น มีความรับผิดชอบตามบทบาท หน้าที่ของตนเองตามระบบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ ทรงเป็นประมุข มีจิตสาธารณะ และจิตสำนักรักษ์สิ่งแวดล้อม โดยมีพัฒนาเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ๒ ปี มีการดำเนินการเกี่ยวกับการส่งเสริมให้ผู้สำเร็จการศึกษามี คุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพ เจตคติและกิจ นิสัยที่ดี ภูมิใจและรักษาเอกลักษณ์ของชาติไทย เคารพ กฎหมาย เคารพสิทธิของผู้อื่น มีความรับผิดชอบตามบทบาท หน้าที่ของตนเองตามระบบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ ทรงเป็นประมุข มีจิตสาธารณะ และจิตสำนักรักษ์สิ่งแวดล้อม เป็นไปตามแผนปฏิบัติงาน มีความครบถ้วนสมบูรณ์ มีความ ชัดเจนเชื่อถือได้และดำเนินการเป็นไปตามเป้าหมายที่ สถานศึกษากำหนด … J.Wittaya …

มาตรฐานที่ 2 การจัดการอาชีวศึกษา สถานศึกษามีครูที่มีคุณวุฒิการศึกษาและจำนวนตามเกณฑ์ที่กำหนด ใช้หลักสูตรฐานสมรรถนะในการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ และบริหารจัดการทรัพยากรของสถานศึกษาอย่างมีประสิทธิภาพ มีความสำเร็จในการดำเนินการตามนโยบายสำคัญของหน่วยงานต้นสังกัดหรือหน่วยงานที่กำกับดูแลสถานศึกษา ประกอบด้วยประเด็นการประเมิน ดังนี้ … J.Wittaya …

2.1 ด้านหลักสูตรอาชีวศึกษา สถานศึกษาใช้หลักสูตรฐานสมรรถนะที่สอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียน ชุมชน สถานประกอบการ ตลาดแรงงาน มีการปรับปรุงรายวิชาเดิม หรือกำหนดรายวิชาใหม่ หรือกลุ่มวิชาเพิ่มเติมให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีและความต้องการของตลาดแรงงาน โดยความร่วมมือกับสถานประกอบการหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง  … J.Wittaya …

องค์ประกอบที่ ๒ คุณภาพการบริหารจัดการศึกษา สถานศึกษามี Innovation หรือ Best Practice ในเรื่อง การใช้หลักสูตรฐานสมรรถนะในการจัดการเรียนการสอน โดยร่วมมือกับสถานประกอบการหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องใน การพัฒนาปรับปรุงหลักสูตรอย่างต่อเนื่อง จนเป็นต้นแบบให้ สถานศึกษาอื่นได้นำมาใช้ มีการดำเนินการเกี่ยวกับการใช้หลักสูตรฐานสมรรถนะในการ จัดการเรียนการสอน สอดคล้องกับแผนการศึกษาชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙ ยุทธศาสตร์ที่...ข้อ... … J.Wittaya …

มีการดำเนินเกี่ยวกับการใช้หลักสูตรฐานสมรรถนะในการ จัดการเรียนการสอน โดยร่วมมือกับสถานประกอบการหรือ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการพัฒนาปรับปรุงหลักสูตรอย่าง ต่อเนื่อง เพื่อให้ทันต่อการเปลี่ยนของเทคโนโลยีและความ ต้องชองตลาดแรงงานในปัจจุบัน เป็นไปตามแผนปฏิบัติงานมี ความครบถ้วนสมบูรณ์ มีความชัดเจนเชื่อถือได้ และ ดำเนินการเป็นไปตามเป้าหมายที่สถานศึกษากำหนด โดยมี พัฒนาเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ๒ ปี มีการดำเนินการเกี่ยวกับการใช้หลักสูตรฐานสมรรถนะในการ จัดการเรียนการสอน โดยร่วมมือกับสถานประกอบการหรือ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการพัฒนาปรับปรุงหลักสูตรอย่าง ต่อเนื่อง เพื่อให้ทันต่อการเปลี่ยนของเทคโนโลยีและความ ต้องของตลาดแรงงานในปัจจุบันเป็นไปตามแผนปฏิบัติงาน มี ความครบถ้วนสมบูรณ์ มีความชัดเจนเชื่อถือได้ และ ดำเนินการเป็นไปตามเป้าหมายที่สถานศึกษากำหนด … J.Wittaya …

2.2 ด้านการจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา สถานศึกษามีครูที่มีคุณวุฒิการศึกษาและมีจำนวนตามเกณฑ์ที่กำหนด ได้รับการพัฒนาอย่างเป็นระบบต่อเนื่อง เพื่อเป็นผู้พร้อมทั้งด้านคุณธรรม จริยธรรมและความเข้มแข็งทางวิชาการและวิชาชีพ จัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ตอบสนองความต้องการของผู้เรียนทั้งวัยเรียนและวัยทำงาน ตามหลักสูตร มาตรฐานคุณวุฒิอาชีวศึกษา แต่ละระดับการศึกษา ตามระเบียบหรือข้อบังคับเกี่ยวกับการจัดการศึกษาและการประเมินผลการเรียนของแต่ละหลักสูตร ส่งเสริม สนับสนุน กำกับ ดูแลให้ครูจัดการเรียนการสอนรายวิชาให้ถูกต้อง ครบถ้วน สมบูรณ์ … J.Wittaya …

ประเด็นพิจารณา ๒.๒ ความเป็นระบบ เชื่อถือได้และ ประสิทธิผล ของการจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา สถานศึกษามี Innovation หรือ Best Practice ในเรื่องการ จัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา จนเป็นต้นแบบให้ สถานศึกษาอื่นได้นำไปใช้ มีการดำเนินการเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา สอดคล้องกับแผนการศึกษาชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙ ยุทธศาสตร์ที่...ข้อ... มีการดำเนินการเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา โดยมีพัฒนาเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ๒ ปี มีการดำเนินการเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา เป็นไปตามแผนปฏิบัติงาน มีความครบถ้วนสมบูรณ์ มีความ ชัดเจนเชื่อถือได้ และดำเนินการเป็นไปตามเป้าหมายที่ สถานศึกษากำหนด … J.Wittaya …

2.3 ด้านการบริหารจัดการ สถานศึกษาบริหารจัดการบุคลากร สภาพแวดล้อม ภูมิทัศน์ อาคารสถานที่ ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ โรงฝึกงาน ศูนย์วิทยบริการ สื่อ แหล่งเรียนรู้ เทคโนโลยีสารสนเทศ ครุภัณฑ์ และงบประมาณของสถานศึกษาที่มีอยู่อย่างเต็มศักยภาพและมีประสิทธิภาพ … J.Wittaya …

ประเด็นพิจารณา ๒.๓ ความเป็นระบบ เชื่อถือได้และ ประสิทธิผล ของการบริหารจัดการสถานศึกษา สถานศึกษามี Innovation หรือ Best Practice ในเรื่องการ บริหารจัดการสถานศึกษา จนเป็นต้นแบบให้สถานศึกษาอื่นได้ นำไปใช้ มีการดำเนินการเกี่ยวกับการบริหารจัดการสถานศึกษา สอดคล้องกับแผนการศึกษาชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙ ยุทธศาสตร์ที่...ข้อ... มีการดำเนินการเกี่ยวกับการบริหารจัดการสถานศึกษา โดยมี พัฒนาเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ๒ ปี มีการดำเนินการเกี่ยวกับการบริหารจัดการสถานศึกษา เป็นไป ตามแผนปฏิบัติงาน มีความครบถ้วนสมบูรณ์ มีความชัดเจน เชื่อถือได้ และดำเนินการเป็นไปตามเป้าหมายที่สถานศึกษา กำหนด … J.Wittaya …

2.4 ด้านการนำนโยบายสู่การปฏิบัติ สถานศึกษามีความสำเร็จในการดำเนินการบริหารจัดการสถานศึกษา ตามนโยบายสำคัญที่หน่วยงานต้นสังกัดหรือหน่วยงานที่กำกับดูแลสถานศึกษามอบหมาย โดยความร่วมมือของผู้บริหาร ครู บุคลากรทางการศึกษาและผู้เรียน รวมทั้งการช่วยเหลือ ส่งเสริม สนับสนุนจากผู้ปกครอง ชุมชน สถานประกอบการและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐและภาคเอกชน … J.Wittaya …

ประเด็นพิจารณา ๒.๔ ความเป็นระบบ เชื่อถือได้และ ประสิทธิผล ของการดำเนินตามนโยบายของหน่วยงานต้น สังกัด สถานศึกษามี Innovation หรือ Best Practice ในเรื่องการ ดำเนินการตามนโยบายของหน่วยงานต้นสังกัด จนเป็น ต้นแบบให้สถานศึกษาอื่นนำไปใช้ สถานศึกษามีการดำเนินการตามนโยบายของหน่วยงานต้น สังกัด สอดคล้องกับแผนการศึกษาชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙ ยุทธศาสตร์ที่...ข้อ... สถานศึกษามีการดำเนินการตามนโยบายของหน่วยงานต้น สังกัด โดยมีพัฒนาเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ๒ ปี สถานศึกษามีการดำเนินการตามนโยบายของหน่วยงานต้น สังกัด เป็นไปตามแผนปฏิบัติงาน มีความครบถ้วนสมบูรณ์ มีความชัดเจนเชื่อถือได้ และดำเนินการเป็นไปตามเป้าหมายที่ สถานศึกษากำหนด … J.Wittaya …

มาตรฐานที่ 3 การสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ สถานศึกษาร่วมมือกับบุคคล ชุมชน องค์กรต่าง ๆ เพื่อสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ มีการจัดทำนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ งานวิจัย ประกอบด้วยประเด็นการประเมิน ดังนี้ … J.Wittaya …

3.1 ด้านความร่วมมือในการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ สถานศึกษามีการสร้างความร่วมมือกับบุคคล ชุมชน องค์กรต่าง ๆ ทั้งในประเทศและต่างประเทศในการจัดการศึกษา การจัดทรัพยากรทางการศึกษา กระบวนการเรียนรู้ การบริการทางวิชาการและวิชาชีพ โดยใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม เพื่อพัฒนาผู้เรียนและคนในชุมชนสู่สังคมแห่งการเรียนรู้ … J.Wittaya …

ประเด็นพิจารณา ๓.๑ ความเป็นระบบ เชื่อถือได้และ ประสิทธิผล ของการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ สถานศึกษามี Innovation หรือ Best Practice ในเรื่องการ สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ จนเป็นต้นแบบให้สถานศึกษาอื่นได้ นำไปใช้ มีการดำเนินการในการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ สอดคล้อง กับแผนการศึกษาชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙ ยุทธศาสตร์ที่ ...ข้อ... มีการดำเนินการในการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ โดยมี พัฒนาเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ๒ ปี มีการดำเนินการในการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ เป็นไปตาม แผนปฏิบัติงาน มีความครบถ้วนสมบูรณ์ มีความชัดเจน เชื่อถือได้ และดำเนินการเป็นไปตามเป้าหมายที่สถานศึกษา กำหนด … J.Wittaya …

3.2 ด้านนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ งานวิจัย สถานศึกษาส่งเสริมสนับสนุนให้มีการจัดทำนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ งานวิจัย โดยผู้บริหาร ครู บุคลากรทางการศึกษา ผู้เรียน หรือร่วมกับบุคคล ชุมชน องค์กรต่าง ๆ ที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ตามวัตถุประสงค์ และเผยแพร่สู่สาธารณชน … J.Wittaya …

ประเด็นพิจารณา ๓.๒ ความเป็นระบบ เชื่อถือได้และ ประสิทธิผล ของการสร้างนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ งาน สร้างสรรค์ งานวิจัย สถานศึกษามี Innovation หรือ Best Practice ในเรื่อง การส่งเสริม สนับสนุนให้มีการจัดทำนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ งานวิจัย โดยผู้บริหาร ครู บุคลากร ทางการศึกษา ผู้เรียน จนเป็นต้นแบบให้สถานศึกษาอื่นได้ นำไปใช้ มีการดำเนินการในการส่งเสริม สนับสนุนให้มีการจัดทำ นวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ งานวิจัย โดย ผู้บริหาร ครู บุคลากรทางการศึกษา ผู้เรียน สอดคล้องกับ แผนการศึกษาชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙ ยุทธศาสตร์ที่... ข้อ... … J.Wittaya …

มีการดำเนินการในการส่งเสริม สนับสนุนให้มีการจัดทำ นวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ งานวิจัย โดย ผู้บริหาร ครู บุคลากรทางการศึกษา ผู้เรียน หรือร่วมมือ กับ บุคคล ชุมชน องค์กรต่างๆ ในการดำเนินการ โดยมี พัฒนาเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ๒ ปี มีการดำเนินการในการส่งเสริม สนับสนุนให้มีการจัดทำ นวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ งานวิจัย โดย ผู้บริหาร ครู บุคลากรทางการศึกษา ผู้เรียน หรือร่วมมือ กับ บุคคล ชุมชน องค์กรต่างๆ ในการดำเนินการ เป็นไป ตามแผนปฏิบัติงาน มีความครบถ้วนสมบูรณ์ มีความชัดเจน เชื่อถือได้ และดำเนินการเป็นไปตามเป้าหมายที่สถานศึกษา กำหนด … J.Wittaya …

มาตรฐานที่ 1 คุณลักษณะของผู้สำเร็จการศึกษาอาชีวศึกษาที่พึงประสงค์ มาตรฐานที่ 1 คุณลักษณะของผู้สำเร็จการศึกษาอาชีวศึกษาที่พึงประสงค์ (3 ประเด็นประเมิน) มาตรฐานที่ 2 การจัดการศึกษา (4 ประเด็นประเมิน) มาตรฐานที่ 3 การสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ (2 ประเด็นประเมิน) … J.Wittaya …

๓.๑ เกณฑ์การพิจรณาระดับคุณภาพ พื้นฐาน (Common Standard) สถานศึกษามีการดำเนินการเป็นไปตามแผนปฏิบัติ งาน เหมาะสม เป็นไปได้ผลการตรวจสอบคุณภาพ มีความน่าเชื่อถือ และดำเนินงานเป็นไปตาม เป้าหมายที่สถานศึกษากำหนด ส่งผลต่อการ ยกระดับคุณภาพผู้เรียนและมีพัฒนาการอย่าง ต่อเนื่อง เป็นที่ พึงพอใจของทุกฝ่ายและมี นวัตกรรมหรือแบบอย่างที่ดี และสอดคล้องกับ แผนการศึกษาชาติ พ.ศ. 2560 - 2579 … J.Wittaya …

ผลการประเมินคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา เป็นการรายงานผลการประเมินคุณภาพการจัด การศึกษาของสถานศึกษาเรียงตามลำดับตาม มาตรฐานและประเด็นการประเมินใน 4 องค์ประกอบ ผลสัมฤทธิ์ หมายถึง ความสำเร็จในการพัฒนา คุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาทั้งผลผลิต ผลลัพธ์ และผลสะท้อน จุดเด่น หมายถึง ผลการพัฒนาคุภาพการศึกษา ที่ประสบผลสำเร็จหรือมีผลการปฏิบัติงานที่ดีของ สถานศึกษา … J.Wittaya …

จุดที่ควรพัฒนา หมายถึง ประเด็นที่นำมา กำหนดแนวทางหรือวิธีดำเนินการเพื่อยกระดับ คุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษาให้มี คุณภาพตามมาตรฐานที่กำหนด ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา หมายถึง แนวทาง วิธีการหรือประเด็นที่สถานศึกษา ควรดำเนินการในอนาคตเพื่อยกระดับคุณภาพ การจัดการศึกษาของสถานศึกษาสู่ความเป็น เลิศ … J.Wittaya …

การประเมินและการตรวจสอบคุณภาพ - ประเมินและตรวจสอบคุณภาพเพื่อพัฒนา ไม่มีการ ตัดสินผล ผ่าน/ไม่ผ่าน รับรอง/ไม่รับรอง ประเมินและตรวจสอบตาม SAR ตรวจสอบสิ่งที่ เกิดขึ้นตามรายงานว่าจริงหรือไม่อย่างไร จะทำให้ ได้นวัตกรรมทางการศึกษา หรือ Best Practice และปัญหาการพัฒนาคุณภาพของแต่ละสถานศึกษา ซึ่งมีไม่เหมือนกันจากการประเมินฯ … J.Wittaya …

การประเมินและการตรวจสอบคุณภาพ - ประเมินคุณภาพภายนอก/ประเมินตาม SAR ไม่ควรกำหนดกี่วัน หรือไม่เข้าประเมินก็ได้ หากมีคุณภาพแล้ว องค์ประกอบของผู้ประเมินภายนอก มี 3 องค์ประกอบหลัก ได้แก่ Regulator, Supporter, Operator (ควบคุม สนับสนุน ดำเนินการ) … J.Wittaya …

(ปก) รายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR) ปีการศึกษา ............................... วิทยาลัย ....................................... อาชีวศึกษาจังหวัด ..................................... สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา … J.Wittaya …

คำนำ .......................................................................................... ........................................ -ความสำคัญของการจัดทำรายงานผลการประเมินตนเอง (ตาม พ.ร.บ.การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 หมวด 6 มาตรา 48) -วัตถุประสงค์ของรายงานผลการประเมินตนเอง (กฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2561) -กระบวนการจัดรายงานผลการประเมินตนเอง -ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการจัดทำรายงานผลการประเมินตนเอง … J.Wittaya …

คำชี้แจง .......................................................................................... ........................................ รายงานผลการประเมินตนเองประกอบด้วยสาระที่สำคัญ ได้แก่ 1. บทสรุปสำหรับผู้บริหาร 2. ข้อมูลพื้นฐานของสถานศึกษา 3. มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา 4. ผลการประเมินคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา 5. ผลการปฏิบัติงานที่เป็นแบบอย่างที่ดี (Best Practice)มีประโยชน์อย่างไรบ้าง … J.Wittaya …

สารบัญ .......................................................................................... ........................................ คำนำ คำชี้แจง สารบัญ ส่วนที่ ๑ บทสรุปสำหรับผู้บริหาร…………………………………………………… ส่วนที่ ๒ ข้อมูลพื้นฐานของสถานศึกษา……………………………………………………………… ส่วนที่ ๓ มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา………………………………………………… ส่วนที่ ๔ ผลการประเมินคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา……………… ส่วนที่ ๕ ผลการปฏิบัติงานที่เป็นแบบอย่างที่ดี (Best Practice ส่วนที่ 6 สรุปแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา.......................... ....................................................................................................................... ภาคผนวก … J.Wittaya …

ส่วนที่ ๑ บทสรุปสำหรับผู้บริหาร เป็นการสรุปผลภาพรวมของการประเมินคุณภาพการศึกษา ตามมาตรฐานการศึกษา ประกอบด้วยผลสัมฤทธิ์ จุดเด่น จุดที่ควรพัฒนา และข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา พร้อมทั้งผล การปฏิบัติงานที่เป็นแบบอย่างที่ดี (Best Practice) เป็น สรุปผลภาพรวมของการประเมินคุณภาพการศึกษาของ สถานศึกษา ประกอบด้วย การพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาในรอบปีที่ผ่าน มา การสร้างความเชื่อมั่นให้แก่ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องและสถาน ประกอบการ การจัดการศึกษาบรรลุเป้าประสงค์ของหน่วยงานต้นสังกัด .......................................................................................... ........................................ … J.Wittaya …

ส่วนที่ ๒ ข้อมูลพื้นฐานของสถานศึกษา ๒.๑ ข้อมูลเกี่ยวกับสถานศึกษา ได้แก่ ที่ตั้ง สภาพ ชุมชน เศรษฐกิจ สังคม ................................................................................... ............................................... ๒.๒ แผนภูมิการบริหารของสถานศึกษา … J.Wittaya …

๒.๔ ปรัชญา อัตลักษณ์ เอกลักษณ์ ของสถานศึกษา ๒.๓ ข้อมูลของสถานศึกษา ได้แก่ ข้อมูลผู้เรียนและผู้สำเร็จ การศึกษา ด้านบุคลากร ด้านหลักสูตรการจัดการเรียนการสอน ด้านอาคารสถานที่ ด้านงบประมาณ และข้อมูลอื่นที่เกี่ยวข้อง .............................................................................................. .................................... .............................................................................................. .................................... .............................................................................................. .................................... ๒.๔ ปรัชญา อัตลักษณ์ เอกลักษณ์ ของสถานศึกษา ๒.๕ วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์ ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ การพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา ...................................................................................... ..................................... .............................................................................................. ......................................... - ข้อมูลด้านผู้เรียนและผู้สำเร็จการศึกษา, ด้านบุคลากรของสถานศึกษา - ด้านหลักสูตรที่จัดการเรียนการสอน, ด้านอาคารสถานที่, ด้านงบประมาณ - และข้อมูลอื่นที่เกี่ยวข้อง … J.Wittaya …

ทางการศึกษา ผู้เรียนซึ่งเป็นที่ยอมรับของสังคมในรอบปีที่ผ่านมา ๒.๖ เกียรติประวัติของสถานศึกษา ได้แก่ รางวัล ผลงานของ สถานศึกษา ครูและบุคลากร ทางการศึกษา ผู้เรียนซึ่งเป็นที่ยอมรับของสังคมในรอบปีที่ผ่านมา ๒.๖.๑ ปีการศึกษา ๒๕๖๐ ........................................................................................ .................................... ........................................................................................ .................................... ........................................................................................ .................................... ๒.๖.๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๑ ........................................................................................ .................................... ........................................................................................ .................................... ........................................................................................ .................................... … J.Wittaya …

ส่วนที่ ๓ มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา มาตรฐานการศึกษาของวิทยาลัย ................... ประกอบด้วย ..........มาตรฐาน...................ประเด็นการประเมิน ดังนี้สถานศึกษา มาตรฐานที่ ๑ คุณลักษณะของผู้สำเร็จการศึกษา อาชีวศึกษาที่พึงประสงค์ (คำอธิบายมาตรฐานที่ ๑) .............................................................................................. ..................................................................................... ประกอบด้วยประเด็นการประเมิน ดังนี้ ๑.๑ ด้านความรู้ (คำอธิบายประเด็นการประเมินที่ ๑.๑) ......................................................................... .............................................................................................. ...................................................... … J.Wittaya …

๑. ๒ ด้านทักษะและการประยุกต์ใช้ (คำอธิบายประเด็นการประเมินที่ ๑. ๒). ๑ ๑.๒ ด้านทักษะและการประยุกต์ใช้ (คำอธิบายประเด็นการประเมินที่ ๑.๒) ......................................................................... ............................................................................................. ....................................................... ๑.๓ ด้านคุณธรรม จริยธรรม และคุณลักษณะที่พึง ประสงค์ (คำอธิบายประเด็นการประเมินที่ ๑.๓) ......................................................................... ๑.๔ ด้าน ...................................... (คำอธิบายประเด็นการประเมินที่ ๑.๔) ......................................................................... … J.Wittaya …

มาตรฐานที่ ๒ การจัดการอาชีวศึกษา (คำอธิบายมาตรฐานที่ ๒) .............................................................................................. ..................................................................................... ประกอบด้วยประเด็นการประเมิน ดังนี้ ๒.๑ ด้านหลักสูตรอาชีวศึกษา (คำอธิบายประเด็นการประเมินที่ ๒.๑) ......................................................................... .............................................................................................. ...................................................... ๒.๒ ด้านการจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา (คำอธิบายประเด็นการประเมินที่ ๒.๒) ......................................................................... … J.Wittaya …

๒. ๓ ด้านการบริหารจัดการ (คำอธิบายประเด็นการประเมินที่ ๒. ๓). ๒ ๒.๓ ด้านการบริหารจัดการ (คำอธิบายประเด็นการประเมินที่ ๒.๓) ......................................................................... ............................................................................................... ..................................................... ๒.๔ ด้านการนำนโยบายสู่การปฏิบัติ (คำอธิบายประเด็นการประเมินที่ ๒.๔) ......................................................................... ๒.๕ ด้าน........................................ (คำอธิบายประเด็นการประเมินที่ ๒.๕) ......................................................................... … J.Wittaya …

มาตรฐานที่ ๓ การสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ (คำอธิบายมาตรฐานที่ ๓) .............................................................................................. ..................................................................................... ประกอบด้วยประเด็นการประเมิน ดังนี้ ๓.๑ ด้านความร่วมมือในการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ (คำอธิบายประเด็นการประเมินที่ ๓.๑) ......................................................................... .............................................................................................. ...................................................... ๓.๒ ด้านนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ งานวิจัย (คำอธิบายประเด็นการประเมินที่ ๓.๒) ......................................................................... ๓.๓ ด้าน (คำอธิบายประเด็นการประเมินที่ ๓.๓) ......................................................................... … J.Wittaya …

เกณฑ์การประเมินคุณภาพ ในการประเมินคุณภาพการศึกษาตามมาตรฐานการศึกษา ของวิทยาลัย.........................อ้างอิงเกณฑ์การประเมินคุณภาพ การจัดการศึกษาเพื่อจัดระดับคุณภาพสถานศึกษาอาชีวศึกษาของ สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา 5 ระดับ ดังนี้ ระดับคุณภาพ ๕ ดีเยี่ยม ระดับคุณภาพ ๔ ดีมาก ระดับคุณภาพ ๓ ดี ระดับคุณภาพ ๒ พอใช้ ระดับคุณภาพ ๑ ต้องปรับปรุง หมายเหตุ : เกณฑ์การประเมินคุณภาพในแต่ละประเด็นการ ประเมิน สถานศึกษาเป็นผู้กำหนด หมายเหตุ สถานศึกษาสามารถกำหนดมาตรฐานการศึกษาและ ประเด็นการประเมินอื่นๆ เพิ่มเติมได้ตามบริบทของสถานศึกษา … J.Wittaya …

ส่วนที่ ๔ ผลการประเมินคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ผลการประเมินคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของ สถานศึกษาเรียงตามลำดับมาตรฐาน และประเด็นการ ประเมิน ประกอบด้วย ผลสัมฤทธิ์ จุดเด่น จุดที่ควร พัฒนา และข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา ดังนี้ … J.Wittaya …

๔.๑ มาตรฐานที่ ๑ คุณลักษณะของผู้สำเร็จการศึกษา อาชีวศึกษาที่พึงประสงค์ ๔.๑.๑ ด้านความรู้ ๑) ผลสัมฤทธิ์ ......................................................................... สรุปคุณภาพในระดับ ................................. (ดีเยี่ยม ดี มาก ดี พอใช้ ปรับปรุง) ๒) จุดเด่น ............................................................................. ๓) จุดที่ควรพัฒนา ......................................................................... ๔) ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา ........................................................... สรุปประเด็นการประเมินที่ ๑.๑ ด้านความรู้ อยู่ในระดับ คุณภาพ........... (ดีเยี่ยม ดีมาก ดี พอใช้ ปรับปรุง) … J.Wittaya …

๔. ๑. ๒ ด้านทักษะและการประยุกต์ใช้ ๑) ผลสัมฤทธิ์. สรุปคุณภาพในระดับ ๔.๑.๒ ด้านทักษะและการประยุกต์ใช้ ๑) ผลสัมฤทธิ์ ......................................................................... สรุปคุณภาพในระดับ ................................. (ดีเยี่ยม ดี มาก ดี พอใช้ ปรับปรุง) ๒) จุดเด่น ............................................................................. ๓) จุดที่ควรพัฒนา ......................................................................... ๔) ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา ........................................................... สรุปประเด็นการประเมินที่ ๑.๒ ด้าน ด้านทักษะและการ ประยุกต์ใช้ อยู่ในระดับคุณภาพ.......... (ดีเยี่ยม ดีมาก ดี พอใช้ ปรับปรุง) … J.Wittaya …

๔. ๑. ๓ ด้านคุณธรรม จริยธรรม และคุณลักษณะที่พึง ประสงค์ ๑) ผลสัมฤทธิ์ ๔.๑.๓ ด้านคุณธรรม จริยธรรม และคุณลักษณะที่พึง ประสงค์ ๑) ผลสัมฤทธิ์ ......................................................................... สรุปคุณภาพในระดับ ................................. (ดีเยี่ยม ดี มาก ดี พอใช้ ปรับปรุง) ๒) จุดเด่น ............................................................................. ๓) จุดที่ควรพัฒนา ......................................................................... ๔) ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา .......................................................... สรุปประเด็นการประเมินที่ ๑.๓ ด้านด้านคุณธรรม จริยธรรม และคุณลักษณะที่พึงประสงค์ อยู่ในระดับคุณภาพ ........... (ดีเยี่ยม ดีมาก ดี พอใช้ ปรับปรุง) … J.Wittaya …

๔. ๒ มาตรฐานที่ ๒ การจัดการอาชีวศึกษา ๔. ๒ ๔.๒ มาตรฐานที่ ๒ การจัดการอาชีวศึกษา ๔.๒.๑ ด้านหลักสูตรอาชีวศึกษา ๑) ผลสัมฤทธิ์ ......................................................................... สรุปคุณภาพในระดับ ................................. (ดีเยี่ยม ดี มาก ดี พอใช้ ปรับปรุง) ๒) จุดเด่น ............................................................................. ๓) จุดที่ควรพัฒนา ......................................................................... ๔) ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา ........................................................... สรุปประเด็นการประเมินที่ ๒.๑ ด้านหลักสูตรอาชีวศึกษา อยู่ในระดับคุณภาพ........... (ดีเยี่ยม ดีมาก ดี พอใช้ ปรับปรุง) … J.Wittaya …

๔. ๒. ๒ ด้านการจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา ๑) ผลสัมฤทธิ์ ๔.๒.๒ ด้านการจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา ๑) ผลสัมฤทธิ์ ......................................................................... สรุปคุณภาพในระดับ ................................. (ดีเยี่ยม ดี มาก ดี พอใช้ ปรับปรุง) ๒) จุดเด่น ............................................................................. ๓) จุดที่ควรพัฒนา ......................................................................... ๔) ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา ........................................................... สรุปประเด็นการประเมินที่ ๒.๒ ด้านการจัดการเรียนการ สอนอาชีวศึกษา อยู่ในระดับคุณภาพ........... (ดีเยี่ยม ดีมาก ดี พอใช้ ปรับปรุง) … J.Wittaya …

๔. ๒. ๓ ด้านการบริหารจัดการ ๑) ผลสัมฤทธิ์. สรุปคุณภาพในระดับ ๔.๒.๓ ด้านการบริหารจัดการ ๑) ผลสัมฤทธิ์ ......................................................................... สรุปคุณภาพในระดับ ................................. (ดีเยี่ยม ดีมาก ดี พอใช้ ปรับปรุง) ๒) จุดเด่น ............................................................................. ๓) จุดที่ควรพัฒนา ......................................................................... ๔) ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา ........................................................... สรุปประเด็นการประเมินที่ ๒.๓ ด้านการบริหารจัดการ อยู่ ในระดับคุณภาพ........... (ดีเยี่ยม ดีมาก ดี พอใช้ ปรับปรุง) … J.Wittaya …

๔. ๒. ๔ ด้านการนำนโยบายสู่การปฏิบัติ ๑) ผลสัมฤทธิ์. สรุปคุณภาพในระดับ ๔.๒.๔ ด้านการนำนโยบายสู่การปฏิบัติ ๑) ผลสัมฤทธิ์ ......................................................................... สรุปคุณภาพในระดับ ................................. (ดีเยี่ยม ดี มาก ดี พอใช้ ปรับปรุง) ๒) จุดเด่น ............................................................................. ๓) จุดที่ควรพัฒนา ......................................................................... ๔) ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา .......................................................... สรุปประเด็นการประเมินที่ ๒.๔ ด้านการนำนโยบายสู่การ ปฏิบัติ อยู่ในระดับคุณภาพ........... (ดีเยี่ยม ดีมาก ดี พอใช้ ปรับปรุง) … J.Wittaya …

๔. ๓ มาตรฐานที่ ๓ การสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ ๔. ๓ ๔.๓ มาตรฐานที่ ๓ การสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ ๔.๓.๑ ด้านความร่วมมือในการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ ๑) ผลสัมฤทธิ์ ......................................................................... สรุปคุณภาพในระดับ ................................. (ดีเยี่ยม ดี มาก ดี พอใช้ ปรับปรุง) ๒) จุดเด่น ............................................................................. ๓) จุดที่ควรพัฒนา ......................................................................... ๔) ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา ........................................................... สรุปประเด็นการประเมินที่ ๓.๑ ด้านความร่วมมือในการ สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้อยู่ในระดับคุณภาพ........... (ดีเยี่ยม ดี มาก ดี พอใช้ ปรับปรุง) … J.Wittaya …

สรุปผลการประเมินในภาพรวมของสถานศึกษา อยู่ ในระดับ ......... (ดีเยี่ยม ๔.๓.๒ ด้านนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ งานวิจัย ๑) ผลสัมฤทธิ์ ......................................................................... สรุปคุณภาพในระดับ ................................. (ดีเยี่ยม ดี มาก ดี พอใช้ ปรับปรุง) ๒) จุดเด่น ............................................................................. ๓) จุดที่ควรพัฒนา ......................................................................... ๔) ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา ........................................................... สรุปประเด็นการประเมินที่ ๓.๒ ด้านนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ งานวิจัย อยู่ในระดับคุณภาพ ........... (ดีเยี่ยม ดีมาก ดี พอใช้ ปรับปรุง) สรุปผลการประเมินในภาพรวมของสถานศึกษา อยู่ ในระดับ ......... (ดีเยี่ยม ดีมาก ดี พอใช้ ปรับปรุง) … J.Wittaya …

ส่วนที่ ๕ ผลการปฏิบัติงานที่เป็นแบบอย่างที่ดี (Best Practice) สถานศึกษานำเสนอผลการพัฒนาคุณภาพการศึกษาตาม มาตรฐานและประเด็นการประเมิน ที่มีความโดดเด่น สามารถเป็น แบบอย่างสำหรับสถานศึกษาอื่น นำไปใช้เป็นแนวทางในการ พัฒนาคุณภาพของสถานศึกษาได้เป็นอย่างดี ซึ่งประกอบด้วย สาระสำคัญ ได้แก่ หลักการและเหตุผลหรือความสำคัญและความ เป็นมา กรอบแนวคิดกระบวนการหรือแนวทางในการดำเนินการ และผลการดำเนินการหรือผลสัมฤทธิ์ที่เกิดขึ้น ........................................................................................ .................................................. ............................................................................................... ....................................................... … J.Wittaya …

ส่วนที่ ๖ แผนพัฒนาเพื่อยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา สถานศึกษามีแผนในการยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษา ของสถานศึกษาอย่างไร ........................................................................................ .................................................. ............................................................................................... ....................................................... … J.Wittaya …

ภาคผนวก คำสั่งวิทยาลัย.............เรื่อง แต่งตั้งคณะกรมการดำเนินการ จัดทำมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา คำสั่งวิทยาลัย.............เรื่อง แต่งตั้งคณะกรมการดำเนินการ จัดทำแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา อ้างอิงที่ได้รับรางวัลต่างๆ ............................ ผลสัมฤทธิ์ของการอ้างอิงในแต่ละประเด็น … J.Wittaya …

“ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาอาชีวศึกษาภาคเหนือ” … J.Wittaya …