ตัวชี้วัด1.3 ร้อยละของเด็กอายุ 6-14 ปีสูงดีสมส่วน กลุ่มส่งเสริมโภชนาการเด็กวัยเรียน สำนักโภชนาการ เอกสารการประชุมถ่ายทอดและชี้แจงเกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัดตามคำรับรองฯ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 วันที่ 15-17 พฤศจิกายน 2560 ณ โรงแรมไมด้า งามวงศ์วาน นนทบุรี
ร้อยละของเด็กอายุ 6-14 ปี สูงดีสมส่วน 68 เป้าหมายปี 61 ร้อยละของเด็กอายุ 6-14 ปี สูงดีสมส่วน 68 หน่วยงานเจ้าภาพ หน่วยงานที่รับการประเมิน (ส่วนกลาง) สำนักโภชนาการ กองกิจกรรมทางกาย เพื่อสุขภาพ Cluster วัยเรียน สำนักอนามัยการเจริญพันธุ์ หน่วยงานที่รับการประเมิน (ส่วนภูมิภาค) ศูนย์อนามัยที่ 11 นครศรีธรรมราช ศูนย์อนามัยกลุ่มชาติพันธุ์ชายขอบและแรงงานข้ามชาติ แหล่งข้อมูล ศูนย์อนามัยที่ 1-12 รายงานผลการดำเนินงานตามกิจกรรม/โครงการสำคัญตามรอบการรายงาน 3, 6 ,9 12 เดือน 2. ระบบ HDC (http://hdcservice.moph.go.th)
คำนิยาม เด็กนักเรียน : เด็กที่มีอายุตั้งแต่ 6 ปี จนถึง 14 ปี (โดยเริ่มนับตั้งแต่อายุ 6 ปี เต็ม – 14 ปี 11 เดือน 29 วัน) สูงดี : เด็กที่มีส่วนสูงอยู่ในระดับสูงตามเกณฑ์ขึ้นไป เมื่อเทียบกับ กราฟ การเจริญเติบโต กรมอนามัย ปี 2542 มีค่ามากกว่าหรือเท่ากับ -1.5 S.D. ของส่วนสูงตามเกณฑ์อายุ สมส่วน : เด็กที่มีน้ำหนักอยู่ในระดับสมส่วน เมื่อเทียบกราฟการ เจริญเติบโตกรมอนามัย ปี 2542 มีค่าระหว่าง +1.5 S.D. ถึง -1.5 S.D. ของน้ำหนักตามเกณฑ์ส่วนสูง เด็กสูงดีสมส่วน :เด็กที่มีส่วนสูงอยู่ในระดับสูงตามเกณฑ์ขึ้นไป และมีน้ำหนักอยู่ในระดับสมส่วน (ในคนเดียวกัน) โรงเรียนต้นแบบส่งเสริมสุขภาพ หมายถึง โรงเรียนที่มีโครงการ/แผนงาน/กิจกรรมด้านการส่งเสริมสุขภาพเด็กวัยเรียน เช่น การส่งเสริมโภชนาการ การแปรงฟัน กิจกรรมทางกาย และการจัดการสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการดูแลสุขภาพเด็กวัยเรียน
เกณฑ์การประเมินผล รอบ 1 : 5 เดือนแรก (ตุลาคม 2560-กุมภาพันธ์ 2561) ระดับขั้นความ สำเร็จ กิจกรรมที่ดำเนินการ คะแนน เอกสารประกอบการพิจารณา 1 1.ทบทวนและวิเคราะห์สถานการณ์ที่ส่งผล กับเด็กวัยเรียนให้สูงดีสมส่วน (0.5 คะแนน) 2.จัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรมที่ส่งเสริม เด็กวัยเรียนสูงดีสมส่วน (0.5 คะแนน) - สรุปสถานการณ์/รายงานการประชุม - แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมที่ส่งเสริม เด็กวัยเรียนสูงดีสมส่วน 2 1.มีการถ่ายทอดกิจกรรมสำคัญส่งเสริม เด็กวัยเรียนสูงดีสมส่วนตามแผนให้ ศูนย์อนามัย (0.25 คะแนน) 2.พัฒนาสื่อสร้างสรรค์นวัตกรรมส่งเสริม เด็กวัยเรียนสูงดีสมส่วน (0.25คะแนน) 3.มีการขับเคลื่อนกิจกรรมตามแผนงาน โครงการ เพื่อส่งเสริมให้เด็กวัยเรียนสูงดี สมส่วน (0.25คะแนน) 4.พัฒนาเกณฑ์คุณภาพการดำเนินงาน ส่งเสริมกิจกรรมทางกายในเด็กวัยเรียน จำนวน 1 รูปแบบ (0.25คะแนน) - สรุปการประชุม - ภาพถ่ายกิจกรรม - การสื่อสารผ่านช่องทางต่างๆ - สื่อและนวัตกรรม - รายงานผลการขับเคลื่อนการดำเนิน กิจกรรม -รูปแบบเกณฑ์คุณภาพการส่งเสริม กิจกรรมทางกายในเด็กวัยเรียน
เอกสารประกอบการพิจารณา ระดับขั้นความ สำเร็จ กิจกรรมที่ดำเนินการ คะแนน เอกสารประกอบการพิจารณา 3 1.การกำกับ ติดตามและประเมินการดำเนินงาน เพื่อส่งเสริมให้เด็กวัยเรียนสูงดีสมส่วน (0.50 คะแนน) 2.เผยแพร่องค์ความรู้และนวัตกรรมส่งเสริม เด็กวัยเรียนสูงดีสมส่วนอย่างน้อย 2 ช่องทาง 1 - รายงานสรุปผลการกำกับติดตาม - การสื่อสารเผยแพร่ผ่านช่องทางต่างๆ 4 1.ร้อยละ 80 ของจังหวัดมีการชั่งน้ำหนักและ วัดส่วนสูงและประเมินภาวะโภชนาการ (0.25 คะแนน) 2.ร้อยละ 60 ของจังหวัดจัดกิจกรรมกระโดด โลดเต้นเพื่อเด็กไทยสูงสมส่วน แข็งแรง IQ EQ ดี 3.ร้อยละ 80 ของจังหวัดรณรงค์ส่งเสริมการดื่มนม 4. ร้อยละ 30 ของเด็ก 6-12 ปี ได้รับบริการ ทางทันตกรรม (0.25 คะแนน) - ข้อมูลจากระบบรายงาน HDC - รายงานผลการดำเนินกิจกรรมจาก ศอ. 5 ร้อยละของเด็กอายุ 6-14 ปี สูงดีสมส่วน เพิ่มขึ้นจากค่า baseline ข้อมูลจากระบบรายงาน HDC คะแนนรวม คะแนน 0.20 0.40 0.60 0.80 1.00 ร้อยละ <64.5 64.5 65 65.5 66
รอบ 2 : 5 เดือนหลัง (มีนาคม 2561-กรกฎาคม 2561) เอกสารประกอบการพิจารณา ระดับขั้นความ สำเร็จ กิจกรรมที่ดำเนินการ คะแนน เอกสารประกอบการพิจารณา 1 1.วิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูลสถานการณ์ รอบ 5 เดือนแรก (0.5 คะแนน) 2.มีสถานการณ์ รร.ต้นแบบด้านการ ส่งเสริมสุขภาพและผลักดันให้มีกระบวนการ จัดการด้านสุขภาพ (0.5 คะแนน) - สรุปข้อมูลสถานการณ์รอบ 5 เดือนแรก - รายงานสถานการณ์จำนวน รร. ต้นแบบ และกิจกรรมการส่งเสริมสุขภาพ 2 1.การกำกับ ติดตาม และประเมินผลการ ดำเนินงาน (0.25 คะแนน) 2.เพิ่มขีดความสามารถภาคีเครือข่ายเพื่อ เสริมสร้างความรอบรู้ด้านสุขภาพเด็กวัยเรียน มุ่งสู่นวัตกรรมสุขภาพระดับประเทศ (0.25 คะแนน) 3.มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานตามนโยบาย ยุทธศาสตร์อนามัยการเจริญพันธุ์แห่งชาติ ฉบับที่ 2 (0.25 คะแนน) 4.สรุปและวิเคราะห์ผลการดำเนินงานส่งเสริม เด็กวัยเรียนสูงดีสมส่วนเพื่อจัดทำข้อเสนอแนะ เชิงนโยบาย (0.25 คะแนน) - รายงานสรุปผลการกำกับติดตาม - สรุปการประชุม - ภาพถ่ายกิจกรรม - ร่างการประเมินผลนโยบายและ ยุทธศาสตร์การพัฒนาอนามัยการเจริญ พันธุ์แห่งชาติ ฉบับที่ 2 (พ.ศ.2561) - รายงานผลการวิเคราะห์การดำเนินงาน เพื่อจัดทำข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย
เอกสารประกอบการพิจารณา ระดับขั้นความ สำเร็จ กิจกรรมที่ดำเนินการ คะแนน เอกสารประกอบการพิจารณา 3 มีรร.ต้นแบบด้านการส่งเสริมสุขภาพ เพิ่มขึ้นจากค่า baseline ศูนย์อนามัยละ 1 - รายงานจำนวน รร.ต้นแบบ ด้านการส่งเสริมสุขภาพจากศอ. 4 1.ร้อยละ 80 ของจังหวัดมีการชั่งน้ำหนักและ วัดส่วนสูงและประเมินภาวะโภชนาการ (0.25 คะแนน) 2.ร้อยละ 60 ของจังหวัดจัดกิจกรรมกระโดด โลดเต้นเพื่อเด็กไทยสูงสมส่วน แข็งแรง IQ EQ ดี 3.ร้อยละ 80 ของจังหวัดรณรงค์ส่งเสริมการดื่มนม 4. ร้อยละ 60 ของเด็ก 6-12 ปี ได้รับบริการทาง ทันตกรรม (0.25 คะแนน) -ข้อมูลจากระบบรายงาน HDC - รายงานผลการดำเนินกิจกรรมจาก ศอ. 5 ร้อยละของเด็กอายุ 6-14 ปี สูงดี สมส่วน เพิ่มขึ้นจากค่า baseline ข้อมูลจากระบบรายงาน HDC คะแนนรวม คะแนน 0.20 0.40 0.60 0.80 1.00 โรงเรียน 4 5 6 7 8 คะแนน 0.20 0.40 0.60 0.80 1.00 ร้อยละ 66 66.5 67 67.5 68
เกณฑ์การประเมินผล รอบ 1 : 5 เดือนแรก (ตุลาคม 2560-กุมภาพันธ์ 2561) ระดับขั้นความ สำเร็จ กิจกรรมที่ดำเนินการ คะแนน เอกสารประกอบการพิจารณา 1 1.ทบทวนและวิเคราะห์สถานการณ์ที่ส่งผล กับเด็กวัยเรียนให้สูงดีสมส่วน (0.5 คะแนน) 2.จัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรมที่ส่งเสริม ให้เด็กวัยเรียนสูงดีสมส่วน (0.5 คะแนน) - สรุปสถานการณ์/รายงานการ ประชุม - แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมที่ ส่งเสริมเด็กวัยเรียนสูงดีสมส่วน 2 1.มีการถ่ายทอดกิจกรรมสำคัญส่งเสริม เด็กวัยเรียนสูงดีสมส่วนให้ครอบคลุม ผู้ปฏิบัติงานทุกระดับ (0.5 คะแนน) 2.พัฒนาศักยภาพบุคลากรและขับเคลื่อน งานส่งเสริมเด็กวัยเรียนสูงดีสมส่วน (0.25 คะแนน) 3.มีการขับเคลื่อนและผลักดันให้เกิด กิจกรรม ตามแผนงาน โครงการ เพื่อ ส่งเสริมให้เด็กวัยเรียนสูงดีสมส่วน - สรุปการประชุม - ภาพถ่ายกิจกรรม - การสื่อสารผ่านช่องทางต่างๆ - สรุปผลการพัฒนาศักยภาพ บุคลากร - รายงานผลการขับเคลื่อน การดำเนินงาน
เอกสารประกอบการพิจารณา ระดับขั้นความ สำเร็จ กิจกรรมที่ดำเนินการ คะแนน เอกสารประกอบการพิจารณา 3 1.การกำกับ ติดตามและประเมินการดำเนินงานใน พื้นที่รับผิดชอบ (0.50 คะแนน) 2.สื่อสารประชาสัมพันธ์องค์ความรู้และนวัตกรรม ส่งเสริมเด็กวัยเรียนสูงดีสมส่วนในพื้นที่ (0.50 คะแนน) 1 - รายงานสรุปผลการกำกับติดตาม - การสื่อสารเผยแพร่ผ่านช่องทาง ต่างๆ 4 1.ร้อยละ 80 ของรร.ในพื้นที่รับผิดชอบได้รับ การชั่งน้ำหนักและ วัดส่วนสูงและประเมินภาวะ โภชนาการ (0.25 คะแนน) 2.ร้อยละ 60 ของจังหวัดในพื้นที่รับผิดชอบ จัด กิจกรรมกระโดดโลดเต้นเพื่อเด็กไทยสูงสมส่วน แข็งแรง IQ EQ ดี (0.25 คะแนน) 3.ร้อยละ 80 ของจังหวัดในพื้นที่รับผิดชอบรณรงค์ ส่งเสริมการดื่มนม (0.25 คะแนน) 4.ร้อยละ 30 ของเด็ก 6-12 ปี ได้รับบริการทาง ทันตกรรม (0.25 คะแนน) - ข้อมูลจากระบบรายงาน HDC - รายงานผลการดำเนินกิจกรรมของศอ. 5 ร้อยละของเด็กอายุ 6-14 ปี สูงดีสมส่วน เพิ่มขึ้นจากค่า baseline ของศูนย์อนามัยที่ 11 ณ วันที่ 4 ต.ค.60 (ร้อยละ 62.8) คะแนน 0.20 0.40 0.60 0.80 1.00 ร้อยละ <62.5 62.5 63 63.5 64
รอบ 2 : 5 เดือนหลัง (มีนาคม 2561-กรกฎาคม 2561) เอกสารประกอบการพิจารณา ระดับขั้นความ สำเร็จ กิจกรรมที่ดำเนินการ คะแนน เอกสารประกอบการพิจารณา 1 1.วิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูลสถานการณ์ รอบ 5 เดือนแรก (0.25 คะแนน) 2.มีสถานการณ์ รร.ต้นแบบด้านการส่งเสริม สุขภาพและผลักดันให้มีกระบวนการจัดการ ด้านสุขภาพ (0.25 คะแนน) 3.จังหวัดในพื้นที่รับผิดชอบมีการพัฒนาให้มี โรงเรียนต้นแบบด้านการส่งเสริมสุขภาพ (0.50 คะแนน) - สรุปข้อมูลสถานการณ์รอบ 5 เดือนแรก - รายงานสถานการณ์จำนวน รร. ต้นแบบ และกิจกรรมการส่งเสริมสุขภาพ - รายงานการพัฒนา รร. ต้นแบบ 2 1.เพิ่มขีดความสามารถภาคีเครือข่ายเพื่อ เสริมสร้างความรอบรู้ด้านสุขภาพเด็กวัยเรียน มุ่งสู่นวัตกรรมสุขภาพระดับประเทศ 2.การกำกับ ติดตามและประเมินการดำเนินงาน (0.25 คะแนน) 3.สรุปและวิเคราะห์ผลการดำเนินงาน เพื่อจัดทำ ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย (0.25 คะแนน) - รายงานสรุปผลการกำกับติดตาม - สรุปการประชุม - ภาพถ่ายกิจกรรม - รายงานผลการวิเคราะห์การดำเนินงาน เพื่อจัดทำข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย
เอกสารประกอบการพิจารณา ระดับขั้นความ สำเร็จ กิจกรรมที่ดำเนินการ คะแนน เอกสารประกอบการพิจารณา 3 มีรร.ต้นแบบด้านการส่งเสริมสุขภาพ เพิ่มขึ้นจากค่า baseline ศูนย์อนามัยละ 1 - รายงานจำนวนรร.ต้นแบบ ด้านการส่งเสริมสุขภาพจากศอ. 4 1.ร้อยละ 80 ของ รร.ในพื้นที่รับผิดชอบได้รับ การชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูงและประเมินภาวะ โภชนาการ (0.25 คะแนน) 2.ร้อยละ 100 ของจังหวัดในพื้นที่รับผิดชอบ จัดกิจกรรมกระโดดโลดเต้นเพื่อเด็กไทย สูงสมส่วน แข็งแรง IQ EQ ดี (0.25 คะแนน) 3.ร้อยละ 100 ของจังหวัดในพื้นที่รับผิดชอบรณรงค์ ส่งเสริมการดื่มนม (0.25 คะแนน) 4.ร้อยละ 60 ของเด็ก 6-12 ปี ได้รับบริการทาง ทันตกรรม (0.25 คะแนน) - ข้อมูลจากระบบรายงาน HDC - รายงานผลการดำเนินกิจกรรมจากศอ. 5 ร้อยละของเด็กอายุ 6-14 ปี สูงดีสมส่วน เพิ่มขึ้นจากค่า baseline ข้อมูลจากระบบรายงาน HDC คะแนน 0.20 0.40 0.60 0.80 1.00 โรงเรียน 4 5 6 7 8 คะแนน 0.20 0.40 0.60 0.80 1.00 ร้อยละ 64 64.5 65 65.5 66
ค่าเป้าหมาย ร้อยละเด็กวัยเรียนสูงดีสมส่วน ปี 2561 รายศูนย์อนามัย หน่วยงาน Baseline ภาคเรียนที่ 1 ปี 2560 ค่าเป้าหมาย รอบ 5 เดือนแรก รอบ 5 เดือนหลัง ศอ.1 เชียงใหม่ 62.1 63 65 ศอ.2 พิษณุโลก 62.6 64 66 ศอ.3 นครสวรรค์ ศอ.4 สระบุรี 66.5 68 70 ศอ.5 ราชบุรี 62.9 ศอ.6 ชลบุรี 65.2 ศอ.7 ขอนแก่น 69 71 ศอ.8 อุดรธานี 67 ศอ.9 นครราชสีมา 70.5 72 74 ศอ.10 อุบลราชธานี ศอ.11 นครศรีธรรมราช 62.8 ศอ.12 ยะลา 62 ภาพรวม
อนามัยเด็กของศูนย์การเรียนชุมชนชาวไทยภูเขา “แม่ฟ้าหลวง” ตัวชี้วัดที่ : ระดับความสำเร็จของการพัฒนารูปแบบการส่งเสริมภาวะโภชนาการและสุขภาพ อนามัยเด็กของศูนย์การเรียนชุมชนชาวไทยภูเขา “แม่ฟ้าหลวง” คำนิยาม เด็ก : เด็กระดับก่อนประถมศึกษา(เด็กปฐมวัย) อายุ 3 – 5 ปี และเด็กระดับประถมศึกษา(เด็กวัยเรียน) อายุ 6 ปี ถึงก่อน 12 ปี ศูนย์การเรียนชุมชนชาวไทยภูเขา “แม่ฟ้าหลวง” (ศศช.) : สถานศึกษา ในพื้นที่เป้าหมายตามแผนพัฒนาเด็กและเยาวชนในถิ่นทุรกันดาร(กพด.) ตาม พระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี สังกัดสำนักงาน ส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย รูปแบบการส่งเสริมภาวะโภชนาการและสุขภาพอนามัย : กิจกรรมการส่งเสริมโภชนาการและสุขภาพอนามัยเด็กวัยเรียน ประกอบด้วย 3 ขั้นตอน : ออกแบบและสร้างรูปแบบกิจกรรม การพัฒนารูปแบบกิจกรรม วิเคราะห์ ผลการใช้รูปแบบกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย เด็กปฐมวัยและเด็กวัยเรียนของศูนย์การเรียนชุมชนชาวไทยภูเขา “แม่ฟ้าหลวง” (ศศช.) สังกัดศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย อ.อมก๋อย จังหวัดเชียงใหม่ จำนวน 20 แห่ง ในพื้นที่ ต.นาเกียน อ.อมก๋อย จ.เชียงใหม่
ค่าเป้าหมาย รูปแบบการส่งเสริมโภชนาการและสุขภาพอนามัยเด็กปฐมวัยและเด็กวัยเรียนของศูนย์การเรียนชุมชนชาวไทยภูเขา “แม่ฟ้าหลวง” จำนวน 1 รูปแบบ วิธีการจัดเก็บข้อมูล ครูอาสาสมัคร จนท.สธ.ที่รับผิดชอบ คัดกรองภาวะสุขภาพเด็กกลุ่มเป้าหมาย บันทึกข้อมูลตามตัวชี้วัด นำเข้าระบบฐานข้อมูลโครงการพัฒนาเด็กและเยาวชนตามพระราชดำริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯสยามบรมราชกุมารี (โปรแกรม กพด.) ครูอาสาสมัคร จนท.สธ. และศอ.กลุ่มชาติพันธุ์ฯ ร่วมกันวิเคราะห์ สังเคราะห์ และสรุปผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัด และ ประเมินรูปแบบการส่งเสริมภาวะโภชนาการและสุขภาพอนามัย แหล่งข้อมูล 1. แบบรายงานผลภาวะสุขภาพตามตัวชี้วัดตามแผนพัฒนาเด็กวัยเรียน ในถิ่นทุรกันดารตามพระราชดำริ (กพด.) 2. ระบบฐานข้อมูลโครงการพัฒนาเด็กและเยาวชนตามพระราชดำริ 3. แบบบันทึกการตรวจสุขภาพด้วยตนเอง สำหรับนักเรียนชั้น ป.5 -ป.6
5 เดือนแรก (ตุลาคม 2560-กุมภาพันธ์ 2561) ทบทวนและวิเคราะห์สถานการณ์ภาวะสุขภาพและองค์ประกอบที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริมโภชนาการและสุขภาพอนามัยเด็กปฐมวัยและเด็กวัยเรียนของศศช.เป้าหมาย 20 แห่ง รวบรวมข้อมูลเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพด้านโภชนาการและสุขภาพอนามัยเด็ก และวิเคราะห์จำแนกข้อมูลกลุ่มเด็กปฐมวัยและเด็กวัยเรียน เป็นกลุ่มปกติ กลุ่มเสี่ยง กลุ่มเสี่ยงสูงและป่วย มีพันธะสัญญาสร้างความร่วมมือในการขับเคลื่อนงานด้านสุขภาพเด็กของศศช.ร่วมกับคกก. พัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.) และหน่วยงานต่างๆที่เกี่ยวข้อง 2. มีแผนส่งเสริมภาวะโภชนาการและสุขภาพอนามัยเด็กของศศช. 1. มีกิจกรรมส่งเสริมโภชนาการและสุขภาพอนามัยเด็กของศศช. 2. ร้อยละ 80 ของครูศศช.เป้าหมาย ได้รับการพัฒนา ศักยภาพ ร้อยละ 80 ของเด็กปฐมวัยและเด็กวัยเรียนของศศช. เป้าหมายได้รับการประเมินคัดกรอง ภาวะสุขภาพ 2. ร้อยละ 40 ของเด็กปฐมวัยมีภาวะเตี้ย
5 เดือนหลัง (มีนาคม 2561-กรกฎาคม 2561) ทบทวนผลการดำเนินงานในรอบ 5 เดือนที่ผ่านมา และวางแผนการพัฒนาให้สอดคล้องกับสภาพการณ์ที่เกิดขึ้น ออกแบบ สร้างรูปแบบกิจกรรมการส่งเสริมโภชนาการและสุขภาพอนามัยเด็กภายใต้การมีส่วนร่วมกับภาคีเครือข่ายในพื้นที่ และจัดทำรูปแบบกิจกรรมการส่งเสริมโภชนาการและสุขภาพอนามัยเด็กของศศช. มีการพัฒนารูปแบบกิจกรรมการส่งเสริมโภชนาการและสุขภาพอนามัยเด็กของศศช. ภายใต้การมีส่วนร่วมกับคกก.พัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.)และภาคประชาชน ในชุมชน 2. ร้อยละ 80 ของคกก.พัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.) มีความพึงพอใจต่อการ พัฒนารูปแบบกิจกรรมการส่งเสริมโภชนาการและสุขภาพอนามัยเด็กของศศช. มีผลการวิเคราะห์การใช้รูปแบบกิจกรรมการส่งเสริมโภชนาการและสุขภาพอนามัยเด็กของศศช. 2. ร้อยละ 100 ของศศช.เป้าหมายได้รับการพัฒนา 1. มีรูปแบบการส่งเสริมโภชนาการและสุขภาพอนามัยเด็กที่สอดคล้องตามบริบทพื้นที่ 2. ร้อยละ 40 ของเด็กวัยเรียนมีภาวะเตี้ย
ขอบคุณ และสวัสดีค่ะ