โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตประชาชนในชนบท จังหวัดสตูล

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บทที่ 7 การควบคุม.
Advertisements

PMQA PMQA : STATUS ต่ำ กลาง สูง
วิธีการจัดแฟ้มมาตรฐาน
กรณีศึกษา : โรงเรียนบ้านสันขี้เบ้า
PDCA คืออะไร P D C A.
แนวทางการเลือกหัวข้อโครงงานปริญญานิพนธ์
หัวพ่นน้ำยางคอมปาวด์สำหรับ สร้างสระกักเก็บน้ำเพื่อการเกษตร
หลักการโปรแกรม 1 Lecture 9: การทำซ้ำ (for).
ระบบการส่งเสริมการเกษตรแปลงใหญ่ ปี 2558 ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้เกิดความร่วมมือในการผลิตโดยเกษตรกร และ / หรือองค์กรเกษตรกรในพื้นที่และกิจกรรม.
NOTE: To change the image on this slide, select the picture and delete it. Then click the Pictures icon in the placeholder to insert your own image. แนวทางการขับเคลื่อน.
หลักสูตร การเสริมสร้างทีมงานที่มีประสิทธิภาพ การประปาส่วนภูมิภาค วิทยากร : วุฒทัย การสมใจ และคณะ.
Testing & Assessment Plan Central College Network I.
แผนบูรณาการเชิง ยุทธศาสตร์ การพัฒนาศักยภาพ คนตามช่วงวัย ประจำปีงบประมาณ พ. ศ วันที่ 24 ก. พ
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.)
ผู้อำนวยการสำนักทดสอบทางการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
คำขวัญกลุ่ม สร้างสรรค์ ส่งเสริม ใส่ใจ เรียนรู้ผ่านกิจกรรม กลุ่ม RE-ACC
ภารกิจ ศธภ./ศธจ..
เทคนิคการแก้ไขปัญหาแบบ QCC (QC Circle Techniques)
บทที่ 7 หลักการบริหารงานคุณภาพ
“วัฒนธรรมองค์กร” (Organization Culture)
การปลูกจิตสำนึกในการทำกิจกรรมปรับปรุง และ ทำงานอย่างมีความสนุกสุขใจ
การทำงานเชิงวิเคราะห์
สำหรับธุรกิจบริหารจัดการเรือ
PLC : การพัฒนาคุณภาพงานวิชาการ
ภาควิชาเวชศาสตร์ฟื้นฟู คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
บทที่ 11 กิจกรรมพัฒนาตนเองและทีมงานคุณภาพเพื่อประสิทธิภาพในการทำงาน
เทคนิคการทำงานให้มีประสิทธิภาพ
คู่มือการปฏิบัติงาน (Work Manual)
เทศบาลนครขอนแก่น ยินดีต้อนรับ
คณะที่ 3 : พัฒนาระบบบริหารจัดการ การบริหารการเงินการคลัง
การดำเนินงานโรงพยาบาลคุณธรรม,หน่วยงานคุณธรรม
การวางแผน (Planning) คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
การขับเคลื่อนการดำเนินงาน ของบ้านพักเด็กและครอบครัว ประจำปีงบประมาณ พ
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
เส้นทางห้องสมุดสีเขียวสู่สำนักงานสีเขียว
Techniques Administration
กฎกระทรวง ว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ. ศ
P S BB ART ระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้น ผลงานตามยุทธศาสตร์ กับ PART ผลผลิต
กรมกิจการเด็กและเยาวชน
การประชุมคณะกรรมการโครงการ DHS South phase 2 ครั้งที่ 1/2560
การจัดกิจกรรมฝึกอบรมประชาชน
ระบบการประกันคุณภาพอาชีวศึกษา
แบบฟอร์มการบริหารโดยการควบคุมคุณภาพ (QCC) ดีเด่น ปี 2561
4.1 งานนโยบายรัฐบาล ปีงบประมาณ 2560 เดือน สิงหาคม 2560
วันที่พุธที่ 7 พฤศจิกายน 2561 เวลา – น.
ผู้อำนวยการวิทยาลัยเทคโนโลยีไทย-ไต้หวัน (BDI)
ประชุมสายงานบริการ ครั้งที่ 3/2562
การบริหารโครงการ ด้วยระบบปฏิทินกิจกรรมแบบเบ็ดเสร็จ Project management with integrated calendar system โดย ... ธนาภรณ์ ฉิมแพ / ประจักษ์ สุขอร่าม / จารุวรรณ.
รายงานผลการปฏิบัติงาน ประจำปีงบประมาณ 2560 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดลำพูน
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
กฎกระทรวง การประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 25๖๑
Educational Standards and Quality Assurance
Continuous Quality Improvement
ตอนที่ 3.2 กลยุทธ์การบริหารเจ้าหน้าที่
การประชุมตรวจราชการตามแผนการตรวจราชการ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ รอบที่ 1 (Project and Progress Reviews) วันจันทร์ที่
แบบฟอร์มที่ 2 1. ชื่อวิชา THM 3307 การจัดการงานฝ่ายห้องพัก 
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 2 : มาตรฐานการรักษาความปลอดภัยข้อมูล สธ412 ความมั่นคงของระบบสารสนเทศ อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ ( SRM )
บทที่ 1 บทนำเรื่องคุณภาพ.
แนวปฏิบัติที่ดี (Best Practice)
จุดที่ควรปรับปรุง SR 1 และ SR 2.
วันพฤหัสบดีที่ 22 ตุลาคม พ.ศ ณ ห้องประชุมย่อยศูนย์สถานการณ์น้ำ
แนวปฏิบัติที่ดีในการเพิ่มประสิทธิภาพ การทำบัตรประจำตัวนักศึกษาใหม่
สำนักโรคเอดส์ วัณโรค และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 29 สิงหาคม 2557
สำนักอนามัยการเจริญพันธุ์
พระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ คณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัดฉะเชิงเทรา
หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ดูง่าย จ่ายครบ จบในใบเดียว
นางสาวอรไท แซ่จิว สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 12 จังหวัดสงขลา
ใบงานกลุ่มย่อย.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตประชาชนในชนบท จังหวัดสตูล จปฐ. จปฐ. จปฐ. จปฐ. จปฐ. จปฐ. จปฐ. จปฐ. จปฐ. จปฐ. จปฐ. จปฐ. กลุ่มงานสารสนเทศการพัฒนา ชุมชน สำนักงานพัฒนาชุมชน จังหวัดสตูล

สาระประจำวันนี้ ชี้แจงขั้นตอน เนื้อหา และภาพรวมของโครงการ พัฒนาการจังหวัดสตูล มอบแนวนโยบายการขับเคลื่อนกิจกรรม ฯ แนวทางการขับเคลื่อนโครงการกิจกรรม (ต้นน้ำ กลางน้ำ ปลายน้ำ) ความรู้แนวทางการทบทวนแผนชุมชนในระดับหมู่บ้าน แกนนำชุมชนค้นหาปัญหาและความต้องการ แนวทางการบริหาร ระดับอำเภอ และวางแผนดำเนินกิจกรรมในระดับหมู่บ้าน ประเมินผลโครงการ และส่งแผนการปฏิบัติ ฯ รายอำเภอ

ขับเคลื่อนงาน ด้วยแนวคิด 3D การขับเคลื่อนงาน/กิจกรรมชุมชน

หลักการพัฒนาตามแนวพระราชดำริ “การพัฒนาประเทศจำเป็นต้องทำตามลำดับขั้น ต้องสร้าง พื้นฐาน คือความพอมีพอกิน พอใช้ของประชาชนส่วน ใหญ่เป็นเบื้องต้นก่อน โดยใช้วิธีการและใช้อุปกรณ์ที่ ประหยัด แต่ถูกต้องตามหลักวิชา เมื่อได้พื้นฐานมั่งคง พร้อมพอควร และปฏิบัติได้แล้ว จึงค่อยเสริมความเจริญ และฐานะเศรษฐกิจขั้นที่สูงขึ้นไปโดยลำดับต่อไป”

หลักการทรงงาน ๒๓ ประการที่สุดยอด หลักการทรงงาน ๒๓ ประการที่สุดยอด ๑. ศึกษาข้อมูลอย่างเป็นระบบ ๒. มององค์รวม ๓. ไม่ยึดติดตำรา ๔. ไม่ยึดติดตำรา ๕. เน้นการมีส่วนร่วม

หลักการทรงงาน ๒๓ ประการที่สุดยอด หลักการทรงงาน ๒๓ ประการที่สุดยอด ๖. คิดถึงประโยชน์ส่วนรวม ๗. ขาดทุนคือกำไร ๘. ความเพียร ๙. เศรษฐกิจพอเพียง ๑๐. ให้ธรรมชาติช่วยธรรมชาติ

หลักการทรงงาน ๒๓ ประการที่สุดยอด หลักการทรงงาน ๒๓ ประการที่สุดยอด ๑๑. ปลูกป่าในใจคน ๑๒. ทำงานอย่างมีความสุข ๑๓. รู้ – รัก - สามัคคี ๑๔. ประหยัด เรียบง่าย ได้ประโยชน์สูงสุด ๑๕. ระเบิดจากข้างใน ๑๖. แก้ปัญหาจุดเล็ก

หลักการทรงงาน ๒๓ ประการที่สุดยอด หลักการทรงงาน ๒๓ ประการที่สุดยอด ๑๗. ทำตามลำดับขั้น ๑๘. ใช้อธรรมปราบอธรรม ๑๙. การพึ่งตนเอง ๒๐. พออยู่พอกิน ๒๑. ความซื่อสัตย์ สุจริต จริงใจต่อกัน ๒๒. คำนึงถึงภูมิสังคม ๒๓. บริการที่จุดเดียว

จัดการประยุกต์หลักการทรงงาน กับการบริหารจัดการแผนงานโครงการ จัดการประยุกต์หลักการทรงงาน กับการบริหารจัดการแผนงานโครงการ เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา PLAN DO เข้าใจ CHECK ๑๑. คิดถึงประโยชน์ส่วนรวม ๑๒. ขาดทุนคือกำไร ๑๓. เศรษฐกิจพอเพียง ๑๔. ให้ธรรมชาติช่วยธรรมชาติ ๑๕. ปลูกป่าในใจคน ๑๖. ใช้อธรรมปราบอธรรม ๑๗. การพึ่งตนเอง ๑๘. พออยู่พอกิน ๑๙ ความซื่อสัตย์ สุจริต จริงใจต่อกัน ๒๐. บริการที่จุดเดียว ๑. ศึกษาข้อมูลอย่างเป็นระบบ ๒. มององค์รวม ๓. ไม่ยึดติดตำรา ๔. ทำให้ง่าย ๕. เน้นการมีส่วนร่วม ๖. ประหยัด เรียบง่าย ได้ประโยชน์สูงสุด ๗. ระเบิดจากข้างใน ๘. แก้ปัญหาที่จุดเล็ก ๙. ทำตามลำดับ ๑๐. คำนึงถึงภูมิสังคม ๒๑. ความเพียร ๒๒. ทำงานอย่างมีความสุข ๒๓. รู้ – รัก – สามัคคี ACTION

แนวคิดพื้นฐาน การพัฒนาเชิงพื้นที่ การจัดการองค์ความรู้ เริ่มจากครัวเรือนไปสู่ชุมชนและประเทศชาติ ปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียงเป็นเข็มทิศ ชี้นำทาง บูรณาการ การสนับสนุนจาก หน่วยราชการ และภาคส่วนอื่นๆ การจัดการองค์ความรู้

กระบวนการ เรียนรู้ ขั้นตอนการนำ จปฐ. ไปใช้ในการพัฒนา คุณภาพชีวิต 1. จัดเก็บข้อมูล จปฐ. 2. รู้ปัญหา 3. วิเคราะห์ปัญหา (หาสาเหตุแนวทางแก้ไข) กระบวนการ เรียนรู้ 4. จัดลำดับปัญหา และวางแผนแก้ไข โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิต 5. ดำเนินการตามแผน 6. ประเมินผล สำรวจ จปฐ. ซ้ำ 7. สอนชุมชนอื่น ๆ

แนวทางการขับเคลื่อนโครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตประชาชน จังหวัดสตูล D1 D2 D3 เสริมสร้างสมรรถนะ การเรียนรู้และพัฒนา พัฒนาระบบจัดการชุมชน ส่งเสริมและ พัฒนาระบบการประเมินผลพัฒนา ส่งเสริมการใช้ประโยชน์จาก ข้อมูลและบทเรียน D2 พัฒนาศักยภาพชุมชน ในการพัฒนาคุณภาพชีวิต 1. ประชุมเชิงปฏิบัติการ ฯ - สร้างวิทยากร จับคู่เรียนรู้แกนนำชุมชน - สร้างระบบพี่เลี้ยง (Mentor) 2.สนับสนุนองค์ความรู้ เวทีประชาคม แลกเปลี่ยนเรียนรู้ 3. วิเคราะห์ชุมชน ค้นหาข้อมูลปัญหาและความต้องการ 4. กำหนดแนวทางการพัฒนาและการบริหารจัดการชุมชนและกลุ่ม 1.ส่งเสริมกระบวนการการทบทวนแผนชุมชนให้มีคุณภาพ - ถอดบทเรียนที่ผ่านมาและวางแผนการพัฒนา - ค้นหาครัวเรือนเป้าหมาย - กำหนดกิจกรรมส่งเสริมสนับสนุนอาชีพ - กำหนดแนวทางการบริหารจัดการกิจกรรมกลุ่มอาชีพ 2. การติดตามให้คำปรึกษาการดำเนินกิจกรรม 3. ติดตามประเมินผลงาน 1. ประเมินและพัฒนาบทเรียนกิจกรรมดีเด่น 2. พัฒนาช่องทางการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ - สรุปบทเรียน/รายงานผล - จัดทำเอกสารประชาสัมพันธ์ - จัดทำสื่อประชาสัมพันธ์ - เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ ผ่านช่องทางสื่อ ฯ ต่าง ๆ 1.เสริมสร้างแรงจูงใจ รางวัลการบริหารจัดการชุมชนดีเด่น บริหารจัดการอาชีพดีเด่น 2.สร้างแบรนด์งานพช. - ประกวดหมู่บ้านสารสนเทศเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต 3. เชิดชูเกียรติมอบรางวัล 4. สนับสนุน / พัฒนา ต่อยอดกลุ่มอาชีพชุมชน ให้เข้มแข็ง ยั่งยืน D3

กระบวนการพัฒนาคุณภาพชีวิต &พัฒนากลุ่มอาชีพอย่างยั่งยืน เป้าหมายการพัฒนา พัฒนาให้ขีดความสามารถในการบริหารจัดการชุมชนพัฒนาคุณภาพชีวิตอย่างมีประสิทธิภาพและเข้มแข็ง ติดตามประเมินผล เป้าหมายดำเนินการ กม./ครัวเรือน/กลุ่มสัมมาชีพ 7 คณะ/140 คร. พัฒนาสู่ความยั่งยืน ค้นหาความต้องการ พัฒนากลุ่มอาชีพ พื้นที่ดำเนินการ 7 อำเภอ 7 หมู่บ้าน *ติดตามการบริหารจัดการชุมชน *ประเมินผลการดำเนินกิจการ -พัฒนากลุ่มอาชีพ *ต้นน้ำ:กระบวนการผลิต *กลางน้ำ: การตลาด กระดานสินค้า เชื่อมโยงศูนย์สาธิต ร้านค้าประชารัฐฯ *สนับสนุนบูรณาการภาคีพัฒนา+กลไก *เชื่อมโยงแหล่งทุน เวทีประชาคม ทบทวนแผนชุมชน -ค้นหาปัญหาความต้องการกลุ่ม 5 ด้าน *การเข้าถึงปัจจัยการผลิต *การสร้างองค์ความรู้ *การตลาด *การสื่อสารสร้างการรับรู้ -การบริหารจัดการ สำรวจข้อมูล วิเคราะห์ศักยภาพ ผลสำเร็จ 1.มีการจัดการชุมชน 2.กลุ่มอาชีพผลิตสินค้าได้ตามต้องการและ มีรายได้เพิ่มขึ้น -ทบทวนข้อมูลและแผนฯ -ค้นหาแนวทางการพัฒนา -กำหนดกิจกรรมส่งเสริมฯ -กำหนดแนวทางการบริหาร -เขียนโครงการสนับสนุนฯ -สำรวจวิเคราะห์ข้อมูล -ค้นหาความต้องการ -วิเคราะห์ศักยภาพ -ประเมินความพร้อม -จัดลำดับความสำคัญ

จุดหมายปลายทาง : พัฒนาอาชีพ สร้างงาน สร้างรายได้ขยายโอกาสให้สมาชิกชุมชน ให้พ้นจน (ข้อ 22) สมาชิกชุมชน คนสัมมาชีพสามารถสะสมทุน มีวินัยทางการเงิน ออมเงินเพื่อสร้างภูมิคุ้มกันได้ (ข้อ 23) แกนนำชุมชน ประชาชนได้เรียนรู้ มีจิตสาธารณะ รู้รัก สามัคคี มีส่วนร่วมกับชุมชน (ข้อ 30)

แผนปฏิบัติการตามโครงการ ฯ ที่ กิจกรรม สถานที่ วันที่ดำเนินการ ผู้รับผิดชอบ 1. ประชุมพัฒนาการอำเภอเพื่อเตรียมความพร้อม ห้องประชุมกถาพัฒน์ 21 สค.60 กลุ่มงานสารสนเทศ ฯ 2. คัดเลือกกลุ่มสัมมาชีพชุมชนดีเด่นระดับอำเภอ ทุกอำเภอ 24-25 สค.60 นายประศาสนเวชชุ แก้ววงศ์ 3. ประชุมเจ้าหน้าที่พัฒนาชุมชนและแกนนำชุมชน สตารินทร์ รีสอร์ท 24 สค.60 ทีมงานสารสนเทศ 4. จัดทำบทเรียน สื่อ เอกสารประชาสัมพันธ์กลุ่มสัมมาชีพชุมชนดีเด่นระดับอำเภอ 24-31 สค.60 อำเภอ/กลุ่มงานสารสนเทศ ฯ 5. ประชุมเชิงปฏิบัติการเวทีประชาคมทบทวนแผนชุมชน หมู่บ้านเป้าหมาย 28 สค.-5 กย.60 อำเภอ และนักวิชาการที่ได้รับมอบหมาย สพจ. 6. จัดทำโครงการกิจกรรมขอรับการสนับสนุนปัจจัยการผลิตเพื่อพัฒนาอาชีพตามข้อเสนอของครัวเรือนเป้าหมาย อำเภอ 1-5 กย.60 อำเภอ หมู่บ้านเป้าหมาย 7. การติดตามประเมินผลโครงการฯ /การประกวด 25-29 กย.60 สพจ.สตูล

เศรษฐกิจ ฐานรากมั่นคง เศรษฐกิจ ฐานรากมั่นคง ชุมชนพึ่งตนเองได้ ภายในปี 2564