การบริหารการทดสอบ O-NET

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
พัฒนาระบบบริหารจัดการน้ำเพื่อการเกษตร(บูรณาการกระทรวง)
Advertisements

ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการเลือกตั้งคณะกรรมการสวัสดิการในสถานประกอบกิจการ ประกาศราชกิจจานุเบกษา วันที่ 22 พฤษภาคม.
การประชุมซักซ้อมและเตรียมการ การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน O-NET ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 และระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2557.
ปทุมธานี นางปลื้มจิตต์ เนี้ยวคงศักดิ์ นายอารัต เมืองจร
แนวทางการบริหารงบประมาณ
กระบี่ สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
อัตราบรรจุ ข้าราชการ 2625 พนักงานราชการ 99 ลูกจ้างประจำ 77 รวม 4241 อัตราว่าง จำนวน 1 อัตรา ตำแหน่งนักทรัพยากรบุคคลชำนาญการ มาช่วย ราชการ น. ส. สุริยา.
พังงา นางสาวอัญชลี ตันวานิช สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
วิธีการและเทคนิค การตรวจสอบ และการรายงาน ผลการตรวจสอบ ( Auditing )
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
ร่องรอยหลักฐานการกำหนดมาตรฐานและการจัดระบบบริหาร
โครงการ “ พัฒนาคุณภาพ การจัดการศึกษา เรียนร่วมและเรียนรวม”
นางวราพันธ์ ลังกาวงศ์ ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน.
การบริหารราชการ กระทรวงศึกษาธิการในภูมิภาค. การปรับการบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการในภูมิภาค ๑. เหตุผลความจำเป็น ๒. การใช้อำนาจ รมว.ศธ.ในการแต่งตั้งคณะกรรมการ.
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต 39 สำนักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน 16 พฤษภาคม 2558 ณ โรงแรมน่านเจ้า จังหวัดพิษณุโลก การประชุมชี้แจง เรื่อง.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
2 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพัทลุง ตัวชี้วัดระบบการคุ้มครองผู้บริโภคด้าน บริการ อาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพ ประเด็น / ตัวชี้วัดผลงาน 1. การกำกับดูแลคุณภาพน้ำบริโภคในภาชนะ.
รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา.
ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ โรงเรียนอนุบาลนาแกผดุงราชกิจเจริญ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา นครพนม เขต ๑ ตามนโยบายกระทรวงศึกษาธิการ.
โครงการพัฒนาครูทั้งระบบ สรุปโครงการการพัฒนาครูทั้งระบบ ประกอบด้วยทั้งหมด 13 กิจกรรม ดังต่อไปนี้ 1. ผลิตครู การศึกษาขั้นพื้นฐาน (5 ปี ) ระยะที่ 2 พ. ศ.
จำลอง บุญเรืองโรจน์ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา สุพรรณบุรี เขต ๑วันที่ ๒ มิถุนายน พ. ศ. ๒๕๕๘.
ปรานอม ประทีปทวี 25/09/591 หน้าที่ของครูผู้นิเทศ สพม.5.
การประเมินผลโครงการ คป สอ. เกาะช้าง ปี การดำเนินงาน 1. แต่งตั้งคณะกรรมการ ประธาน คปสอ. เกาะช้าง ประธาน คณะกรรมการ ผอ. รพ. เกาะช้างรองประธาน เลขานุการผู้รับผิดชอบงาน.
บทที่ 3 องค์ประกอบของการสัมมนา
การประชุมชี้แจงสนามสอบ O-NET ชั้น ม.3 ปีการศึกษา 2559
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
การประเมินการอ่านออกเขียนได้ ชั้น ป.1 ปีการศึกษา 2559
สถานวิทยาศาสตร์พรีคลินิก
การสร้างแผนปฏิบัติการระดับตำบลหรือท้องถิ่น
การเพิ่มประสิทธิภาพ ระบบบริหารจัดการความเสี่ยง
ระบบ ISO 9001:2015 สำหรับธุรกิจบริหารจัดการเรือ
มาตรฐานระบบการบริหารงานคุณภาพ
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
การบริหารจัดการเวลาเรียน ของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
แนวทางการปฏิบัติงานตามข้อสั่งการ ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
งาน Road Map ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตรปี 2560
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
กรอบอัตรากำลังของบุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา 38 ค. (2)
ข่าวประชาสัมพันธ์สำนักงานเกษตรจังหวัดสุโขทัย
การบริหารจัดการหนี้ค้างชำระ กองทุนพัฒนาบทบาทสตรี
กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพ ครูและนักเรียน
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การติดตามเกี่ยวกับการดำเนินการขับเคลื่อน สะเต็มศึกษาในโรงเรียนเอกชน
การรายงานความคืบหน้าหรือสถานะ
ณ ห้องประชุม พธ.ทร.(๒) วันที่ ๑๗ สิงหาคม ๒๕๕๘ เวลา ๐๙๓๐
ผลปฏิบัติงานในรอบ TOR 2/60 กุมภาพันธ์ – กรกฎาคม 2560
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กรมตรวจบัญชีสหกรณ์.
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
เปิดบ้าน ชื่อโรงเรียน วันที่.
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณและการดำเนินงานของสถาบันอุดมศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ มีนาคม 2560.
ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ปี 2560 ปฏิทินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
ความคืบหน้าการจ้างลูกจ้างชั่วคราว เป็นพนักงานกระทรวงสาธารณสุข (พกส.)
มุ่งเน้น การประเมินระดับการดำเนินงาน “หน่วยงานคุณธรรม”
การทำวิทยฐานะ แนวทางใหม่
ชั้นประถมศึกษาปีที่1-4
โครงการยกระดับคุณภาพผู้เรียน ในการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (NT/O-NET)
คู่มือการใช้งานระบบเสนอหัวข้อของนักศึกษา
โครงการโรงเรียนคุณภาพประจำตำบล (1 ตำบล 1 โรงเรียนคุณภาพ)
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
“ทิศทางการขับเคลื่อน คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน” ของสำนักงานคณะกรรมการ
โปรแกรมระบบบริหารจัดการสถานศึกษา
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
รายงานผล O-NET ปีการศึกษา 2556
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การบริหารการทดสอบ O-NET ปีการศึกษา 2560 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษาเขต 18

สรุปข้อมูลการจัดสอบ O-NET ชั้น ป.6 และชั้น ม.3 ปีการศึกษา 2559

สรุปข้อมูลการจัดสอบ O-NET ปีการศึกษา 2559 รายละเอียด ชั้น ป.6 ชั้น ม.3 จำนวนศูนย์สอบ 186 227 จำนวนสนามสอบ 4,182 4,329 จำนวนห้องสอบ 31,444 11,987 จำนวนโรงเรียน 29,563 25,436 ข้อมูล ณ วันที่ 5 มกราคม 2560

เข้าสอบ (ไม่ทำข้อสอบ) จำนวนนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2559 จำแนกตามที่มีสิทธิ์สอบ เข้าสอบและขาดสอบ แต่ละรายวิชา วิชา จำนวนนักเรียน มีสิทธิ์สอบ เข้าสอบ (ทำข้อสอบ) ขาดสอบ ไม่ประกาศผล เข้าสอบ (ไม่ทำข้อสอบ) เด็กพิเศษ walk-in จำนวน ร้อยละ ภาษาไทย 808,925 724,347 89.54 12,011 5 49 70,263 2,223 สังคมศึกษาฯ 724,342 12,021 3 55 70,254 ภาษาอังกฤษ 724,336 12,028 56 70,255 คณิตศาสตร์ 724,285 12,061 6 90 70,233 2,224 วิทยาศาสตร์ 724,349 12,016 2 57 70,251

เข้าสอบ (ไม่ทำข้อสอบ) จำนวนนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2559 จำแนกตามที่มีสิทธิ์สอบ เข้าสอบและขาดสอบ แต่ละรายวิชา วิชา จำนวนนักเรียน จำนวนผู้มีสิทธิ์สอบ เข้าสอบ(ทำข้อสอบ) ขาดสอบ ไม่ประกาศผล เข้าสอบ (ไม่ทำข้อสอบ) เด็กพิเศษ walk-in จำนวน ร้อยละ ภาษาไทย 688,347 637,491 92.61 29,199 3 14 19,660 1,929 สังคมศึกษาฯ 637,245 92.58 29,486 10 19,628 1,924 ภาษาอังกฤษ 637,406 92.60 29,296 13 19,647 1,931 คณิตศาสตร์ 637,256 29,447 23 19,643 1,925 วิทยาศาสตร์ 637,047 92.55 29,683 19,268 1,922

ข้อพึงระวังและกรณีศึกษาจากการสอบ O-NET ปีการศึกษา 2559

ปัญหาที่พบ-กรณีร้องเรียนจากการดำเนินการสอบ กรรมการคุมสอบไม่อนุญาตให้นักเรียนใช้ดินสอในการทำข้อสอบอัตนัยวิชาภาษาไทย 1. กรรมการคุมสอบเก็บแบบทดสอบและกระดาษคำตอบก่อนหมดเวลาสอบ 2. กรรมการคุมสอบแจกแบบทดสอบผิด และเมื่อผู้เข้าสอบทำแบบทดสอบไปแล้ว มาเปลี่ยนแบบทดสอบฉบับใหม่ ทำให้เสียเวลาในการสอบ 3. กรรมการคุมสอบสั่งให้นักเรียนฝนรหัสชุดข้อสอบ โดยไม่ยึดตามแบบทดสอบที่นักเรียนได้รับ 4.

ปัญหาที่พบจากการรายงานของตัวแทน สทศ. ห้องสอบ/สถานที่สอบ 1. ในห้องสอบมีบอร์ดความรู้ 2. ไม่มีการประกาศแจ้งเวลาตามขั้นตอนที่กำหนดไว้ 3. สถานที่รับส่งข้อสอบไม่เหมาะสม 4. มีการเปลี่ยนสนามสอบและไม่ประชาสัมพันธ์

ปัญหาที่พบจากการรายงานของตัวแทน สทศ. กรรมการกลาง 1. กรรมการกลางเปิดกล่องข้อสอบในรายวิชาถัดไปก่อนถึงเวลาสอบ 2. การเปิดกล่องแบบทดสอบก่อนเวลาที่กำหนด กรรมการคุมสอบ 1. กรรมการคุมสอบบางคนใช้โทรศัพท์มือถือ อ่านหนังสือ หลับ หรือกรรมการคุมสอบมีการพูดคุยกันเอง หรือคุยกับนักเรียน มีการชี้แนะนักเรียน เป็นต้น

ปัญหาที่พบจากการรายงานของตัวแทน สทศ. กรรมการคุมสอบ 2. กรรมการคุมสอบนำข้อสอบมาอ่าน 3. นักเรียนไปห้องน้ำโดยที่ไม่มีกรรมการคุมสอบควบคุม 4. ไม่เปิดซองข้อสอบตามเวลาที่กำหนด หรือไม่เก็บข้อสอบนักเรียนเมื่อหมดเวลาสอบ 5. กรรมการคุมสอบไม่เคร่งครัดในการตรวจหลักฐานของผู้เข้าสอบ 6. กรรมการคุมสอบรับข้อสอบเสร็จไม่ได้ตรงไปยังห้องสอบทันที มีการแวะห้องรับรองก่อน

ปัญหาที่พบจากการตรวจกระดาษคำตอบ ชั้น ป.6 กรณี สพป. ใช้กระดาษคำตอบผิดรายวิชา (สอบวิชา 61 ใช้กระดาษคำตอบสำรองวิชา 64) จำนวน 1 คน 1 เขต 2. ผู้เข้าสอบนั่งสอบสลับที่ จำนวน 37 คน 23 เขต 3. ผู้เข้าสอบนั่งสอบที่นั่งคนขาดสอบ จำนวน 13 คน 6 เขต 4. กรณีพบผู้เข้าสอบ 2 ที่ จำนวน 4 คน 2 เขต 5. ฝนคำตอบด้วยปากกา จำนวน 29 คน 16 เขต

ปัญหาที่พบจากการตรวจกระดาษคำตอบ ชั้น ม.3 กรณี สพป. สพม. 1. ผู้เข้าสอบนั่งสอบสลับที่ จำนวน 3 คน 3 เขต จำนวน 2 คน 2 เขต 2. ผู้เข้าสอบนั่งสอบที่นั่งคนขาดสอบ - 3. กรณีพบผู้เข้าสอบ 2 ที่ จำนวน 16 คน 11 เขต 4. ฝนคำตอบด้วยปากกา จำนวน 6 คน 6 เขต จำนวน 9 คน 5 เขต

ตารางสอบ O-NET ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2560

การปรับลดรายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม การปรับลดรายวิชาสังคมศึกษาฯ ของการสอบ O-NET ชั้นป.6 และชั้น ม.3 ปีการศึกษา 2560 ตามที่กระทรวงศึกษาธิการมอบนโยบายให้พิจารณาทบทวนแนวทางการทดสอบO-NET วิชาสังคมศึกษาฯ สทศ. เห็นควรพิจารณาปรับลดการสอบในรายวิชาดังกล่าว เพื่อให้มีการประเมินที่เหมาะสมสอดคล้องกับบริบทในแต่ละพื้นที่ ปีการศึกษา 2560 จึงมีการปรับลดจาก 5 กลุ่มสาระการเรียนรู้ เหลือ 4 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ได้แก่ วิชาภาษาไทย วิชาภาษาอังกฤษ วิชาคณิตศาสตร์ และวิชาวิทยาศาสตร์

ตารางสอบ O-NET ชั้น ป.6 ปีการศึกษา 2560 วันสอบ เวลา รหัสวิชา วิชา เวลาสอบ วันเสาร์ 3 กุมภาพันธ์ 2561 09.00 - 10.00 น. 64 คณิตศาสตร์ 60 นาที พัก 30 นาที 10.30 - 12.00 น. 61 ภาษาไทย 90 นาที พัก 90 นาที 13.30 - 14.30 น. 65 วิทยาศาสตร์ 15.00 - 16.00 น. 63 ภาษาอังกฤษ

ตารางสอบ O-NET ชั้น ม.3 ปีการศึกษา 2560 วันสอบ เวลา รหัสวิชา วิชา เวลาสอบ วันเสาร์ 3 กุมภาพันธ์ 2561 10.00 - 11.30 น. 94 คณิตศาสตร์ 90 นาที พัก 90 นาที 13.00 - 14.30 น. 91 ภาษาไทย วันอาทิตย์ 4 กุมภาพันธ์ 2561 95 วิทยาศาสตร์ 93 ภาษาอังกฤษ

การบริหารการจัดสอบระดับศูนย์สอบ ปีการศึกษา 2560 การบริหารการจัดสอบระดับศูนย์สอบ ปีการศึกษา 2560

โครงสร้างการบริหารการทดสอบ O-NET ชั้น ป.6 และชั้น ม.3 ปีการศึกษา 2560

ศูนย์สอบที่บริหารการทดสอบ O-NET หน่วยงาน จำนวน ศูนย์สอบ ป.6 ศูนย์สอบ ม.3 1. สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน(กทม.) 1 2. สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา 183 182 3. สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา - 42 4. สำนักการศึกษา กรุงเทพมหานคร 5. สำนักการศึกษา เมืองพัทยา รวม 186 227

คณะทำงานระดับศูนย์สอบ 1 ประธานศูนย์สอบ 2 คณะทำงานประสานงานการจัดสอบ 3 คณะทำงานรับ-ส่ง เก็บรักษาแบบทดสอบกระดาษคำตอบ 4 คณะทำงานจัดทำฐานข้อมูลโรงเรียน นักเรียนและศูนย์สอบ 5 คณะทำงานการเงิน 6 ตัวแทนศูนย์สอบ

หน้าที่หลักของศูนย์สอบ 1. ประสานงานกับ สทศ. ดำเนินการตามนโยบายและแนวปฏิบัติของสทศ. 2. กำกับและติดตามให้โรงเรียนส่งข้อมูลรายชื่อนักเรียนให้ครบถ้วนและถูกต้องตามช่วงเวลาที่สทศ. กำหนด 3. จัดสนามสอบและห้องสอบผ่านระบบ O-NET ภายในเวลาที่กำหนด 4. พิจารณาอนุมัติในกรณีมีผู้เข้าสอบกรณีพิเศษที่ไม่มีเลขที่นั่งสอบ โดย ตรวจสอบว่านักเรียนเป็นผู้มีสิทธิ์สอบและแจ้งสนามสอบทราบในวันสอบ

หน้าที่หลักของศูนย์สอบ 5. แต่งตั้งตัวแทนศูนย์สอบและส่งไปปฏิบัติหน้าที่ประจำสนามสอบ 6. แต่งตั้งคณะทำงานระดับศูนย์สอบ และคณะกรรมการระดับสนามสอบ ควบคุม กำกับให้การดำเนินการจัดสอบของศูนย์สอบและสนามสอบ เป็นไปด้วยความเรียบร้อยและมีประสิทธิภาพ 8. แก้ปัญหาในการดำเนินการจัดสอบของศูนย์สอบและสนามสอบ บริหารค่าใช้จ่ายในการดำเนินการจัดสอบ ส่งรายงานสรุปผลการดำเนินการจัดสอบและสรุปค่าใช้จ่ายในการจัดสอบ แจ้งให้ สทศ. ทราบ ภายใน 60 วันหลังเสร็จสิ้นการสอบ

ภาระกิจสำคัญ - เตรียมบุคลากร จัดหาคณะกรรมการระดับสนามสอบและกรรมการคุมสอบ จัดทำคำสั่งคณะทำงานชุดต่างๆ ในระดับศูนย์สอบ ระดับสนามสอบและ ตัวแทนศูนย์สอบ จัดการประชุมชี้แจงบุคลากรที่ เกี่ยวข้องกับการสอบทั้งระดับ ศูนย์สอบและระดับสนามสอบ

ภาระกิจสำคัญ – รักษาแบบทดสอบ/กระดาษคำตอบให้ปลอดภัย จัดเตรียมห้องมั่นคงหรือสถานที่ที่มีความเหมาะสม เพื่อใช้ในการเก็บ แบบทดสอบและกระดาษคำตอบ ควบคุม ดูแล กำกับการขนส่งแบบทดสอบและกระดาษคำตอบจากศูนย์สอบ – สนามสอบ จัดเจ้าหน้าที่เพื่อดูแล รักษาและควบคุมแบบทดสอบและกระดาษคำตอบที่ เก็บรักษาไว้ศูนย์สอบ

ภาระกิจสำคัญ – รับ/ส่งกล่องกระดาษคำตอบกับ สทศ. หลังเสร็จสิ้นการสอบประสานงานกับสนามสอบเรื่องการรับกล่อง กระดาษคำตอบจากสนามสอบ ประสานงานเรี่องการส่งกล่องกระดาษคำตอบและเอกสารการจัดสอบ (สทศ.5, สทศ.6) ให้สทศ.

ภาระกิจสำคัญ – ส่งข้อมูล/จัดสนามสอบ ดำเนินการปรับปรุงข้อมูลศูนย์สอบ และข้อมูลโรงเรียนในระบบ O-NET ให้เป็นปัจจุบัน ประสานงานกับ สทศ. เรื่องการเพิ่มข้อมูลโรงเรียนที่มีการตั้งใหม่เข้าระบบ กำกับ ติดตามให้โรงเรียนส่งรายชื่อนักเรียนที่สิทธิ์สอบ ภายในวันที่ 31 ส.ค.2560 ดำเนินการจัดสนามสอบ ห้องสอบ ในระบบ O-NET ให้แล้วเสร็จภายใน วันที่ 30 ก.ย. 2560

ภาระกิจสำคัญ - บริหารงบประมาณ พิจารณาเบิกจ่ายค่าตอบแทน ค่าดำเนินการต่างๆ ทั้งระดับศูนย์สอบ และสนามสอบ ตามบัญชีแนบท้าย 3 อัตราค่าใช้จ่ายในการดำเนินการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) จัดส่งใบเสร็จรับเงินให้กับ สทศ. ทันที หลังจากที่ได้รับเงินจัดสรรใน แต่ละงวดเป็นที่เรียบร้อย จัดทำรายงานสรุปค่าใช้จ่ายการจัด ทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐาน ระดับศูนย์สอบ (O-NET 9)

ภาระกิจสำคัญ – แต่งตั้งตัวแทนศูนย์สอบ แต่งตั้งตัวแทนศูนย์สอบ ให้ศูนย์สอบพิจารณาแต่งตั้งจากบุคลากรภายในศูนย์สอบ ครูต่างเครือข่ายหรือจากหน่วยงานอื่นๆที่มีคุณสมบัติเหมาะสม (ทั้งด้านคุณวุฒิและวัยวุฒิ มีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย มีความซื่อสัตย์และเป็นผู้นำที่ดี) จำนวนตัวแทนศูนย์สอบให้ใช้อัตรา 2 คนต่อสนามสอบ

บทบาทหน้าที่ของตัวแทนศูนย์สอบ 1. รับ-ส่งกล่องแบบทดสอบและกล่องกระดาษคำตอบระหว่างศูนย์สอบกับ สนามสอบ 2. กำกับการเปิดกล่องแบบทดสอบให้ตรงตามตารางสอบและเวลาที่กำหนด ร่วมกับหัวหน้าสนามสอบ และกรรมการกลาง 3. เมื่อกรรมการกลางตรวจนับกระดาษคำตอบครบถ้วนและบรรจุใส่ซองพร้อมทั้งปิดผนึกซองกระดาษคำตอบเป็นที่เรียบร้อยแล้ว ให้ตัวแทนศูนย์สอบเป็น ผู้ที่ทำหน้าที่ปิดเทปกาวพิเศษแบบทำลายตนเองที่ปากซองกระดาษคำตอบ พร้อมทั้งลงชื่อกำกับที่หน้าซองกระดาษคำตอบ

บทบาทหน้าที่ของตัวแทนศูนย์สอบ กำกับ ดูแลการจัดสอบภายในสนามสอบให้เป็นไปด้วยความเรียบร้อยตามมาตรฐานการทดสอบ กำกับการบรรจุซองกระดาษคำตอบลงกล่องทันทีหลังเสร็จสิ้นการสอบแต่ละวิชา และปิดผนึกกล่องกระดาษคำตอบกลับด้วยเทปกาวของ สทศ. พร้อมทั้งให้ตัวแทนศูนย์สอบลงชื่อที่ใบปะหน้ากล่องบรรจุซองกระดาษคำตอบกลับ สทศ.

บทบาทหน้าที่ของตัวแทนศูนย์สอบ นำกล่องบรรจุซองกระดาษคำตอบกลับส่งศูนย์สอบหลังจากเสร็จสิ้นการสอบในแต่ละวัน ห้ามทิ้งกล่องบรรจุซองกระดาษคำตอบไว้ที่สนามสอบ รายงานการจัดสอบของสนามสอบให้ศูนย์สอบทราบตามเอกสารรายงานการปฏิบัติงานของตัวแทนศูนย์สอบ