พื้นฐานการพัฒนาคอมโพเนนต์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การจัดทำเว็บไซต์สำเร็จรูปด้วยโปรแกรม Joomla!
Advertisements

ซอฟต์แวร์ระบบที่รู้จักกันดี คือซอฟต์แวร์ควบคุมการปฏิบัติการ ของคอมพิวเตอร์ที่เรียกว่า ระบบปฏิบัติการ ระบบปฏิบัติการเป็นชุดคำสั่งที่ใช้ควบคุมระบบฮาร์ดแวร์และ.
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
Computer in Business เรื่อง การใช้งาน Access เบื้องต้น.
พังงา นางสาวอัญชลี ตันวานิช สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
Chapter I พฤติกรรมผู้บริโภค.
การบริหารการค้าปลีกและการค้าส่ง
บทที่ 1 หลักการทำโครงงาน
การประยุกต์ใช้สื่อผสม นาย ธีรวัฒน์ พิสัยพันธ์ รหัส
CSIT-URU อ. กฤษณ์ ชัยวัณณคุปต์ Mathematics and Computer Program, URU บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ เทคโนโลยีสารสนเทศ Introduction to Information.
ลักษณะงานของวิศวกร ซอฟต์แวร์ ● วิเคราะห์และจัดทำความ ต้องการซอฟต์แวร์ ● ออกแบบซอฟต์แวร์ ● พัฒนาซอฟต์แวร์ ● ทดสอบซอฟต์แวร์ ● บำรุงรักษาซอฟต์แวร์ ● จัดการองค์ประกอบ.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
โครงการศูนย์ดิจิทัลชุมชน สำนักงาน กศน. จังหวัดขอนแก่น.
หลักการแก้ปัญหา อย่างมีขั้นตอน การแก้ปัญหาด้วย กระบวนการทาง เทคโนโลยี สารสนเทศ หลักการ แก้ปัญหา การใช้หลักการใน การแก้ปัญหา.
1. รู้ถึงความต้องการของตัวเอง ก่อนก่อนเริ่มต้นออกแบบ เมื่อคุณเริ่มคิดจะออกแบบโบรชัวร์ออกมาอย่างไร ให้เริ่มต้น สอบถามลูกค้าของคุณก่อนว่าทำไม เค้าต้องการโบร์ชัวร์
บทที่ 3 นักวิเคราะห์ระบบและการ วิเคราะห์ระบบ. 1. นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) 1.1 ความหมายของนักวิเคราะห์ระบบ นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis:
การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ ครูชาญณรงค์ ปานเลิศ โรงเรียนพระบางวิทยา ครูชาญณรงค์
ง21101 การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม. 1 เจตคติต่อการประกอบอาชีพ
การออกแบบและเทคโนโลยี
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
นำเสนอวิธีปฏิบัติที่ดี ด้านกิจกรรมพัฒนานักศึกษา
การแพร่กระจายนวัตกรรม Diffusion of Innovation
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
การใช้ Social Media เพื่อการสื่อสาร
การเพิ่มประสิทธิภาพ ระบบบริหารจัดการความเสี่ยง
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 2 : แบบจำลองเครือข่าย (Network Models) part1 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์
กระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์
บทที่ 1 สถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมูล (Database Architecture)
บทที่ 7 การวิเคราะห์และพัฒนาระบบ
บทที่ 5 เครื่องมือสืบค้นข้อมูล (Search Engine)
อยู่ระหว่างดำเนินการ
การจัดหาพัสดุในส่วนของรายจ่ายลงทุนในภาพรวม ประจำเดือนมิถุนายน 2561
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 12 : การประพันธ์สื่อมัลติมีเดีย (Multimedia Authoring) สธ212 ระบบสื่อประสมสำหรับธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์
การบัญชีต้นทุนช่วง (Process Costing).
กลุ่มคำและประโยค ภาษาไทย ม. ๓
Presentation การจัดการข้อร้องเรียนในธุรกิจบริการ Customer Complaint Management for Service.
บทที่ 6 การพัฒนาระบบการสอนบนเครือข่าย
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
มาตรฐานและเทคโนโลยีในการพัฒนาเชิงคอมโพเนนต์
บทที่ 3 แฟ้มข้อมูลและฐานข้อมูล
การพัฒนาคอมโพเนนต์ในเชิงลึก
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
การศึกษาการเคลื่อนที่เชิงอนุภาค
ระบบการจัดการคลินิกครบวงจร
บทที่ 7 การวิเคราะห์และพัฒนาระบบ
บทที่ 3 ซอฟต์แวร์ประยุกต์
การบริหารโครงการซอฟต์แวร์
Object-Oriented Programming การเขียนโปรแกรมเชิงอ็อบเจ็กต์
การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพบุคลากรทางการศึกษาด้านการสอบด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer-based Assessment) การรู้เรื่องการอ่าน ด้านคณิตศาสตร์และด้านวิทยาศาสตร์
บทที่ 6 แนวคิดเทคโนโลยีเสมือนจริง
รูปแบบ และ ประโยชน์การขายสินค้าออนไลน์
SMS News Distribute Service
ผู้ช่วยศาสตราจารย์จุฑาวุฒิ จันทรมาลี
เราคือ ‘One PPG’ We protect and beautify the world วัตถุประสงค์ของเรา
บรรยายครั้งที่ 8 - กราฟฟิกวิศวกรรม 1
โซ่อุปทานและโลจิสติกส์ ญาลดา พรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
งานนำเสนอสำหรับโครงการ นิทรรศการวิทยาศาสตร์
บทที่ 2 การพัฒนาระบบสารสนเทศ
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
สถานการณ์เด็กไทยในปัจจุบัน
ระบบสำนักงานอัตโนมัติ (Office Automation : OA)
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น และการออกแบบเว็บไซต์
บทที่ 15 การติดตั้งระบบและการทบทวนระบบงาน.
โซ่อุปทานและโลจิสติกส์ ญาลดา พรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ
Transportation Management System ( TMS )
บทที่ 4 การให้บริการแพลตฟอร์ม Platform as a service(PaaS) 4.1 ความหมาย
การใช้ระบบสารสนเทศในการวิเคราะห์ข่าว
ใบสำเนางานนำเสนอ:

พื้นฐานการพัฒนาคอมโพเนนต์ อาจารย์สมเกียรติ ช่อเหมือน สาขาวิชาวิศวกรรมซอฟต์แวร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (tko@webmail.npru.ac.th)

การพัฒนาซอฟต์แวร์ด้วยคอมโพเนนต์ วิศวกรรมซอฟต์แวร์เชิงคอมโพเนนต์ (CBSE) หรือ การพัฒนาซอฟต์แวร์เชิงคอมโพเนนต์ (CBD) สาขาวิศวกรรมซอฟต์แวร์เน้นการแยกส่วนย่อยหรือฟังก์ชันการทำงานที่ครอบคลุมทั้งซอฟต์แวร์ https://en.wikipedia.org/wiki/Component-based_software_engineering http://www.rijsenbrij.net/archive1/progx/eng/chapter8.htm

คอมโพเนนต์และแนวคิดการใช้งานคอมโพเนนต์ เทคนิคของการแบ่งแยกส่วนประกอบ (Decomposition-Dividing) Component-Based Development (CBD) Component-Based Software Engineering (CBSE). แต่ละชิ้นส่วนเรียกว่า “คอมโพเนนต์” https://www.tutorialspoint.com/software_engineering/software_maintenance_overview.htm

การนำกลับมาใช้ใหม่ได้ คอมโพเนนต์เป็นส่วนหนึ่งของโปรแกรม ทำหน้าที่อย่างอิสระในระบบ เป็นโมดูลขนาดเล็กหรือระบบย่อย ๆ การนำกลับมาใช้ซ้ำแบ่งได้ 3 ระดับ Application level  ใช้ทั้งหมดเป็นระบบย่อยของโปรแกรมใหม่ Component level ใช้เป็นระบบย่อยหนึ่งของแอปพลิเคชัน Modules level โมดูลการทำงานที่ใช้ซ้ำ https://www.tutorialspoint.com/software_engineering/software_maintenance_overview.htm http://article.sapub.org/10.5923.j.se.20120204.07.html

หัวข้อที่สนใจ บทนำ เป้าหมายของการพัฒนาเชิงคอมโพเนนต์ ทำไมต้องพัฒนาเชิงคอมโพเนนต์ คอมโพเนนต์คืออะไร การพัฒนาแอปพลิเคชันด้วยคอมโพเนนต์ แนวทางการพัฒนาแอปพลิเคชันด้วยคอมโพเนนต์ สรุปท้ายบท http://canacopegdl.com/synonym/issue.html

เป้าหมายของการพัฒนาเชิงคอมโพเนนต์ การสร้างชิ้นส่วนประกอบซอฟต์แวร์ที่สามารถนำกลับมาใช้ใหม่ได้ การนำชิ้นส่วนมาใช้เป็นส่วนประกอบได้อย่างเหมาะสม องค์ประกอบที่สำคัญ การพัฒนาคอมโพเนนต์ (ชิ้นส่วน) การสร้างอินเทอร์เฟซ (ส่วนต่อประสาน) การทำงานในรูปแบบโมดูล (module) การออกแบบที่มีโครงสร้าง (structure) และเชิงวัตถุ (object oriented) เทคนิคการออกแบบอินเทอร์เฟซ http://th.gofreedownload.net/free-icon/icons/target-107833/#.WnhmWK5l_IU

ทำไมจึงต้องพัฒนาเชิงคอมโพเนนต์ ช่วยลดความซับซ้อน ช่วยลดเวลาในการจัดส่งซอฟต์แวร์ ทำให้สามารถปรับปรุงได้อย่างสม่ำเสมอ สามารถใช้ประโยชน์จากสิ่งที่ดีที่สุดของคลาส ช่วยเพิ่มผลผลิต ช่วยในการปรับปรุงคุณภาพ ช่วยเพิ่มความสามารถในการติดตามโครงการ ช่วยสนับสนุนการพัฒนาแบบคู่ขนานและแบบกระจาย ช่วยลดต้นทุนการบำรุงรักษา https://promotions.co.th/promopedia/ 5-เหตุผลที่คุณใช้-คูปองส.html

คอมโพเนนต์ การสร้างบล็อก (building blocks) พื้นฐานของโซลูชัน ชิ้นส่วนประกอบของซอฟต์แวร์ องค์ประกอบพื้นฐานที่ใช้ประกอบเป็นซอฟต์แวร์ คอมโพเนนต์ มีมากกว่าโปรแกรมย่อยในวิธีการเขียนโปรแกรมแบบโมดูลาร์ วัตถุหรือคลาสในระบบเชิงวัตถุหรือแพ็กเกจ ใช้เป็นพื้นฐานสำหรับการออกแบบการใช้งานและบำรุงรักษา ชิ้นงานที่สามารถทำงานได้อย่างอิสระ และเข้าถึงบริการผ่านอินเทอร์เฟซ http://www.psdgraphics.com/3d/single-jigsaw-puzzle-piece-3d-symbol/

ออบเจ็กต์และคอมโพเนนต์ กำหนดส่วนประกอบเป็นหน่วยที่สามารถส่งมอบได้ ประการที่หนึ่ง คอมโพเนนต์มีลักษณะเป็นชุดคำสั่งคอมพิวเตอร์ ประการที่สอง คอมโพเนนต์ประกอบด้วยฟังก์ชันที่มีประโยชน์ ประการที่สามคอมโพเนนต์ให้บริการผ่านอินเทอร์เฟซ https://www.cs.umd.edu/~pugh/com/

พื้นฐานเกี่ยวกับแนวคิดเชิงวัตถุ Brown, A. W. (2000). Component-Based Development.

หลักการพื้นฐานของแนวคิดเชิงวัตถุ ออบเจ็กต์ (Objects) การห่อหุ้ม (Encapsulation) ระบุคุณลักษณะ (Identity) การดำเนินการให้เกิดผลลัพธ์ (Implementation) ส่วนต่อประสานของซอฟต์แวร์ (Interface) วัตถุที่นำมาใช้แทนสิ่งสนใจ (Substitutability) https://www.mdsoft.co.th/ความรู้/223-oop-object-oriented-programming.html

ความสัมพันธ์ระหว่างคอมโพเนนต์และออบเจ็กต์ Brown, A. W. (2000). Component-Based Development.

คอมโพเนนต์และการทำงานแบบกระจาย ฮาร์ดแวร์ที่มีประสิทธิภาพควบคู่ไปกับเทคโนโลยีเครือข่ายราคาถูก การกระจายโครงสร้างพื้นฐานด้านคอมพิวเตอร์ในองค์กร องค์กรสร้างระบบเครือข่ายแบบกระจายที่ซับซ้อน จำเป็นต้องพัฒนาภาษาและวิธีการต่าง ๆ ที่รองรับโครงสร้างพื้นฐาน แนวทางในการพัฒนาระบบแอปพลิเคชันมากมาย การสร้างระบบแบบกระจายด้วยวิธีนามธรรมต้องอาศัยการเขียนโปรแกรม

ความแตกต่างของการทำงานของระบบแต่ละชั้น Brown, A. W. (2000). Component-Based Development.

ส่วนประกอบของคอมโพเนนต์ องค์ประกอบของคอมโพเนนต์สามารถสื่อสารกันได้ การสร้างคอมโพเนนต์ด้วยแนวคิดเชิงวัตถุและกระจายการทำงาน ผู้ออกแบบและวิศวกรระบบมีความคุ้นเคยวิธีการใช้คอมโพเนนต์

คอมโพเนนต์คืออะไร Brown, A. W. (2000). Component-Based Development.

องค์ประกอบหลักของคอมโพเนนต์ การจัดการข้อกำหนดที่ชัดเจน (specification) อิมพลีเมนต์ได้อย่างน้อย 1 วิธี (One or more implementations) ข้อกำหนดที่เป็นมาตรฐานของคอมโพเนนต์ (component standard) วิธีการแพ็กเกจ (packaging approach) วิธีการติดตั้ง (deployment approach)

แอปพลิเคชันที่ประกอบด้วยคอมโพเนนต์ วิธีการเชิงคอมโพเนนต์ (component-oriented approach) ประสิทธิภาพในการออกแบบโซลูชันตามที่กำหนด (effectively design) สนับสนุนการพัฒนาระบบแบบกระจาย โดยใช้ระบบเดิมและแพ็กเกจใหม่ http://slideplayer.com/slide/9101702/

การพัฒนาระบบขององค์กรจากคอมโพเนนต์ Rational's Unified Process ทำแต่ละงานในแต่ละขั้นตอนให้สมบูรณ์ มุมมองการเลือกใช้คอมโพเนนต์ (Select Perspective Method) การพัฒนาซอฟต์แวร์ในองค์กรด้วยคอมโพเนนต์ที่ใช้ร่วมกันได้ https://ispying.blogspot.com/2013/10/rational-unified-process-rup.html

กระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์เชิงคอมโพเนนต์ Brown, A. W. (2000). Component-Based Development.

แหล่งที่มาของคอมโพเนนต์ คอมโพเนนต์เป็นฟังก์ชันที่มีความอิสระ สามารถเข้าถึงผ่านอินเทอร์เฟซได้ คอมโพเนนต์ เป็นแพ็กเกจที่พัฒนาตามความต้องการทางธุรกิจ คอมโพเนนต์ของบุคคลที่สาม ที่พัฒนาแยกจากกัน และนำมาใช้งาน CBD มุ่งเน้นที่เทคนิคการแบ่งส่วน เพื่อให้เข้าถึงแพ็กเกจได้ในอนาคต มุมมองของ CBD เป็นพื้นฐานสำหรับรวมแอปพลิเคชันใหม่ ๆ

แหล่งที่มาของคอมโพเนนต์ (ต่อ) การใช้ชิ้นส่วนที่เป็นมาตรฐานเพื่อให้คอมโพเนนต์ทั้งหมดใช้งานได้ การจัดการคอมโพเนนต์ โดยใช้เครื่องมือในการจัดเก็บ ค้นหาและเรียกค้นคอมโพเนนต์ตามความต้องการได้ วิธีการออกแบบที่ช่วยให้โซลูชันนำคอมโพเนนต์มาใช้ได้ ผ่านฟังก์ชันการทำงานตามที่คิดและใช้งานลักษณะเฉพาะได้ https://www.saikou.construction/house-building/ปทุมธานี/

การออกแบบที่เน้นส่วนเชื่อมต่อ อินเทอร์เฟซเป็นกลไกที่คอมโพเนนต์เพื่อใช้อธิบายสิ่งที่ทำและการเข้าถึง อธิบายการเชื่อมต่อของคอมโพเนนต์นั้น การใช้งานจะถูกซ่อนไว้ภายใน การออกแบบตามอินเตอร์เฟซ เป็นสิ่งสำคัญในการออกแบบที่ยืดหยุ่น ส่วนสำคัญของการจัดเตรียมแอปพลิเคชันใหม่ ๆ ในยุคอินเทอร์เน็ต การออกแบบซึ่งสามารถเปลี่ยนแปลงได้เมื่อเทคโนโลยีมีการเปลี่ยนแปลง วิธีการออกแบบที่ใช้อินเทอร์เฟซ ช่วยลดต้นทุนในการบำรุงรักษาระบบ

สถาปัตยกรรมคอมโพเนนต์และแอปพลิเคชัน http://www.rijsenbrij.net/archive1/progx/eng/chapter8.htm

สถาปัตยกรรมคอมโพเนนต์และแอปพลิเคชัน การออกแบบอินเตอร์เฟซของคอมโพเนนต์แต่ละชิ้นส่วน มุมมองการประกอบชิ้นส่วนของโซลูชันที่ใช้มากขึ้น คอมโพเนนต์เกี่ยวกับการออกแบบและสร้างแอปพลิเคชัน แอปพลิเคชันประกอบด้วยคอมโพเนนต์ที่ทำงานร่วมกัน สถาปัตยกรรมคอมโพเนนต์ (component architecture) คอมโพเนนต์และการปฏิสัมพันธ์ การโต้ตอบของออบเจ็กต์ที่ใช้พัฒนา https://towardsdatascience.com/10-common-software-architectural-patterns-in-a-nutshell-a0b47a1e9013

แนวทางในการปฏิบัติของ CBD การใช้ส่วนประกอบจากเทคโนโลยีที่หลากหลาย ทำได้หลายวิธี โดยเฉพาะการพัฒนาแอปพลิเคชันบนแพลตฟอร์มต่าง ๆ แอปพลิเคชันขนาดใหญ่ที่มีฟังก์ชันทางธุรกิจจำนวนมาก ขึ้นอยู่กับความหลากหลายและเทคโนโลยีที่เข้ากันได้ ค่าใช้จ่ายในการพัฒนาคอมโพเนนต์และการจัดการใช้คอมโพเนนต์ร่วมกัน

กลุ่มของผู้เกี่ยวข้อง กลุ่มผลประโยชน์พิเศษ (Special Interest Groups) กลุ่มผู้ขาย (Vendor-Led User Groups) กลุ่มผู้ให้บริการคอมโพเนนต์ (Specialist Component Service Providers) ผู้ให้คำแนะนำและรายงานผล (Experience Reports and Advice)

ความพิเศษของคอมโพเนนต์ ส่วนประกอบในการพัฒนา (developers) ส่วนประกอบในการเป็นตัวแทน (brokers) ส่วนประกอบในการศึกษา (educators) พื้นฐานของการให้คำปรึกษา (Component-based consultants)

สรุปท้ายบท การพัฒนาซอฟต์แวร์ด้วยคอมโพเนนต์ เป็นพื้นฐานของการพัฒนาซอฟต์แวร์ในกระบวนการทางวิศวกรรมซอฟต์แวร์ที่เป็นมาตรฐาน เน้นการออกแบบคอมโพเนนต์หรือส่วนประกอบที่ใช้ร่วมกันได้ ใช้อินเทอร์เฟซเป็นส่วนต่อประสานระหว่างคอมโพเนนต์ การแบ่งแยกส่วนประกอบในการเขียนโปรแกรม เพื่อกระจายการทำงานและเชื่อมต่อการทำงานผ่านออบเจ็กต์ของคอมโพเนนต์ การนำไปใช้ต้องเข้าใจโครงสร้างการทำงานของคอมโพเนนต์นั้น ๆ การนำเครื่องมือที่มีอยู่มาช่วยในการนำมาใช้งาน