แนวทางการประเมินผลสัมฤทธิ์ ด้วยข้อสอบมาตรฐานกลาง

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โดย ดร.ชินภัทร ภูมิรัตน เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
Advertisements

ระบบการจัดการสอบ เพื่อการบริหารจัดการทรัพยากรมนุษย์
ระบบการออกเลขมาตรฐานสากลประจำหนังสือ (ISBN)
Classification / Criteria
แบบสังเกต (Observation form)
Introduction to Medical Library
วัตถุประสงค์ เพื่อประเมินความสามารถพื้นฐานที่จำเป็นของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ใน - ด้านภาษา ( Literacy ) - ด้านคำนวณ ( Numeracy ) - ด้านเหตุผล.
ประชุมผู้บริหาร สพป.มค.3
ผลการสอบ O-NET ป. 6 ปี การศึกษา 2556 ร. ร. ภายในกลุ่มฯบ้านโคก เปรียบเทียบกับระดับประเทศ.
การใช้ข้อสอบกลาง ลำใย สนั่นรัมย์ ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาเครื่องมือฯ
คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
 How do we improve the test?  Why do we have to improve the test?
นโยบาย ยกระดับคุณภาพ การศึกษา. ๑. ระบบการ สอบ ๑. ๑ เนื้อหาสาระที่ใช้ออก ข้อสอบ ๑. ๒ รูปแบบของข้อสอบ ๑. ๓ การเตรียมพร้อมให้ นักเรียนคุ้นเคย กับวิธีการตอบ.
Verb to have (have, has)
นายแพทย์โสภณ เมฆธน อธิบดีกรมควบคุมโรค ผลการสำรวจทัศนคติ ความเห็นของประชาชน DDC Poll ครั้งที่ 12 “ เรื่อง … รู้จักและเข้าใจโรคไข้หวัดใหญ่ 31 มีนาคม 2558.
การควบคุมงานก่อสร้าง ( การทดสอบวัสดุ ). หัวข้อการบรรยาย 1. การเจาะสำรวจชั้นดิน 2. การทดสอบแรงดึงของเหล็ก 3. การทดสอบกำลังอัดของคอนกรีต หมายเหตุ : การบรรยายจะอ้างอิงแบบ.
LOGO กรอบการดำเนินโครงการ ปีงบประมาณ ยุทธศาสตร์ส่งเสริมและพัฒนาสุขภาพจิตเด็กและเยาวชน 7 สิงหาคม 2552.
LOGO แนวทางการดำเนินงานการจัดการศึกษาตาม หลักสูตร การศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ( ปรับปรุง 2559)
ผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน ปีการศึกษา 2557 NT ป.3 O-NET ป. 6 O-NET ม. 3 NT ป.3 O-NET ป. 6 O-NET ม. 3.
สพป. พช.3 ป.3. นักเรียนชั้น ป.3 สังกัด สพฐ. / ตำรวจ ตระเวน ชายแดน ด้านภาษา (Literacy) ด้านคำนวณ (Numeracy) ด้านเหตุผล (Reasoning Abilities) กลุ่มเป้า.
การประชุมเชิงปฏิบัติการ การออกแบบการจัดการเรียนรู้
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
ประชุมผู้บริหารการศึกษา และผู้บริหารสถานศึกษา
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
แผนปฏิบัติการ สพฐ. ปี 2554.
19 พฤศจิกายน 2559 ณ ห้องประชุมสักทอง1
การประเมินความสามารถด้านการอ่าน
โครงการประเมินคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พ.ท.หญิง ญาติมา คุณวัฒน์
เสียงจาก ผู้ให้บริการ พ.ท.หญิง ญาติมา คุณวัฒน์
นโยบายด้านการทดสอบและมาตรฐานด้าน การประเมิน
การประชุมเตรียมความพร้อม การประเมินความสามารถด้านการอ่านของนักเรียน (Reading Test: RT) ชั้นประถมศึกษาที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๖๐ วันที่ 10 พฤศจิกายน 2560.
ข้อมูลและสารสนเทศ Data & Information.
ความหมายของกระดูกหัก
แนวคิดทฤษฎี ที่เกี่ยวกับการประเมินภาคปฏิบัติ
การสร้างเครื่องมือในการวิจัย (Instrument)
บทที่ 8 เครื่องมือการวิจัย
การวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัย
หน่วยที่ 2 การวิเคราะห์ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (NT/O-NET)
การออกแบบการวัดและประเมินผลในชั้นเรียน
กระบวนการตัดสินใจของผู้บริโภค (Consumer’s Decision Making)
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ Lab 03 : แบบสอบถามออนไลน์ (Google Form) พท 260 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ทางการท่องเที่ยว.
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ Lab 03 : แบบสอบถามออนไลน์ (Google Form) ทท101 เทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรมการสื่อสาร ทางการท่องเที่ยว.
วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
การประเมินความสามารถด้านการอ่าน
การทดสอบความสามารถพื้นฐาน ของผู้เรียนระดับชาติ (National Test: NT)
ระบบบริหารการจัดสอบ NT ACCESS.
การสร้างแบบสอบถามออนไลน์
(National Test: NT) การทดสอบความสามารถพื้นฐาน ของผู้เรียนระดับชาติ
ของ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน
แนวคิดเรื่องการรู้สารสนเทศ
ของนักศึกษาระดับชั้น ปวส. พิเศษ 1/5 สาขาการจัดการธุรกิจค้าปลีก
การสร้างข้อสอบตามมาตรฐานและตัวชี้วัดของหลักสูตร
นายดำหริ งิมสันเทียะ ผอ.สพป.อย.1
การดำเนินงานห้องสมุดเฉพาะ และศูนย์สารสนเทศ
รอบสามประเมินกลุ่มตัวบ่งชี้ที่ 1-5)
(National Test: NT) การทดสอบความสามารถพื้นฐานของผู้เรียนระดับชาติ
Network Security : Introduction
พระพุทธศาสนา.
ผลการทดสอบระดับชาติ O-NET,NT 2558
เอกภพ หรือ จักรวาล เอกภพ หรือ จักรวาล (Universe) เป็นระบบที่ใหญ่ที่สุดและไร้ขอบเขต และเป็นห้วงอวกาศที่เต็มไปด้วยดวงดาวจำนวนมหาศาล ซึ่งเราจะเรียกดวงดาวที่เกาะกันเป็นกลุ่มว่า.
นางธนตวรรณ ขวัญแก้ว วิทยาลัยเทคโนโลยีอรรถวิทย์พณิชยการ
เทคนิคการเขียนข้อสอบ
High-Order Systems.
เพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับความหมายของ Meetings
ระบบรายงานข้อมูลการประกันตัวผู้ขับขี่ ร.ย.03 (1)
การพัฒนาทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์
Question & Answer จากการชี้แจงการบันทึกค่า SKF
อ.พรพนา ปัญญาสุข วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ ผู้วิจัย
การสร้างข้อสอบแบบเลือกตอบ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แนวทางการประเมินผลสัมฤทธิ์ ด้วยข้อสอบมาตรฐานกลาง 19/11/55 แนวทางการประเมินผลสัมฤทธิ์ ด้วยข้อสอบมาตรฐานกลาง ปีการศึกษา 2559 นายประพันธ์ หงษ์เจ็ด ผู้อำนวยการกลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษาสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาแพร่ เขต 1

ในปีการศึกษา 2559 คู่มือการจัดสอบ ประเมินคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพผู้เรียน ปีการศึกษา ๒๕๕๗ การประเมินคุณภาพการศึกษา ที่ ศธ.มอบมายให้ สพฐ. ดำเนินการทดสอบร่วมกันกับโรงเรียนทุกสังกัด 1. การอ่านออกเขียนได้ภาคเรียน 2 ป.1- 4 2. การสอบ NT ชั้น ป.3 3 การวัดผลสัมฤทธิ์ด้วยข้อสอบ มาตรฐานกลาง ป.2,ป.4,ป.5, ม.1,ม.2

ในปีการศึกษา 2559 คู่มือการจัดสอบ ประเมินคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพผู้เรียน ปีการศึกษา ๒๕๕๗ การอ่านออกเขียนได้ ภาคเรียน 2 ชั้น ป.1- 4 โดยมอบหมายให้สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา (สพป.) เป็นผู้รับผิดชอบดำเนินการสอบกับโรงเรียน ทุกสังกัด

ในปีการศึกษา 2559 คู่มือการจัดสอบ ประเมินคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพผู้เรียน ปีการศึกษา ๒๕๕๗ การสอบ NT ชั้น ป.3 ดำเนินการสอบกับโรงเรียนทุกสังกัด โดยมอบหมายให้สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา (สพป.) เป็นผู้รับผิดชอบโรงเรียนในสังกัด สพฐ. โรงเรียนเอกชน โรงเรียนสาธิต โรงเรียน ตชด. โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ และโรงเรียนการศึกษาพิเศษ สำนักงานส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นจังหวัด รับผิดชอบโรงเรียนในสังกัด อปท.

การประเมินการอ่านออกเขียนได้ ชั้น ป. 1 – 4 ปีการศึกษา 2559 การประเมินการอ่านออกเขียนได้ ชั้น ป. 1 – 4 ปีการศึกษา 2559 คู่มือการจัดสอบ ประเมินคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพผู้เรียน ปีการศึกษา ๒๕๕๗ กลุ่มเป้าหมาย ประเมินนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ –๔ ทุกคน ทุกสังกัด โดย ภาคเรียนที่ 1 นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ (สพฐ.ทุกคน ต่างสังกัดตามความสมัครใจ) ภาคเรียนที่ 2 ประเมินนักเรียนชั้นประถมศึกษา ปีที่ ๑ – ๔ (ทุกคน ทุกสังกัด)

จุดประสงค์ของการประเมิน การประเมินการอ่านออกเขียนได้ ชั้น ป.1-4 ปีการศึกษา 2559 (ต่อ) จุดประสงค์ของการประเมิน เพื่อตอบโจทย์ของ รัฐบาลและนโยบายเร่งด่วน ปีการศึกษา 2558- 60 เด็กที่จบชั้น ป.1 ต้อง อ่านออกเขียนได้ เพื่อให้ได้ข้อมูลผลประเมินการอ่านเขียนของนักเรียน ซึ่งเป็นตัวชี้วัดในการดำเนินงานพัฒนา ความสามารถในการอ่านออกเขียนได้ เพื่อวิเคราะห์ผลการประเมินเป็นสารสนเทศที่นำไปใช้วางแผนปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพ การอ่านออกเขียนได้ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 – 4 ได้อย่างเหมาะสม เพื่อกำหนดแนวทางการพัฒนาความสามารถในการอ่านออกเขียนได้ ซึ่งเป็นเครื่องมือในการ เรียนรู้ของนักเรียนในชั้นที่สูงขึ้นให้มีความเข้มแข็งและยั่งยืน

ฉบับที่ 2 อ่านรู้เรื่อง การประเมินการอ่านออกเขียนได้ ชั้น ป.1-4 สอบวันที่ 23 – 24 กุมภาพันธ์ 2560 วันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2560 สอบ ป.1 – ป.2 วันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2560 สอบ ป.3 – ป.4 คู่มือการจัดสอบ ประเมินคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพผู้เรียน ปีการศึกษา ๒๕๕๗ ตารางสอบ 08.30 – 11.30 น. พักกลางวัน   13.00 – 13.30 น. 13.30 – 14.30 น. ฉบับที่ 1 อ่านออกเสียง (ภาคปฏิบัติ) ฉบับที่ 2 อ่านรู้เรื่อง (แบบทดสอบ) ฉบับที่ 3 การเขียน

กรอบโครงสร้างแบบทดสอบอ่านออกเขียนได้ ป.1 ภาคเรียนที่ 2 กรอบโครงสร้างแบบทดสอบอ่านออกเขียนได้ ป.1 ภาคเรียนที่ 2 สมรรถนะ  องค์ ประกอบ จำนวนคำ/ จำนวนข้อ รูปแบบ การประเมิน คะนนเต็ม เกณฑ์การให้คะแนน   อ่านออก คำ ประโยค ข้อความ 20 คำ 6 ประโยค (36 คำ) 1 ข้อความ (40 คำ 8 ประโยค) ปฏิบัติจริง 10 12 18 2 : 1 1 : 1 /6 : 1 1 : 1/4 : 1  อ่านรู้เรื่อง 10 คำ/ 5 กลุ่มคำ  6 ประโยค 6 คำถาม 4 ข้อความ 4 คำถาม จับคู่ เลือกตอบ 8 2 : 1/1 : 1 1 : 2 เขียนได้ 5 ประโยค 5 ข้อความ เขียนตามคำบอก เขียนประโยค จากคำที่กำหนด เขียนอิสระ บรรยายภาพ

กรอบโครงสร้างแบบทดสอบอ่านออกเขียนได้ ป. 2   สมรรถนะ องค์ ประกอบ จำนวนคำ/ จำนวนข้อ รูปแบบ การประเมิน คะแนนเต็ม เกณฑ์การให้คะแนน อ่านออก คำ ประโยค ข้อความ 20 คำ 7 ประโยค / 56 คำ 1 ข้อความ /40 คำ ปฏิบัติจริง 10 14 16 2:1 1:1/8:1 1:6/4:1 อ่านรู้เรื่อง 15 คำ 7 ประโยค 8 ข้อความ จับคู่ (15 ข้อ) เลือกตอบ (7 ข้อ) เลือกตอบ(8 ข้อ) 15 7 8 1:1 เขียนได้ 5 ประโยค เขียนอิสระ 1 เรื่อง เขียนตามคำบอก เขียนแต่งประโยค เขียนอิสระ (เขียนเรื่องจากภาพ) 1:2 1:10

กรอบโครงสร้างแบบทดสอบอ่านออกเขียนได้ ป. 3   สมรรถนะ องค์ ประกอบ จำนวนคำ/ จำนวนข้อ รูปแบบ การประเมิน คะแนนเต็ม เกณฑ์การให้คะแนน อ่านออก คำ ประโยค ข้อความ 20 คำ 8 ประโยค 32 คำ 1 ข้อความ 35 คำ ปฏิบัติจริง 10 16 14 2:1 1:1/4:1 1:7/5:1 อ่านรู้เรื่อง 10 คำ 10 ประโยค 5 ข้อความ จับคู่/เลือกตอบ เลือกตอบ(10 ข้อ) 1:1 เขียนได้ คำ ประโยค 5 ประโยค 1 เรื่อง เขียนตามคำบอก เขียนแต่งประโยค เขียนอิสระ (เขียนเรื่องจากภาพ) 1:2 1:10

กรอบโครงสร้างแบบทดสอบอ่านออกเขียนได้ ป. 4   สมรรถนะ  องค์ ประกอบ จำนวนคำ/ จำนวนข้อ รูปแบบ การประเมิน คะแนนเต็ม เกณฑ์การให้คะแนน อ่านออก คำ ประโยค ข้อความ 20 คำ 4 ประโยค /24 คำ 1 ข้อความ /30 คำ ปฏิบัติจริง 5 12 13 4:1 1:1/3:1 1:7/5:1    อ่านรู้เรื่อง 5 คำ/5 ข้อ 5 ประโยค 10 ข้อความ จับคู่ /เลือกตอบ เลือกตอบ(5 ข้อ) เลือกตอบ(10 ข้อ) 10 1:1 1:2 เขียนได้ คำ ประโยค 20 คำ(5 ประโยค) เรียงความ 1 ข้อความ ย่อความ 1 เรื่อง เขียนตามคำบอก เขียนแต่งประโยค เขียนเรียงความ เขียนย่อความ 2:1 1:10

แนวการดำเนินการประเมินการอ่านออกเขียนได้ ปีการศึกษา 2559 คู่มือการจัดสอบ ประเมินคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพผู้เรียน ปีการศึกษา ๒๕๕๗ การเตรียมการก่อนการสอบ 1. การจัดห้องสอบ ให้จัดห้องสอบตามปกติของการจัดสอบ ปลายภาคเรียนของโรงเรียน 2. แต่งตั้งคณะกรรมการ/คณะทำงานชุดต่างๆ ตามความจำเป็น เช่น กรรมการรับ – ส่งแบบทดสอบ กรรมการตรวจกระดาษคำตอบเขียนตอบ กรรมการบันทึกข้อมูลผลการประเมิน กรรมการกำกับการสอบ ห้องสอบละ 3 คน สลับกรรมการอย่างน้อย ๑ คน จากต่างโรงเรียน (สำหรับแบบทดสอบ ฉบับที่ ๑ การอ่านออกเสียง ให้พิจารณาแต่งตั้งกรรมการให้เหมาะสมกับ จำนวนนักเรียนเพื่อให้สอบเสร็จภายในครึ่งวัน ) ฯลฯ

๔. ในการเก็บรักษาแบบทดสอบ หลังจากจัดพิมพ์หรือสำเนาแบบทดสอบแล้ว ให้บรรจุแบบทดสอบลงซองตามห้องสอบปิดผนึกให้มิดชิดเก็บรักษาไว้ในลักษณะเอกสารลับทางราชการ และส่งมอบให้สนามสอบก่อนสอบ 1 วัน

การดำเนินการสอบ กรรมการดำเนินการสอบรับแบบทดสอบก่อน การสอบไม่เกิน 30 นาที และให้ศึกษาและ ทำความเข้าใจวิธีการสอบและเกณฑ์การให้คะแนนการอ่านออกเสียงร่วมกัน กรรมการดำเนินการสอบเปิดซองแบบทดสอบ และตรวจสอบจำนวนแบบทดสอบในแต่ละซองให้ครบตามจำนวนนักเรียนในแต่ละห้องสอบและให้ครบทั้ง 3 ฉบับ โดยตรวจนับก่อนการสอบในแต่ละวิชา

แนวทางการดำเนินการสอบการอ่านออกเขียนได้ แบบทดสอบฉบับที่ 1 การอ่านออกเสียง ให้นักเรียนสอบอ่านออกเสียงเป็นรายบุคคล โดยให้นักเรียน อ่านทีละ 1 คน กรรมการเขียนชื่อ สกุล โรงเรียน ห้องที่ เลขที่ ของนักเรียน ลงในแบบทดสอบสำหรับกรรมการบันทึกคะแนน กรรมการแจกบทอ่านสำหรับนักเรียนให้นักเรียน พร้อมทั้งอธิบาย คำชี้แจงให้นักเรียนเข้าใจ ก่อนลงมืออ่านพร้อมกับจับเวลา (คนละไม่เกิน 10 นาที ) กรรมการใส่เครื่องหมาย  ในช่องคำที่นักเรียนอ่านถูก และใส่เครื่องหมาย × ในช่องคำที่นักเรียนอ่านผิด เมื่อหมดเวลาแล้ว นักเรียนยังอ่านไม่เสร็จ ให้นักเรียนหยุดอ่านทันที กรรมการดำเนินการสอบตรวจสอบความถูกต้องของคำที่นักเรียนอ่านทันที แล้วกรอกข้อมูลลงแบบบันทึกคะแนนอ่านออกเขียนได้ของนักเรียน ตามเกณฑ์การประเมินที่กำหนด ให้นักเรียนคนถัดไปเข้ามาสอบอ่านต่อไป

แนวทางการดำเนินการสอบการอ่านออกเขียนได้ (ต่อ) แบบทดสอบฉบับที่ 2 การอ่านรู้เรื่อง กรรมการแจกแบบทดสอบให้นักเรียนทุกคน และให้นักเรียนเขียนข้อมูลส่วนบุคคล (ชื่อ สกุล โรงเรียน ห้องที่ เลขที่ ลงในแบบทดสอบ กรรมการอ่านคำชี้แจงให้นักเรียนเข้าใจวิธีการทำข้อสอบในแต่ละตอนก่อนลงมือสอบ (เฉพาะชั้นประถมศึกษาปีที่ 1) สำหรับชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 – 4 ให้นักเรียนอ่านคำชี้แจงเอง เมื่อนักเรียนเข้าใจวิธีการทำข้อสอบแล้ว ให้นักเรียนลงมือทำในแบบทดสอบ กรรมการจับเวลา กรรมการบอกเวลา 2 ครั้ง ครั้งที่ 1 เมื่อเวลาสอบผ่านไปแล้วครึ่งหนึ่งของเวลาสอบ ครั้งที่ 2 เมื่อเหลือเวลาสอบ 5 นาทีสุดท้าย เมื่อหมดเวลา ให้นักเรียนวางแบบทดสอบไว้บนโต๊ะ กรรมการเก็บรวบรวมแบบทดสอบเรียงตามลำดับเลขที่สอบ แล้วนำบรรจุใส่ซองและนำส่งกรรมการตรวจให้คะแนนต่อไป

แนวทางการดำเนินการสอบการอ่านออกเขียนได้ (ต่อ) แบบทดสอบฉบับที่ 3 การเขียน กรรมการแจกแบบทดสอบให้นักเรียนทุกคน และให้นักเรียนเขียน ข้อมูลส่วนบุคคล (ชื่อ สกุล โรงเรียนห้องที่ เลขที่) ลงในแบบทดสอบ กรรมการอ่านคำชี้แจงให้นักเรียนเข้าใจวิธีการทำข้อสอบในแต่ละตอน ก่อนลงมือสอบ เริ่มลงมือสอบ ตอนที่ 1 การเขียนตามคำบอก ให้กรรมการอ่านคำที่กำหนดไว้ในแบบทดสอบ ให้นักเรียนเขียนพร้อมกัน โดยแต่ละคำให้กรรมการอ่านซ้ำ 3 ครั้ง โดยให้มีระยะห่างของการอ่าน 10 - 15 วินาทีต่อครั้ง ให้เวลานักเรียนเขียนแต่ละคำ ไม่เกินคำละ 1 นาที เมื่อสอบตอนที่ 1 เสร็จแล้ว ให้นักเรียนลงมือสอบตอนที่ 2 และตอนที่ 3 เริ่มจับเวลาสอบ กรรมการบอกเวลา 2 ครั้ง ครั้งที่ 1 เมื่อเวลาสอบผ่านไปแล้วครึ่งหนึ่งของเวลาสอบ ครั้งที่ 2 เมื่อเหลือเวลาสอบ 5 นาทีสุดท้าย เมื่อหมดเวลา ให้นักเรียนวางแบบทดสอบบนโต๊ะ กรรมการเก็บรวบรวมแบบทดสอบเรียงตามลำดับเลขที่สอบ แล้วนำบรรจุใส่ซองและนำส่งกรรมการตรวจให้คะแนนต่อไป

ข้อควรระวังในการกรอกข้อมูล นักเรียนที่ขาดสอบไม่ต้องกรอกข้อมูล กรณีนักเรียนทำได้ 0 คะแนนในบางตอน ให้กรอกเลข 0 เท่านั้น ห้ามกรอกเครื่องหมายอื่นหรือเว้นว่างไว้ การให้คะแนนนักเรียนให้ยึดตามเกณฑ์ในคู่มือเท่านั้น ห้ามให้คะแนนนอกเหนือจากที่คู่มือกำหนดเช่น บางข้อคะแนนเต็ม 2 และ มีเกณฑ์ให้คะแนนเป็น 0, 1, 2 แต่มีบางท่านให้คะแนน 1.5 ซึ่งไม่มีในเกณฑ์ที่กำหนด ถ้าเกิดกรณีดังกล่าวส่วนกลางจะถือว่าข้อมูลเกิดความคลาดเคลื่อน และตัด ข้อมูลดังกล่าวออกจากการประมวลผลภาพรวม หลังจากกรอกข้อมูลคะแนนสอบเสร็จเรียบร้อยแล้ว ให้ดำเนินการตรวจทานการกรอกคะแนนอีกครั้ง

(National Test: NT) การทดสอบความสามารถพื้นฐาน ของผู้เรียนระดับชาติ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2559

ภาษา (Literacy) การคิดคำนวณ (Numeracy) NT ป.3 เหตุผล (Reasoning Ability)

วันพุธที่ 8 มีนาคม 2560 วันสอบ วันจันทร์ที่ 24 เมษายน 2560 ประกาศผล

การดำเนินงานจัดสอบ NT การแต่งตั้งกรรมการ งบประมาณในการดำเนินงาน การจัดส่งข้อมูลนักเรียน การรับส่งข้อสอบและเฉลย การบริหารจัดการสอบ การประมวลผล การรายงานผลการสอบ

รูปแบบการบริหารจัดการ NT คณะกรรมการอำนวยการระดับ สพฐ. คณะอนุกรรมการอำนวยการระดับจังหวัด คณะอนุกรรมการอำนวยการระดับเขตพื้นที่ เขตพื้นที่การศึกษา รร.ตชด. รร.อปท./เทศบาล/ กทม./พัทยา รร.สพฐ. รร.เอกชน รร.สาธิต

การวัดผลสัมฤทธิ์ ด้วยข้อสอบมาตรฐานกลาง ชั้น ป.2, ป.4, ป.5, ม.1, ม.2 สพฐ. มอบหมายให้ สพป./สพม.ดำเนินการสอบกับโรงเรียนสังกัด สพฐ. โรงเรียนในสังกัดอื่น ตามความสมัครใจ คู่มือการจัดสอบ ประเมินคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพผู้เรียน ปีการศึกษา ๒๕๕๗

จุดประสงค์การประเมิน 1. เพื่อให้ครูและโรงเรียนใช้เครื่องมือที่มีคุณภาพและมาตรฐานตามหลักสูตรในการประเมินและ ได้เห็นตัวอย่างของเครื่องมือที่มีคุณภาพและมาตรฐาน 2.เพื่อให้โรงเรียนนำผลการประเมินมาใช้ในการพัฒนาและปรับปรุงกระบวนการจัดการเรียนการสอนให้บรรลุมาตรฐาน ตัวชี้วัดสำคัญในหลักสูตร และเน้นให้ผู้เรียนใช้ทักษะการคิดขั้นสูง 3. เพื่อให้เขตพื้นที่การศึกษาใช้เครื่องมือที่มีคุณภาพและมาตรฐานตามหลักสูตรในการประเมิน และนำผลการประเมินมาใช้ในการนิเทศ ติดตาม และสนับสนุนกระบวนการจัดการเรียนการสอน

กลุ่มสาระการเรียนรู้ เครื่องมือที่ใช้ในการประเมิน ระดับชั้น กลุ่มสาระการเรียนรู้ จำนวนข้อ คะแนนเต็ม เวลานาที ป.2 ภาษาไทย 25 60 50 ป.4 100 คณิตศาสตร์ 30 90 วิทยาศาสตร์ ป.5 40 ม.1 30๐ 120 สังคมศึกษาศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 45 ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) ม.2 กลุ่มเป้าหมาย นักเรียนระดับชั้น ประถมศึกษาปีที่ ๒, ๔ ,๕ และชั้น มัธยมศึกษาปีที่ ๑ – ๒ ปีการศึกษา ๒๕๕๙ ทุกคนในทุกโรงเรียนซึ่งอยู่ในทุกสังกัด

รูปแบบของแบบทดสอบ ในปีการศึกษา 2559 มี 5 รูปแบบ แบบเลือกตอบ 1 คำตอบ (Multiple choice) แบบเลือกตอบเชิงซ้อน (Complex Multiple Choices) แบบเลือกตอบหลายคำตอบ ( Multiple Response) แบบสร้างคำตอบแบบปิด/สร้างคำตอบสั้น ๆ (Closed construct/Short answer) แบบขยายคำตอบ/ไม่จำกัดคำตอบ /สร้างคำตอบอิสระ (extended-response question)

แนวการให้บริการข้อสอบกลาง ปีการศึกษา 2559 คู่มือการจัดสอบ ประเมินคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพผู้เรียน ปีการศึกษา ๒๕๕๗ ใช้ข้อสอบกลางร้อยละ 20 ของคะแนนสอบปลายภาคเรียนที่ 2 ในระดับชั้น ป.2 ภาษาไทย ป.4 ป.5 ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ม.1 ม.2 ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษา ภาษาอังกฤษ สพฐ. ส่งข้อสอบโดย จัดชุดข้อสอบตามกรอบโครงสร้างให้ 1 ฉบับ เพื่อให้เขตพื้นที่บริการข้อสอบให้กับโรงเรียนที่จะดำเนินการทดสอบ กำหนดช่วงเวลาการดำเนินการจัดสอบ (วันที่ 27 ก.พ. – 3 มี.ค. 2560)

แนวทางการประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้วยข้อสอบมาตรฐานกลาง 1. คู่มือการประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้วยข้อสอบมาตรฐานกลางปีการศึกษา ๒๕๕๙ (กรอบโครงสร้างแบบทดสอบพร้อมข้อสอบในตัวชี้วัดที่สำคัญในแต่ละระดับชั้นและกลุ่มสาระการเรียนรู้ละ ๑ ฉบับ) 2. เขตพื้นที่การศึกษาแต่งตั้งคณะกรรมการต่างๆ ตามความจำเป็นเพื่อดำเนินการประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้วยข้อสอบมาตรฐานกลางให้ได้มาตรฐาน (การจัดทำสำเนาแบบทดสอบให้โรงเรียน การกำกับ การสอบ (ควรมีการสลับกรรมการกำกับห้องสอบโดยอาจสลับจากต่างระดับชั้น /กรรมการไม่ควรกำกับห้องที่ตนเองสอน) เป็นต้น) 3. กำหนดตารางการสอบระหว่าง วันที่ 27 ก.พ. – 3 มี.ค. 60 ตามความพร้อมของโรงเรียน อาจให้กำหนดการสอบเป็นเนื้อเดียวไปกับการจัด สอบปลายภาคเรียนที่ 2 ของโรงเรียน

4. จัดพิมพ์ข้อสอบให้เพียงพอกับจำนวนนักเรียน * เขตพื้นที่การศึกษาจัดทำแผ่นซีดีข้อทดสอบแจกให้โรงเรียนที่จะทำการทดสอบ * โรงเรียนหรือกลุ่มเครือข่ายจัดพิมพ์ข้อสอบ * ต้องส่งแบบเอกสารลับทางราชการ * ห้ามส่งโดยไม่มีระบบป้องกันความปลอดภัยของต้นฉบับ หรือ ห้ามส่งโดยการให้ดาวน์โหลดข้อสอบผ่านเว็บ 5. ดำเนินการจัดสอบ 6. กำกับ ติดตาม การสอบในวันสอบตามที่กำหนด 7. ผลสอบของนักเรียนแต่ละคนคิดเป็นร้อยละ ๒๐ ของคะแนนสอบปลายภาคเรียน 8. เขตพื้นที่การศึกษาจะต้องส่งรายงานผลการประเมินในภาพรวมของเขตฯ และจัดทำแบบบันทึกคำตอบรายข้อและคะแนนของนักเรียนรายคนในแต่ละชั้นที่จัดสอบ

ไปใช้ในการตัดสินผลการเรียน การนำผลการทดสอบ โดยใช้ข้อสอบกลาง ไปใช้ในการตัดสินผลการเรียน

คะแนนสอบปลายภาค (ร้อยละ 40) กรณีที่ 1 โรงเรียนกำหนดสัดส่วนคะแนนระหว่างเรียนกับ คะแนนสอบปลายปี เป็น 70:30 คะแนนจากการวัดและประเมินผลระหว่างภาคเรียน (ร้อยละ 70) คะแนนสอบปลายภาค (ร้อยละ 30) - คะแนนจิตพิสัย - คะแนนสอบท้ายบท/กลางภาค - คะแนนตรวจงาน/โครงการ - คะแนนสอบภาคปฏิบัติ ฯลฯ ข้อสอบของส่วนกลาง (สพฐ.) (ร้อยละ 20) ข้อสอบของสถานศึกษา (ร้อยละ 80) กรณีที่ 2 โรงเรียนกำหนดสัดส่วนคะแนนระหว่างเรียนกับคะแนนสอบปลายปีเป็น 60:40 คะแนนจากการวัดและประเมินผลระหว่างภาคเรียน (ร้อยละ 60) คะแนนสอบปลายภาค (ร้อยละ 40) - คะแนนจิตพิสัย - คะแนนสอบท้ายบท/กลางภาค - คะแนนตรวจงาน/โครงการ - คะแนนสอบภาคปฏิบัติ ฯลฯ ข้อสอบของส่วนกลาง (สพฐ.) (ร้อยละ 20) ข้อสอบของสถานศึกษา (ร้อยละ 80)