การวิจัยในชั้นเรียน กศน
วิธีการร่วมกับชุมชนแบบมีส่วนร่วม การเรียนรู้อดีต ศึกษาปัจจุบัน เพื่อนำไปกำหนดอนาคตร่วมกัน ชุมชนต้องการสร้างชุมชนแบบไหน โดยเน้นไปที่การศึกษาภูมิปัญญาของพื้นที่ แล้วสร้างมูลค่าเพิ่ม นำมาใส่เทคโนโลยี แปรเปลี่ยนให้เป็นเรื่องของอาชีพ ใช้หลัก บวร กระบวนการเรียนรู้ในการจัดเก็บข้อมูลในพื้นที่ นายสุรพงษ์ จำจด เลขาธิการ กศน.
Action Research Action Research คือ การวิจัยที่มีเป้าหมายเพื่อนำผลไปใช้ปฏิบัติงานจริงเพราะเป็นการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน โดยมีครูเป็นผู้ทำการวิจัย จึงเรียกว่า การวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน [Classroom Action Research : CAR]
ข้อจำกัดของการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน การวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียนนั้นไม่ควรทำวิจัยคนเดียวแต่ควรแสวงหาความร่วมมือจากคณะครูในโรงเรียน ผู้บริหาร เจ้าหน้าที่ นักเรียน ผู้ปกครอง และชุมชน หรือเป็นการวิจัยทั้งโรงเรียน การวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน เป็นการวิจัยปฏิบัติการเพื่อนำผลไปใช้ ดังนั้นจึงต้องทำวิจัยอย่างต่อเนื่องหรือสม่ำเสมอ คือเป็นกระบวนการที่ควรทำอย่างไม่สิ้นสุด เพราะเป็นการพัฒนาผู้เรียน อีกทั้งพัฒนาตัวครูเองไปตลอด การวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียนเป็นการศึกษากลุ่มเป้าหมายผู้เรียนที่ครูรับผิดชอบในสภาพแวดล้อมของโรงเรียนนั้น จึงไม่สามารถสรุปอ้างอิงไปยังประชากรเป้าหมายอื่น แต่อย่างไรก็ตามครูนักเรียนก็มีโอกาสที่จะพัฒนาเป็นความรู้ที่สามารถสรุปอ้างอิงได้ต่อไป
การจัดการเรียนรู้ กับ การวิจัยในชั้นเรียน
Identify Share Diagnose Solve Problem Share Diagnose Solve
ลักษณะของการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน
ความหมายการวิจัยชั้นเรียน ใคร ครู ทำอะไร เก็บข้อมูลและหาวิธีการแก้ปัญหา ที่ไหน ตามสภาพที่เกิดขึ้นจริงในชั้นเรียน
อย่างไร เมื่อไหร่ เพื่ออะไร ด้วยกระบวนการวิจัยที่เชื่อถือได้ ในขณะจัดการเรียนการสอน อย่างไร ด้วยกระบวนการวิจัยที่เชื่อถือได้ แก้ไข ปรับปรุง เปลี่ยนแปลง พัฒนา เพิ่มพูน เพื่ออะไร การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน การพัฒนาหลักสูตร เกี่ยวกับอะไร
ควรจะทำงานวิจัยชั้นเรียน เรื่องอะไรบ้าง? ใน 1 ภาคเรียนท่านคิดว่าครู ควรจะทำงานวิจัยชั้นเรียน กี่เรื่อง ? เรื่องอะไรบ้าง?
CAR ในความเป็นไปได้... 4 เรื่อง...? 1: รู้จักผู้เรียนเป็นรายบุคคล 2: การประเมินเพื่อพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้ 3: กรณีศึกษานักเรียน 4: ID – Plan สู่การพัฒนานวัตกรรม
ประเภทของการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน การวิจัยปฏิบัติการ ในชั้นเรียน เข้าใจ เข้าใจเรื่องนักเรียนกำลังสนใจอยู่ เข้าใจวิธีการเรียนรู้ของนักเรียนที่ต่างกัน พัฒนา พัฒนาการทำงานร่วมกันเป็นกลุ่ม พัฒนาทักษะการอ่านออกเสียง แก้ปัญหา แก้ปัญหาการหนีเรียน แก้ปัญหาการใช้เครื่องมือทดลองวิทยาศาสตร์ไม่ถูกตอง การวิจัยปฏิบัติการ ในชั้นเรียน
ลักษณะการวิจัยในกลุ่มเรียน เป็นการวิจัยจากปัญหาที่เกิดขึ้นในกลุ่มเรียนเกี่ยวกับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ทำการวิจัยเพื่อนำผลวิจัยไปพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ทำการวิจัยควบคู่กับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
แนวคิดการวิจัยกลุ่มเรียนแบบง่าย เป็นการพัฒนาผู้เรียนอย่างเป็นระบบ เชื่อถือได้ ดำเนินการในสภาพการทำงานตามปกติของครูโดยครูเป็นผู้วิจัย
หลักการการวิจัยกลุ่มเรียน เป็นกระบวนการแก้ปัญหา และ พัฒนาคุณภาพการศึกษา โดยมีเป้าหมายที่สำคัญคือ การพัฒนาผู้เรียน การวิจัยในกลุ่มเรียน มุ่งแก้ปัญหาที่เป็นปัญหาที่เกิดจากการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในกลุ่มเรียน การวิจัยเพื่อสร้างและพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียน และพัฒนานวัตกรรมเทคโนโลยีทางการศึกษา และองค์ความรู้ในศาสตร์สาขาต่าง ๆ
ขอบเขตการทำวิจัยในกลุ่มเรียน ใช้ศึกษาในกลุ่มเรียนใดกลุ่มเรียนหนึ่งและมีเป้าหมายคือการพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้ เป็นการวิจัยโดยครูในกลุ่มเรียนกับผู้เรียนเพื่อแก้ปัญหาหรือพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในกลุ่มเรียน ที่ครูรับผิดชอบ
กระบวนการจัดทำการวิจัยในกลุ่มเรียน การวิเคราะห์ปัญหาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ การศึกษาแนวคิด ทฤษฎี งานวิจัย ที่เกี่ยวข้อง การพัฒนานวัตกรรมทางการศึกษา การออกแบบการทดลอง การสร้างและพัฒนาเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล การทดลอง รวบรวม วิเคราะห์ และสรุปผลข้อมูล การเขียนรายงานการวิจัยในกลุ่มเรียน การนำผลการวิจัยไปใช้
1. การวิเคราะห์ปัญหาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ความหมายของปัญหา ปัญหาคือความแตกต่างระหว่างสิ่งที่คาดหวังหรือ ผลที่ต้องการให้เกิด ที่มาของปัญหาการวิจัยในกลุ่มเรียน มาจากสภาพการปฏิบัติงานของครู เช่น สภาพการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ การใช้สื่อประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ วิธีการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ใช้ในวิชาต่าง ๆ พฤติกรรมของผู้เรียนที่เป็นปัญหาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ผลสัมฤทธิ์ตามจุดประสงค์ในรายวิชา
ตัวอย่างการวิเคราะห์สาเหตุของปัญหาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ แบบผังก้างปลา (The Fish Bone) สาเหตุใหญ่ สาเหตุใหญ่ สาเหตุย่อย ๆ สาเหตุย่อย สาเหตุย่อย สาเหตุย่อย ๆ สาเหตุย่อย ๆ ข้อความปัญหา สาเหตุย่อย ๆ สาเหตุย่อย ๆ สาเหตุย่อย สาเหตุย่อย สาเหตุย่อย ๆ สาเหตุใหญ่ สาเหตุใหญ่
ขอบเขตของการทำวิจัยในชั้นเรียน แก้ปัญหาหรือพัฒนาการเรียนการสอน ในชั้นเรียนเท่านั้น
มองประเด็นให้ออก 1.มีอะไรเกิดขึ้นในชั้นเรียนของท่าน 2.สิ่งนั้นก่อให้เกิดปัญหาอย่างไร 3.ทำไมจึงเป็นเช่นนั้น เหตุใดจึงไม่เป็นไปตาม ที่ควรจะเป็น 4.ท่านในฐานะผู้สอนสามารถทำอะไรได้บ้าง
พุทธิพิสัย - ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ปัญหาการเรียนการสอน พุทธิพิสัย - ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน จิตพิสัย - พฤติกรรม ทักษะพิสัย - ความชำนาญ รวดเร็ว
ขอบเขตของการทำวิจัยในชั้นเรียน 1. เน้นการแก้ปัญหาจากบางส่วนในรายวิชา 2. ไม่เน้นการสรุปอ้างอิงไปยังกลุ่มอื่น 3. ไม่เน้นการสุ่มตัวอย่าง
สรุปหลักการสำคัญของการวิจัยในชั้นเรียน [อริยสัจ 4] + (การประเมิน) สรุปหลักการสำคัญของการวิจัยในชั้นเรียน [อริยสัจ 4] + (การประเมิน) ทุกข์ : ปัญหา (ความไม่สบายกาย ไม่สบายใจ) สมุทัย : สาเหตุของปัญหา (เหตุให้ทุกข์เกิด) นิโรธ : วิธีการที่ใช้แก้ปัญหา (ความดับทุกข์) มรรค : วิธีการที่เหมาะสมที่ใช้แก้ปัญหา (ข้อปฏิบัติให้ถึงความดับทุกข์) การประเมิน : ดูผลการแก้ปัญหาที่ทำไปแล้วว่าได้รับความสำเร็จ มากน้อยเพียงใด
วงจรการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน P R A O ศ.ดร.สุวิมล ว่องวาณิช
กิจกรรมที่ 1 ขอให้ท่านอาจารย์ทุกท่าน พิจารณาย้อนหลังดูว่าในรอบ 1 ปีที่ผ่านมา ท่านภาคภูมิใจกับผลสำเร็จในการแก้ปัญหาจากนักเรียนในชั้นเรียนของท่านมีอะไรบ้าง เสนอมา 3 รายการ 1. ………………………………………… 2. …………………………………………. 3. ………………………………………. ในจำนวน 3 ข้อนี้ ข้อที่ท่านภาคภูมิใจมากที่สุด คือ ข้อ ………….....
กิจกรรมที่ 2 จากผลการแก้ปัญหานักเรียนในชั้นเรียนของท่าน ข้อที่ท่านภาคภูมิใจมากที่สุด ในกิจกรรมที่ 1 ให้ท่านเขียนรายละเอียดตามหัวข้อ ดังนี้ 1. สภาพปัญหา (ปัญหาที่ท่านพบในห้องเรียนของท่าน ก่อนมีการแก้ปัญหา)…………………………………………….. 2. วิธีการที่ท่านนำมาใช้ในการแก้ปัญหา (ท่านทำอย่างไรจึงสามารถแก้ปัญหานั้นได้ สำเร็จ)………………………………………….. 3. รู้ได้อย่างไรว่าวิธีการที่ท่านนำมาใช้สามารถแก้ปัญหาได้สำเร็จ (มีคะแนน หรือตัวบ่งชี้อะไรที่สามารถบอกได้ชัดเจน)….................
กิจกรรมที่ 3 ให้ท่านนำความสำเร็จจากกิจกรรมที่ 2 มาเขียนรายละเอียด ดังนี้ หัวข้องานที่ท่านทำได้ประสบความสำเร็จ................................ สภาพปัญหาก่อนการแก้ปัญหา................................................ จุดมุ่งหมายที่ต้องการแก้ปัญหา................................................ วิธีการที่ท่านนำมาใช้ในการแก้ปัญหา..................................... กลุ่ม(นักเรียน)เป้าหมายที่ท่านต้องการแก้ปัญหา.................... วิธีการที่ใช้วัดผลสำเร็จในการแก้ปัญหา................................. 7. สรุปผลการแก้ปัญหา.............................................................
ลักษณะที่ดีของการวิจัยในชั้นเรียน เน้นคำถามวิจัยแบบ know how, know why มากกว่า know what เป็นการวิจัยที่สร้างนวัตกรรมการเรียนการสอนมากกว่าการศึกษาสภาพปัญหาหรือวิเคราะห์สาเหตุ ควรมีการทำวิจัยเป็นทีมเพื่อพัฒนาผู้เรียนแบบองค์รวม
ขอให้ท่านภาคภูมิใจกับผลงานของท่าน ท่านได้ทำวิจัยในชั้นเรียนเสร็จไป 1 เรื่องแล้ว ขอแสดงความยินดีด้วยครับ ผมขอให้มีกำลังใจในการทำเรื่องอื่น ๆ ต่อไป
ทำไมจึงทำวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน การเขียนรายงานการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียนแบบธรรมดา หรือไม่เป็นเชิงวิชาการโดยคำนึงถึงสิ่งต่อไปนี้ ทำไมจึงทำวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน ทำอะไร ทำอย่างไร วิเคราะห์ข้อมูลอย่างไร ได้ผลเป็นอย่างไร
สมรรถภาพครูนักวิจัย เครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูล ความสามารถใช้กระบวนการวิจัย ในชั้นเรียนอย่างง่าย ความสามารถในการพัฒนา คุณภาพงานด้วยวงจร PDCA ความสามารถใช้นวัตกรรมการศึกษาเพื่อพัฒนากระบวนการเรียนรู้ มีจรรยาบรรณของความเป็นครูนักวิจัย ความสามารถในการเขียนรายงานที่สามารถสื่อความหมาย ความสามารถในการวิเคราะห์ข้อมูลและสรุปผล ความสามารถสร้างเครื่องมือวิจัยอย่างง่าย เครื่องมือทดลอง (แผนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ) เครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูล
แผนภูมิแสดงขั้นตอนการทำวิจัยในชั้นเรียน 1. กำหนดปัญหาและความต้องการ 2. แนวทางแก้ไขและพัฒนา 3. ดำเนินการแก้ไขและพัฒนา 4. สรุปรายงาน 1.1 ปัญหาและความต้องการได้จาก พัฒนานวัตกรรมเพื่อ แก้ปัญหา/พัฒนา การดำเนินการ - กำหนดเป้าหมายจะ ดำเนินการกับใคร อย่างไร ที่ไหน เมื่อไร สรุปรายงาน การสังเกตพฤติกรรม น.ร. การสัมภาษณ์ การทดสอบและประเมินผล การตรวจผลงาน น.ร. ฯลฯ - นำเสนอตั้งแต่ เริ่มต้นพัฒนา - ผล - ได้ผลนำผลไป เผยแพร่ - ไม่ได้ผล หาแนวทาง ใหม่เพื่อปรับปรุง พัฒนา - ข้อเสนอแนะ/ ปัญหา/ อุปสรรค 2.1 นวัตกรรมที่เป็นวิธีการ เช่น - วิธีสอนแบบใหม่หรือที่คิดค้นขึ้นปฏิบัติ - วิธีการสอนซ่อมเสริม แนวปฏิบัติอื่น ๆ - วางแผน กำหนดปฏิทิน - ดำเนินการ 1.2 วิเคราะห์ปัญหา/ความต้องการ - จัดลำดับความสำคัญ - หาสาเหตุของปัญหา - ประเมินผล - บันทึกผล 2.2 นวัตกรรมที่เป็นสื่อ เช่น - บทเรียนสำเร็จรูป - ชุดการสอน - กิจกรรม เกม - ชุดฝึก สไลด์, V.D.O - คู่มือการจัดกิจกรรม - หนังสืออ่านเพิ่มเติม ฯลฯ 1.3 กำหนดทางเลือก - กำหนดทางเลือกอย่าง หลากหลาย - เลือกทางเลือกที่เหมาะสมเพื่อ นำไปปฏิบัติ
ความสัมพันธ์กระบวนการเรียนการสอนกับกระบวนการวิจัย ความสัมพันธ์ระหว่าง กระบวนการเรียน การสอน กระบวนการวิจัย การวางแผนการวิจัย วางแผนการสอน ปฏิบัติการแก้ไขพัฒนา จัดกิจกรรมการ เรียนการสอน พบปัญหาการ เรียนรู้ สังเกตเก็บรวบรวม ข้อมูล ประเมินผล การเรียนรู้ สะท้อนความคิด ความรู้สึกต่อผลการวิจัย วิเคราะห์ผล การเรียนรู้ นำผลการวิจัยไปใช้ ปรับปรุงและพัฒนา เขียนรายงานการวิจัย
การเขียนรายงานการวิจัยในชั้นเรียน รูปแบบการเขียนรายงานวิจัยในชั้นเรียน รูปแบบไม่เน้นวิชาการ รูปแบบกึ่งวิชาการ รูปแบบวิชาการ - นำเสนอเนื้อหาโดนสรุปสั้น ๆเพียง 1-2 หน้า ปัญหาที่ต้องแก้หรือพัฒนา วิธีการแก้ไขหรือพัฒนา ผลการแก้ไขหรือผลการวิจัย - นำเสนอการสะท้อนผลการวิจัยต่อไปนี้ . ชื่อเรื่องวิจัย . ความสำคัญของปัญหาวิจัย . ปัญหาวิจัย . วัตถุประสงค์ของการวิจัย . วิธีดำเนินการวิจัย . ผลการวิจัย . สรุป/สะท้อนผลการวิจัย - ประกอบด้วยส่วนนำ ส่วน เนื้อหา และส่วนอ้างอิง - เนื้อหามี 5 บท คือ บทที่ 1 บทนำ บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่ เกี่ยวข้อง บทที่ 3 วิธีดำเนินการวิจัย บทที่ 4 ผลวิเคราะห์ข้อมูล บทที่ 5 สรุป อภิปรายและ ข้อเสนอแนะ - ส่วนอ้างอิง คือ บรรณานุกรมและภาคผนวก
การวิจัยในชั้นเรียนกับการวิจัยทางการศึกษา ตารางเปรียบเทียบการวิจัยการศึกษากับการวิจัยในชั้นเรียน รายการ วิจัยการศึกษา วิจัยในชั้นเรียน จุดมุ่งหมาย จุดเริ่มต้น จุดแข็ง จุดอ่อน มุมมอง ผลสรุป หน่วยการวิเคราะห์ วิธีการที่เหมือนกัน หรือต่างกัน ครอบคลุมพัฒนาการศึกษา จากทฤษฎีทางการศึกษา ทดสอบทฤษฎีทางการศึกษาและผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง นักวิจัยขาดประสบการณ์ จากนอกโรงเรียนมองครู ทฤษฎีการศึกษา ห้องเรียนหรือโรงเรียนมากกว่า 1 หน่วย การหาคำอย่างมีระบบหรือน่าเชื่อถือ ประชากรมากต้องสุ่มตัวอย่าง เน้นการใช้สถิติเพื่ออ้างอิง พัฒนาเฉพาะการเรียนการสอน การปฏิบัติงานของครูโดยปกติ พาดพิงทฤษฎีการศึกษา ครูผู้สอนขาดทักษะการวิจัย จากครูในห้องเรียนสู่ภายนอก ทฤษฎีและประสบการณ์ของครูผู้สอนโดยตรง ครู/นักเรียน/โรงเรียนเพียง 1 หน่วย สามารถอธิบายปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นในชั้นเรียนและวิธีพัฒนานักเรียนในชั้นเรียน ไม่ต้องสุ่มตัวอย่าง ไม่เน้นสถิติใช้การอธิบายคุณลักษณะ มากกว่าการคำนวณ เพิ่มประเด็นสำคัญทางประวัติศาสตร์ของประเทศของคุณลงบนเส้นแบ่งเวลา
จุดเน้น วิจัยการศึกษา วิจัยในชั้นเรียน ปัญหาที่ต้องวิจัย ผลที่ได้จากทฤษฎีสู่การปฏิบัติ ปริมาณข้อมูลยิ่งมากยิ่งดี คุณภาพการสุ่มตัวอย่างพยายามให้คลาดเคลื่อนน้อยที่สุด ปัญหาในชั้นเรียน จากปฏิบัติสู่ทฤษฎี ปริมาณนวัตกรรมที่ สามารถใช้แก้ปัญหา หรือพัฒนาได้ คุณภาพของนวัตกรรม ที่ผ่านการทดลองและ ปรับปรุง แทรกภาพที่แสดงขนบธรรมเนียมและประเพณีที่นี่
การวิจัย (Research) การวิจัย (Research) หมายถึง กระบวนการค้นคว้าหาข้อมูล หาคำตอบ การแก้ปัญหา โดยวิธีการที่เป็นระบบ หรือวิธีการทางวิทยาศาสตร์ หรือวิธีการที่เชื่อถือได้ การวิจัยกลุ่มเรียน คือกิจกรรมที่เกิดขึ้นระหว่างครูและผู้เรียน ในขณะจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เป็นกิจกรรมเพื่อหาวิธีการแก้ปัญหา นำไปทดลองใช้จนได้ผล และพัฒนาเป็นนวัตกรรม สามารถนำไปเผยแพร่ได้
การวิจัย “การค้นคว้าหาคำตอบ ข้อสงสัย หรือปัญหา อย่างมีระบบ เพื่อให้ได้มาซึ่งคำตอบ/ความรู้ ที่เชื่อถือได้” ? ได้คำตอบ ได้ความรู้ ข้อสงสัย
แบ่งตามเกณฑ์การใช้ข้อมูล การวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) เป็นการวิจัยที่อาศัย ข้อมูลเชิงปริมาณ มีการวิเคราะห์โดยใช้วิธีการทางสถิติในการ วิเคราะห์ และสรุปผลการวิจัยจากผลการวิเคราะห์นี้ การวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) เป็นการวิจัยที่อาศัย ข้อมูลเชิงคุณภาพ โดยเก็บข้อมูลโดยการสังเกต บันทึก วิพากษ์วิจารณ์ แสดงความคิดเห็นแล้วสรุปอธิบาย หรือบรรยาย ด้วยถ้อยคำ
ลำดับขั้นของการวิจัย : ฐานรากของการพัฒนา การค้นหา การควบคุม วิธีที่จะทำให้สำเร็จ การทำนาย/พยากรณ์ การค้นหาทางจะทำให้ดี การอธิบายเชิงเหตุ-ผล การค้นหาสิ่งที่ดี เป็นประโยชน์ บรรยายปรากฏการณ์ที่สนใจ การค้นหาความรู้, ความจริง กระบวนการวิจัยที่เที่ยงตรงและเชื่อถือได้
มโนทัศน์ของการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
ผู้เรียนมีความสำคัญที่สุด การจัดการเรียนการสอนจึงเน้นไปที่ผู้เรียนเป็นหลัก ครู เปลี่ยนมโนทัศน์ (concept) เกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอน ครูมีบทบาทเป็นนักวิจัย (teacher researcher) การวิจัยลักษณะนี้เป็นการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ หรือการวิจัยในชั้นเรียน
มโนทัศน์ของการจัดการเรียนการสอน มโนทัศน์เดิม มโนทัศน์ใหม่ การจัดการเรียน การสอน/กระบวนการ เรียนรู้ การวิจัย ครู นักวิจัย ครูนักวิจัย การจัดการเรียน การสอน/กระบวนการ เรียนรู้
สิ่งที่นักวิจัยต้องระมัดระวัง คือ จะรู้หรือยืนยันได้อย่างไรว่าสิ่งที่ เรารู้มานี้เป็นความจริง
Post It Activity ท่านคิดว่า “การวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน คืออะไร ? What is Classroom Action Research ? เขียนคำตอบลงในกระดาษ Post it 1 ใบ/คำตอบ จัดกลุ่มคำตอบ เช่น การวิจัย 5 บท การวิจัยหน้าเดียว การวิจัยเพื่อสร้างนวัตกรรม การวิจัยเพื่อแก้ปัญหาของผู้เรียนและผู้สอน
Classroom Action Research CAR : คา Classroom Action Research
การวิจัยเชิงปฏิบัติการ การปฏิบัติ + การนำแผนไปทดลองปฏิบัติ ในสถานการณ์จริงเพื่อยืนยันผล การหาคำตอบอย่างมีแบบแผน ที่ยอมรับกันเพื่อให้ได้คำตอบ ที่เชื่อถือได้ การวิจัยเชิงปฏิบัติการ การวิจัยเพื่อตอบปัญหาเกี่ยวกับงานที่ตนทำ เพื่อให้เข้าใจงานที่ทำ เพื่อปรับปรุงพัฒนางานของตน เจ้าของงาน ทำวิจัยเอง (อาจร่วมกับผู้เกี่ยวข้อง)
Contextual Analysis
ขั้นตอนการวิจัยโดยทั่วไป ขั้นกำหนดปัญหาที่ต้องการคำตอบ จากกรอบความรู้ข้อมูลที่มีอยู่ ขั้นออกแบบวิธีการศึกษา และสร้างสมมุติฐานที่เป็นไปได้ ขั้นเก็บรวบรวมข้อมูล ขั้นวิเคราะห์ข้อมูล ขั้นสรุปผล และขยายผลการศึกษา
“การวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน (Classroom Action Research) คือ การวิจัยที่ทำโดยครูผู้สอนในชั้นเรียน เพื่อแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นในชั้นเรียน และนำผลมาใช้ในการปรับปรุงการเรียนการสอน หรือ ส่งเสริมพัฒนาการเรียนรู้ ของผู้เรียนให้ดียิ่งขึ้น ทั้งนี้เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดกับผู้เรียน (สุวิมล ว่องวานิช, 2555)
การวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน [Classroom Action Research] เป็นกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ที่เป็นระบบ ทำโดยครู (หรือคนอื่นๆ ที่อยู่ในบริบททางการศึกษา) เพื่อรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับวิธีดำเนินงานของโรงเรียน วิธีสอนของครู และวิธีการเรียนรู้ของนักเรียน ข้อมูลเหล่านี้ถูกรวบรวมด้วยเป้าหมายที่จะเพิ่มพูนความรู้ พัฒนาการปฏิบัติงานที่สะท้อนความคิดเห็น ให้ผลการเปลี่ยนแปลงทางบวกกับสภาพแวดล้อมโรงเรียน ตลอดจนปรับปรุงผลการเรียนรู้ของนักเรียน และพัฒนาบุคลากรที่เกี่ยวข้อง (ศ.ดร.วรรณทิพา รอดแรงค้า, 2556)
การวิจัย/ การสืบเสาะหาความรู้ที่เป็นระบบ Key Words CAR การวิจัย/ การสืบเสาะหาความรู้ที่เป็นระบบ ทำโดยครูผู้สอน (หรือ บุคคลที่เกี่ยวข้อง) เก็บข้อมูล/แก้ปัญหาที่เกิดในชั้นเรียน วิธีสอนของครู หรือ วิธีการเรียนรู้ของเด็ก ปรับปรุงการเรียนการสอน/พัฒนาการปฏิบัติงาน ส่งเสริมพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียน
เปรียบเทียบการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน กับการวิจัยเชิงวิชาการ (ดร.ชนะศึก นิชานนท์, 2556) ประเด็น การวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน (Classroom Action Research) การวิจัยเชิงวิชาการ (Academic Research) 1.เป้าหมาย มุ่งสร้างความรู้เฉพาะเพื่อใช้ ในห้องเรียนของครูผู้วิจัย มุ่งสร้างข้อความรู้ทั่วไป ซึ่งสามารถสรุปอ้างอิงได้ 2.ผู้วิจัย ดำเนินการโดยครูผู้สอนในห้องเรียน มีลักษณะการวิจัยแบบร่วมมือ (Collaborative research) ใช้วงจรการทำวิจัยแบบ PAOR ดำเนินการโดยนักวิชาการ หรือนักการศึกษาใน มหาวิทยาลัยที่ ไม่ได้ ปฏิบัติงานในห้องเรียน
การวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน ประเด็น การวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน (Classroom Action Research) การวิจัยเชิงวิชาการ (Academic Research) 3.วงจรของ การวิจัย Plan,Act,Observe,Reflect โดยขั้นตอน Reflect (สะท้อนกลับ) เป็นขั้นตอนที่เด่นที่ทำให้ การวิจัยแบบนี้ต่างจากการวิจัยอื่น ใช้วงจรการทำวิจัยแบบ กำหนดปัญหา ศึกษาเอกสาร ที่เกี่ยวข้อง ออกแบบการวิจัย (กำหนดประชากร กลุ่ม ตัวอย่าง สร้างเครื่องมือ เก็บข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล) สรุปและอภิปรายผลการวิจัย 4.วิธีการวิจัย ไม่เน้นการกำหนดกรอบแนวคิดทฤษฎี แต่ใช้ประสบการณ์ของผู้สอน ไม่เน้นแบบแผนการวิจัยมาก ใช้การวิจัยเชิงคุณภาพมากกว่าเชิงปริมาณ ยึดแบบแผนการวิจัย การออกแบบการวิจัยที่รัดกุม มีการกำหนดกรอบแนวคิด ทฤษฎี ตรวจสอบทฤษฎีและ พัฒนาทฤษฎี ใช้การวิจัยเชิง ปริมาณมากกว่า
การวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน ประเด็น การวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน (Classroom Action Research) การวิจัยเชิงวิชาการ (Academic Research) 5.กลุ่มเป้า หมายที่ต้องทำการวิจัย นักเรียนในห้องเรียนอาจเป็นรายคนหรือรายห้อง กลุ่มนักเรียนที่เป็น ตัวแทนประชากร 6. ข้อมูลวิจัย ครูเป็นผู้เก็บข้อมูล ใช้วิธีการ สังเกตหลักฐานการแสดง พฤติกรรมของผู้เรียน ข้อมูลส่วนใหญ่เป็นข้อมูลเชิงคุณภาพ อาจใช้วิธีการเก็บข้อมูลแบบ เดียวกับการวิจัยปฏิบัติการเพื่อพัฒนาการเรียนการสอนแต่โอกาสใกล้ชิดกับแหล่งข้อมูล(นักเรียน) จะมีน้อย
การวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน ประเด็น การวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน (Classroom Action Research) การวิจัยเชิงวิชาการ (Academic Research) 7. การ วิเคราะห์ข้อมูล ใช้การวิเคราะห์เนื้อหา ไม่เน้นการวิเคราะห์ด้วยสถิติขั้นสูง ส่วนใหญ่ใช้วิธีการวิเคราะห์ ทางสถิติ เน้นการสรุปอ้างอิง 8. การอภิปราย แปล ความ หมาย ข้อค้นพบจากการวิจัย ครู นักวิจัย และเพื่อนครูจะมีการ แลกเปลี่ยนประสบการณ์การวิจัย ร่วมกัน มีการถกอภิปรายถึงวิธีการแก้ปัญหาที่ใช้ และผลที่เกิดขึ้น นักวิจัยอภิปรายภายใต้ กรอบทฤษฎีที่ใช้ใน การวิจัย และใช้ความ คิดเห็นของนักวิจัย ประกอบการอภิปราย
ปัญหาและมโนทัศน์ที่คลาดเคลื่อน 1. ปัญหาวิจัยที่ทำไม่ได้เป็นปัญหาในชั้นเรียนจริง ๆ เกิดจากความคิดของตนเอง 2. ปัญหาวิจัยค่อนข้างกว้างและไม่สามารถทำได้เสร็จใน 1 ภาคเรียน 3. การกำหนดแบบแผนการวิจัยล่วงหน้าก่อนการสำรวจปัญหาวิจัย
ปัญหาและมโนทัศน์ที่คลาดเคลื่อน 4. การวิจัยแยกส่วนออกจากการเรียนการสอน 5. ไม่ได้นำผลการวิจัยไปใช้แก้ปัญหาในชั้นเรียน 6. ความสับสนระหว่างการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียนกับวิจัยเชิงวิชาการ 7.จะทำวิจัยในชั้นเรียน เรื่องที่จะทำต้องมีความลึกซึ้งและละเอียดเพียงใด ทำเรื่องเล็กๆ จะเพียงพอหรือไม่
ปัญหาและมโนทัศน์ที่คลาดเคลื่อน หลัก 3S Small เล็ก Simple ง่าย Significant มีความสำคัญ
ปัญหาและมโนทัศน์ที่คลาดเคลื่อน 8.ทำไมจึงรู้สึกว่าวิจัยในชั้นเรียนจึงเป็นภาระที่หนักมาก เหมือนเป็นภาระงานที่เพิ่มขึ้นอีกเป็นเท่าตัวนอกเหนือจากงานสอน เพราะทำการวิจัยแยกส่วนออกจากการเรียนการสอน ควรคู่ขนานไปกับการเรียนการสอนปกติภาระงานครูมีเป็นร้อย การวิจัยไม่ใช่งานที่ 101 (แต่ต้องรวมร้อยเรื่องให้เป็นหนึ่งเดียว)
WHY WHY WHY WHY WHY
What Why How