การคัดกรองพัฒนาการเด็ก เครือข่ายอำเภอวังจันทร์ จังหวัดระยอง 15 มีนาคม 2559
ข้อมูลทั่วไป ข้อมูลการปกครอง จำนวน (แห่ง) ตำบล 4 หมู่บ้าน 29 ชุมชน 5 เทศบาลตำบล 1 อบต.
ข้อมูลทั่วไป
ศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียน ข้อมูลทั่วไป ข้อมูล จำนวน (แห่ง) วัด 23 โรงเรียน 15 ศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียน 7 โรงงาน
คลินิกกระตุ้นพัฒนาการ ข้อมูลทั่วไป หน่วยบริการ/ตำบล รพช. รพ.สต. คลินิกกระตุ้นพัฒนาการ รพ.วังจันทร์ 1 - บ้านวังจันทร์ พลงตาเอี่ยม คลองเขต เขาตาอิ๋น สันติสุข หนองม่วง เขาสิงโต รวม 7
การบริหารจัดการพัฒนาการเด็ก อำเภอวังจันทร์
แผนที่แสดง เครือข่ายบริการในอำเภอวังจันทร์ โรงพยาบาลวังจันทร์
บุคลากรด้านพัฒนาการ รวม 36 4 บุคลากร /ความรู้ทักษะพิเศษ ครู ก ครู ข ครู ค Floor time TIDA4I อนามัย 55 กระตุ้น IM นวด ทารก วินิจฉัย /ส่งต่อ แพทย์ 3 พยาบาลป.โท (APN) เด็ก 1 พยาบาลงานจิตเวช พยาบาลคัดกรองส่งเสริมพัฒนาการ รพช. 2 พยาบาล+เจ้าหน้าที่ สธ. รพ.สต. 8 พยาบาล LR 6 ครู ศพด. 30 พยาบาล ER OPD IPD อสม. 55 นักกายภาพบำบัด รวม 36 4
แนวทางการคัดกรอง/ ส่งเสริมพัฒนาการ
การพัฒนา 1. พัฒนาความรู้และทักษะ บุคลากรในเครือข่าย 2. พัฒนารูปแบบการให้บริการ ในคลินิก 3. พัฒนาเครือข่ายการส่งต่อ และการดูแลต่อเนื่อง
1. พัฒนาความรู้และทักษะบุคลากรในเครือข่าย บุคลากรประจำคลินิก เดิม การใช้เครื่องมือตรวจพัฒนาการ (Denver II) เทคนิคการกระตุ้นพัฒนาการด้วยวิธี Floor time
โครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
การพัฒนาบุคลากร : อบรมความรู้ และทักษะ นักกระตุ้นพัฒนาการอบรมครู ก เมย. 58 อบรม TIDA4I อบรมครู ข อบรมครู ค
1. พัฒนาความรู้และทักษะบุคลากรในเครือข่าย(ต่อ) แบบประเมินฯ อนามัย 55 เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องในเครือข่าย อำเภอวังจันทร์ บุคลากรในรพ., OPD ER IPD อสม. อาสานมแม่
2. พัฒนารูปแบบการให้บริการ ในคลินิก ANC Clinic : ส่งเสริมสุขภาพมารดา คัดกรองภาวะซีด คัดกรองภาวะซึมเศร้า
การส่งเสริมสุขภาพทารกในครรภ์ 2. พัฒนารูปแบบการให้บริการ ในคลินิก (ต่อ) การส่งเสริมสุขภาพทารกในครรภ์ ทารกในครรภ์ ปกติ มีภาวะเสี่ยง คัดกรองภาวะเสี่ยง ได้แก่ ความพิการจากพันธุกรรม Thalassemia รุนแรง ภาวะ Down syndrome ประวัติการใช้สารเสพติดของมารดา ส่งเสริมสุขภาพตามเกณฑ์อายุครรภ์ ส่งตรวจพิเศษ อื่นๆ : NST U/S เฝ้าระวังอาการผิดปกติของทารกในครรภ์ ฝึกสอนมารดา สังเกต/นับลกดิ้น ใช้สมุดสีชมพูในการติดตาม/เฝ้าระวังอาการ Refer พบแพทย์เฉพาะทาง
2. พัฒนารูปแบบการให้บริการ ในคลินิก (ต่อ) คลอดและหลังคลอด ป้องกันภาวะเสี่ยงระยะ คลอด มี CPG ดูแลทารกแรก เกิด การช่วยพื้นคืนชีพทารก แรกเกิด เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ จำเป็น ความรู้และทักษะ คัดกรองทารกกลุ่มเสี่ยง แพทย์ตรวจประเมิน อาการ พยาบาลประเมินอาการ แรกคลอด การส่งต่อ และการดูแล ต่อเนื่องในเครือข่าย
มาตรการส่งเสริม เฝ้าระวัง 2. พัฒนารูปแบบการให้บริการ ในคลินิก (ต่อ) คลอดและหลังคลอด (ต่อ) มาตรการส่งเสริม เฝ้าระวัง 1.สอนการใช้คู่มือ DSPM DAIM แก่พ่อ แม่ ผู้เลี้ยงดู 2.กลุ่มเสี่ยงได้รับการเฝ้าระวัง คัดกรอง และส่งต่อตามแนวทาง
2. พัฒนารูปแบบการให้บริการ ในคลินิก (ต่อ) WCC, รพ.สต., ศพด. โรงเรียนพ่อแม่
ส่งเสริมการอ่านนิทาน 2. พัฒนารูปแบบการให้บริการ ในคลินิก (ต่อ) WCC มาตรการส่งเสริม เฝ้าระวัง ส่งเสริมการอ่านนิทาน
2. พัฒนารูปแบบการให้บริการ ในคลินิก (ต่อ) WCC, รพ.สต., ศพด. มาตรการส่งเสริม เฝ้าระวัง ติดตาม ประเมินผลคัด กรองพัฒนาการโดย บุคลากรที่อายุ 9,18,30,42 เดือน WCC รพ.สต. ศพด.
3. การส่งต่อ และการดูแลต่อเนื่องในเครือข่าย 2. พัฒนารูปแบบการให้บริการ ในคลินิก (ต่อ) งานเยี่ยมบ้าน ทารกหลังคลอด ส่งรายชื่อ จดหมายอิเลคทรอนิคส์ ในCUP นอก CUP ส่งใบติดตามเยี่ยมหลังคลอดให้สสอ. เยี่ยมบ้านร่วมกับ อสม., อาสานมแม่ ติดตามกลุ่มนน.น้อย Birth Asphyxia ส่งใบติดตามเยี่ยมหลังคลอดทางไปรษณีย์ เยี่ยมบ้านและติดตาม
3. การส่งต่อ และการดูแลต่อเนื่องในเครือข่าย ตำบลพัฒนาการดีเริ่มที่นมแม่ อำเภอนมแม่ MCHB อำเภอ ระบบส่งต่อ และประสานข้อมูล ระบบนัดหมาย /จองคิว ติดตามผลการส่งต่อ
บูรณการแผนงาน/งบประมาณ 2556-ปัจจุบัน สปสช. อบต./เทศบาล PPA อบรม Floor time อบรม อสม.คัดกรองพัฒนาการ จัดทำแบบคัดกรองพัฒนาการ WCC คุณภาพ ส่งเสริมบทบาทครอบครัว ชุมชน ประเมินการเจริญเติบโต ส่งเสริม IQ EQ ส่งเสริมสุขภาพ/การคัดกรองและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย
งบประมาณ : อบต./เทศบาล ส่งเสริมสุขภาพ/การคัดกรองและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย
งบประมาณสนับสนุน คู่มือ DSPM/DAIM : - สำนักงานเขตสุขภาพที่ 6 : - สถาบันพัฒนาการเด็กราชนครินทร์ เครื่องมือ : สปสช. จัดสรร 54 ชุด : สสจ.ระยอง จัดหา 31 ชุด : CUP บริหารจัดการ 41 ชุด
การตรวจประเมินพัฒนาการ 3. พัฒนาระบบส่งต่อ และการดูแลต่อเนื่องในเครือข่าย การตรวจประเมินพัฒนาการ เด็ก 0-5ปี รพ.สต./คลินิก ต่างๆ/ศพด LR , PP: สอนผู้ปกครอง , แจก DSPM/DAIM WCC ตรวจประเมิน DSPM/DAIM ส่งเสริม พัฒนาการ ใช่ ปกติ ไม่ใช่ ตรวจประเมินซ้ำอีก 1 เดือน
3. พัฒนาระบบส่งต่อ และการดูแลต่อเนื่องในเครือข่าย (ต่อ) TIDA4I ซักประวัติ/ ประเมินสภาพเด็ก/ ปรึกษา แพทย์ นัด 1 เดือน กระตุ้นพัฒนาการรายบุคคล ให้คำปรึกษาครั้งที่ 2 ประเมินผลการนวด ภาษา - Refer เพื่อหาสาเหตุ ในระหว่างรอรับการตรวจ : กระตุ้นการพูดโดยส่งเสริมให้ผู้ปกครองใช้กิจกรรมบำบัด, Floor time, TIDA4I ด้านกล้ามเนื้อมัดเล็ก/ มัดใหญ่/ การช่วยเหลือตนเอง กายภาพบำบัด พบพัฒนาการ ล่าช้า ใช่ เยี่ยมบ้าน มีปัญหาพฤติกรรม ปรึกษา รพท., เพื่อ เตรียม refer สงสัย ตรวจประเมินซ้ำ 1 เดือน รายที่สงสัยล่าช้า
ระบบการส่งต่อเด็กที่มีพัฒนาการล่าช้าภายใน CUP รพศ. รพท. รพช. เทศบาล รพ.สต. รร.อนุบาลสังกัด สพป. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสังกัด อปท.
สรุปผลการดำเนินงาน
ร้อยละของแหล่งคัดกรอง ที่พบเด็ก 0-5 ปี พัฒนาการไม่สมวัยปี 2555-2558 ร้อยละของแหล่งคัดกรอง ที่พบเด็ก 0-5 ปี พัฒนาการไม่สมวัยปี 2555-2558
ร้อยละของพัฒนาการสมวัย(เด็ก 0-5 ปี) หลังการกระตุ้นพัฒนาการ จำแนกรายด้าน ปี 2555 – มิ.ย. 2558
แสดงจำนวนเด็กพัฒนาการล่าช้าได้รับการส่งต่อและติดตาม ต่อเนื่องจำแนกตามการวินิจฉัยโรค (n=17)
ผลการดำเนินงาน โครงการคัดกรองพัฒนาการ 4 ช่วงวัย กรกฎาคม 2558 ผลการดำเนินงาน โครงการคัดกรองพัฒนาการ 4 ช่วงวัย กรกฎาคม 2558
ร้อยละของเด็ก 0 -5 ปี ที่ได้รับการคัดกรอง ณ กรกฎาคม 2558
กลุ่มเด็กปกติ ประเมินด้วย DSPM กลุ่มเด็กเสี่ยง ประเมินด้วย DAIM ณ กรกฎาคม 2558 รายการ 9ด. 18ด. 30ด. 42ด. กลุ่มปกติ กลุ่มเสี่ยง เด็กที่ได้รับการประเมิน (คน) 16 1 27 37 23 พัฒนาการไม่สมวัย (คน) 6 ร้อยละ - 3.70 100 2.7 26.09 สมวัยหลังกระตุ้น (คน)
ร้อยละของพัฒนาการ ในเด็ก 4 ช่วงวัย
สรุปผลการคัดกรองพัฒนาการเด็ก 4 ช่วงวัย แยกรายด้าน ณ กรกฎาคม 2558 ช่วงอายุ สงสัยล่าช้า (คน) ด้าน GM FM RL EL PS 9 ด. - 18 ด. 1 30 ด. 42 ด. 6 3 2 รวม 8 4
ปัญหา อุปสรรค : ผู้ให้บริการ ด้านบุคลากร อสม. ขาดความรู้ความเข้าใจในเรื่อง เด็กที่มีพฤติกรรมไม่เหมาะสม เด็กที่มีพัฒนาการล่าช้า จนท.สาธารณสุข ขาดความรู้และทักษะ ความรู้ความชำนาญในการใช้คู่มือ/เครื่องมือ ส่งเสริมคัดกรองพัฒนาการ ความไม่สมดุลของบุคลากร และภาระงาน ครู ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โรงเรียนอนุบาล ขาดความรู้และทักษะ
ปัญหา อุปสรรค : ผู้ให้บริการ 2. ด้านเครื่องมือ และอุปกรณ์ คู่มือ DSPM DAIM : ได้รับสนับสนุนช้า ขาดเครื่องมือตรวจพัฒนาการ(ล่าช้า) ใน รพ.สต.ทุกแห่ง
ปัญหา อุปสรรค : ผู้รับบริการ ผู้เลี้ยงดูพ่อ แม่/ ผู้เลี้ยงดู : ขาดความเข้าใจ ในปัญหาพฤติกรรม ที่ไม่เหมาะสมในเด็ก เช่น “เมื่อโตขึ้นก็พูดได้เอง, เด็กผู้ชายก็ซน อย่างนี้” ความแตกต่างด้านทัศนคติ : พ่อแม่ และปู่ ย่า ตา ยาย ติดตามดูแลได้ไม่ต่อเนื่อง : แรงงานเร่ร่อน ต้องกลับภูมิลำเนาเดิม ไปๆ กลับๆ พื้นที่ห่างไกล ไม่มีสัญญาณโทรศัพท์ >> กรณีขาดนัด :
ขอบคุณค่ะ