แนวทางการสร้าง Innovation Ecosystem ในมหาวิทยาลัย โดย นิศาชล ศศานนท์ หัวหน้ากลุ่มส่งเสริมการใช้ประโยชน์ทรัพย์สินทางปัญญา และศูนย์ให้คำปรึกษาด้านทรัพย์สินทางปัญญาและนวัตกรรม สำนักบริหารจัดการทรัพย์สินทางปัญญา โทร. 025476033
IP Life Cycle การวิจัยพัฒนา การสร้างสรรค์ผลงาน การบังคับใช้สิทธิ Creation Protection Utilization Enforcement การวิจัยพัฒนา การสร้างสรรค์ผลงาน แหล่งทุน การบังคับใช้สิทธิ การฟ้องร้อง สร้างความตระหนัก ปกป้องโดยการจดทะเบียน การใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์
Process of IP Management Identification แจกแจงทรัพย์สินทางปัญญาที่มี Protection เข้าสู่ระบบการคุ้มครองให้เหมาะสม Development สร้าง/หาเพิ่มเติมทรัพย์สินทางปัญญาที่เกี่ยวข้อง Utilization/Commercialization นำไปใช้ประโยชน์/นำไปใช้เชิงพาณิชย์
IP Policy ปกป้องสิทธิในเอกสารผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ Copyright policy เช่น ปกป้องสิทธิในเอกสารผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ ติดสัญลักษณ์แสดง copyright Know-how policy เช่น บันทึกวันที่และป้าย “ลับ” มาตรการในการรักษาความลับ มาตรการในการเปิดเผยความลับ สร้าง IP Portfolio Patent policy เช่น นักวิจัยทุกคน ต้องตระหนักและดูแลข้อมูลงานวิจัยก่อนเผยแพร่ นักวิจัยต้องตรวจสอบงานวิจัยของตัวเองสามารถจดสิทธิบัตรได้หรือไม่ สร้างแรงจูงใจให้นักวิจัย
กฎระเบียบด้าน IP เป็นตัวกำหนด กรอบ แนวปฏิบัติให้บุคลากรในองค์กร เช่น ระเบียบว่าด้วยการจดทะเบียนคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญา ระเบียบว่าด้วยการใช้ประโยชน์ทรัพย์สินทางปัญญาและการแบ่งปันผลประโยชน์
สิ่งที่บุคลากรด้าน IP ต้องรู้ ผู้สร้างสรรค์ การเก็บรักษาการสร้างสรรค์ เช่น บันทึกข้อมูลห้องปฏิบัติการ เป็นต้น ความเข้าใจเบื้องต้นเกี่ยวกับสัญญาด้านทรัพย์สินทางปัญญา โดยเฉพาะบทที่เกี่ยวข้องกับการแลกเปลี่ยนวัสดุการวิจัยและข้อมูล ตลอดจนความเป็นเจ้าของในผลงานที่สร้างสรรค์ ความสำคัญเรื่องการเก็บรักษาความลับ โดยเฉพาะหากต้องมีการตีพิมพ์หรือนำเสนอข้อมูลวิชาการต่าง ๆ นโยบาย ระเบียบ ขั้นตอนด้านทรัพย์สินทางปัญญาขององค์กร
สิ่งที่บุคลากรด้าน IP ต้องรู้ ผู้อำนวยการวิจัยหรือหัวหน้าองค์กร ความสำคัญของการบริหารจัดการทรัพย์สินทางปัญญาและแนวทางการบริหาร ขั้นตอนการคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญา : การจัดสรรงบประมาณในการบริหารจัดการทรัพย์สินทางปัญญา ความเข้าใจในบทบาททรัพย์สินทางปัญญาต่อการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
สิ่งที่บุคลากรด้าน IP ต้องรู้ ผู้บริหารจัดการทรัพย์สินทางปัญา ภาพรวมของการบริหารจัดการทรัพย์สินทางปัญญาตั้งแต่เริ่มสร้างสรรค์จนถึงการนำไปใช้ประโยชน์ ความเข้าใจในสาขาวิทยาการที่เกี่ยวข้องกับทรัพย์สินทางปัญญา เช่น ผู้บริหารจัดการทรัพย์สินทางปัญญาด้านสิทธิบัตร ควรเข้าใจวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
สิ่งที่บุคลากรด้าน IP ต้องรู้ เจ้าหน้าที่ปฏิบัติการ เจ้าหน้าที่การเงิน มีความเข้าใจเกี่ยวกับนโยบาย แนวทางปฏิบัติด้านทรัพย์สินทางปัญญาโดยเฉพาะการเงินด้านทรัพย์สินทางปัญญา เช่น ค่าจดทะเบียน รายรับจากทรัพย์สินทางปัญญา การจัดสรรผลประโยชน์ให้แก่นักวิจัย เป็นต้น ด้านพัฒนาบุคลากร นโยบายและแนวปฏิบัติด้านทรัพย์สินทางปัญญา โดยเชื่อมโยงกับนโยบายต่าง ๆ ขององค์กร เช่น การรับสมัครบุคลากร ผลประโยชน์ทับซ้อน เป็นต้น งานบริการกฎหมาย เช่น สัญญาและข้อตกลงที่เกี่ยวข้องกับทรัพย์สินทางปัญญา รูปแบบการคุ้มครองที่เหมาะสม การเจรจาต่อรอง
คณะกรรมการ IP ขององค์กร การคัดเลือกผลงานเพื่อขอรับความคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญา การคัดเลือกทรัพย์สินทางปัญญาเพื่อนำไปใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์ องค์ประกอบจากบุคลาการหลายฝ่ายในองค์กร เช่น ฝ่ายวิจัย ฝ่ายธุรกิจ ฝ่ายแผนงาน เป็นต้น
IP Portfolio เพื่อดูจุดแข็งจุดอ่อนของขององค์กร สร้างความได้เปรียบในการแข่งขัน ประเมินโอกาสและวิกฤติที่จะเกิดขึ้นได้ อาจแบ่งกลุ่ม IP เป็นกลุ่มย่อยดังนี้ IP กลุ่มที่ทำรายได้ให้องค์กร ต้องปกป้องให้เข้มแข็ง IP กลุ่มที่ไม่ได้ใช้ แต่ยังมีประโยชน์ อาจนำไปทำ license IP กลุ่มที่ไม่ได้ใช้แล้ว อาจบริจากหรือละทิ้งไป
IP Management ก่อนมีทรัพย์สินทางปัญญา (First Stage) กำลังจะมีทรัพย์สินทางปัญญา (Second Stage) มีทรัพย์สินทางปัญญา (Third Stage) ก่อนและหลังหมดอายุ ทรัพย์สินทางปัญญา (Final Stage)
First Stage (ก่อนมีทรัพย์สินทางปัญญา) วางยุทธศาสตร์ด้านทรัพย์สินทางปัญญา (IP Strategy) กำหนดนโยบายด้านทรัพย์สินทางปัญญา จะสร้าง/ปกป้อง/ใช้ประโยชน์/ดูแล ทรัพย์สินทางปัญญาในองค์กรอย่างไร เรียนรู้กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา สิทธิบัตร เครื่องหมายการค้า ลิขสิทธิ์ ความลับทางการค้า เรียนรู้วิธีการทำ Patent Search/Patent Mapping สิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ แผงวงจรรวม ภูมิปัญญาท้องถิ่น พรบ.พันธุ์พืช /พรบ.ภูมิปัญญาแพทย์แผนไทย
Innovation Development Identification / IP Portfolio Protection Creation Utilization IP activities Patent information Patent search Patent mapping Patent drafting IP filing IP Valuation Licensing Marketplace Joint venture 5 Innovative ideas 1 Feasibility study 2 R&D 3 Improved product 4 Innovation process Higher profit IP type Trade secret/ Patent/ Utility model (pretty patent) Trade secret Trademark/ Copyright Design Enforcement
กลยุทธ์การใช้ทรัพย์สินทางปัญญาสำหรับสร้างตราสินค้า สูง สิทธิบัตร Brand ความลับทางการค้า เทคโนโลยี การออกแบบ เครื่องหมายการค้า สิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ ลิขสิทธิ์ ต่ำ ต่ำ การตลาด สูง Source: A chart depicting the role of various IPRs, made by Takagi
Consideration for R&D Revenue Cost Market readiness Market place Market size Revenue Business development Portfolio development Maintenance cost When to file, where to file Narrow vs broad claims
Why Patent? Pros Cons Protect technology Secure investment Protect market share Prevent competitors Create bargaining power Disclosure Time limit Cost
IP Strategies Competitive IP Strategy: Commercialization IP Strategy: to block competitor to gain collaboration Commercialization IP Strategy: to generate revenue to contribute to the social
Patent Search State of the art search มีเทคโนโลยีอะไรบ้างในเรื่องที่เรากำลังสนใจ ใช้วางแผนวิจัยพัฒนา / เข้าสู่ตลาด / ทำธุรกิจ / สำรวจคู่แช่ง Novelty search สิ่งประดิษฐ์นี้จดสิทธิบัตรได้หรือไม่ ใช้ตัดสินใจในการขอรับสิทธิบัตร Validity search สิทธิบัตรนี้ยังมีผลบังคับอยู่หรือไม่ ใช้พิจารณาการใช้สิทธิ ใช้โต้แย้งสิทธิ ใช้ป้องกันตัวกรณีถูกฟ้องว่าละเมิด Freedom to operate search ผลที่ได้จากการวิจัยจะนำมาใช้ประโยน์ได้หรือไม่ เสี่ยงต่อการละเมิดสิทธิผู้อื่นหรือไม่
Freedom to operate Search ดำเนินการเพื่อตรวจสอบว่า งานวิจัยที่กำลังจะทำนั้น มีทรัพย์สินทางปัญญาของผู้อื่นเกี่ยวข้องหรือไม่ รวบรวมรายการวัสดุ อุปกรณ์ สารเคมี กระบวนการ เทคนิคที่จะใช้ในงานวิจัยทั้งหมดโดยละเอียด สืบค้นตรวจสอบจากแหล่งข้อมูบต่าง ๆ เช่น Patent / Material Transfer Agreement / Licensing Agreement /สัญญาร่วมวิจัย สัญญาจ้างวิจัย และข้อตกลงต่าง ๆ เป็นต้น วิเคราะห์ข้อมูลต่าง ๆ เช่น อายุการคุ้มครอง การขออนุญาตใช้สิทธิ เงื่อนไขข้อตกลง ประเทศที่ขอรับความคุ้มตรอง และผู้เกี่ยวข้อง เป็นต้น จัดการทรัพย์สินทางปัญญาที่ผูกพันอยู่ เช่น การเจรจาต่อรองขออนุญาตใช้สิทธิ เป็นต้น
หาช่องว่างทางการตลาด วิเคราะห์แนวโน้มเทคโนโลยี Patent mapping หาช่องว่างทางการตลาด วิเคราะห์แนวโน้มเทคโนโลยี หาเทคโนโลยี วิเคราะห์คู่แข่ง หาความร่วมมือ วางกลยุทธ์การวิจัยพัฒนา
Commercial Database
Market
White space
Players dead & alive Patents
Play dependency by citations
Main Player
Second Stage (กำลังจะมี ทรัพย์สินทางปัญญา) เรียนรู้ระเบียบและขั้นตอนการจดทะเบียน ค่าธรรมเนียมต่างๆในการจดทะเบียน ขั้นตอนการแก้ไขคำขอ ขั้นตอนการคัดค้าน/โต้แย้ง/อุทธรณ์ รู้จักหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญา ตำรวจ ศาลทรัพย์สินทางปัญญา อัยการทรัพย์สินทางปัญญา ศุลกากร องค์กรจัดเก็บค่าลิขสิทธิ์ ฯลฯ รู้จักตัวแทนสิทธิบัตร Patent Agent
Third Stage (มีทรัพย์สินทางปัญญาแล้ว) รู้จักการบริหารจัดการทรัพย์สินทางปัญญา (IP Management) รู้จักการประเมินมูลค่าทรัพย์สินทางปัญญา (IP Valuation) รู้จักการทำ License การอนุญาตให้ใช้สิทธิ โอนสิทธิ (บางส่วน/ทั้งหมด) รู้จักวิธีวางกลยุทธ์และแผนในการบริหารจัดการทรัพย์สินทางปัญญา โดยพิจารณาการจดทะเบียนในประเทศ ต่างประเทศ หรือ ใช้ Trade Secret เรียนรู้ช่องทางในการนำทรัพย์สินทางปัญญาไปใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์
Third Stage (มีทรัพย์สินทางปัญญาแล้ว) … (Continue) การทำ IP Audit/Diagnosis : การสำรวจและวินิจฉัยว่ามีทรัพย์สินทางปัญญาอะไรบ้าง IP Portfolio (IP Profile/Company profile) รู้จักวิธีการรักษาหรือ Maintain IP ให้คงไว้ (ค่าธรรมเนียมรายปี) IP Protection รู้จักวิธีปกป้องทรัพย์สินทางปัญญาที่มีอยู่ ความสำคัญของ Research and Development พิจารณาผู้ที่จะเข้ามามีส่วนร่วมในทรัพย์สินทางปัญญาของเรา IP Enforcement ดำเนินการกับผู้ละเมิดทรัพย์สินทางปัญญาของเรา
Final Stage (ก่อนและหลังหมดอายุทป.) IP Maintenance ติดตามและรักษาทรัพย์สินทางปัญญาของตนเอง (ค่าธรรมเนียมต่างๆในการต่ออายุ ค่า Royalty ต่างๆ เป็นต้น) วางยุทธศาสตร์ด้านทรัพย์สินทางปัญญา (ต่อยอด Cross Licensing, Shared License)
IP Audit การตรวจสอบบัญชีทรัพย์สินทางปัญญา คือการพิจารณาทรัพย์สินทางปัญญาที่มีกรรมสิทธิ์ที่ใช้อยู่หรือได้รับมา อย่างเป็นระบบ เพื่อที่จะได้ประเมินและจัดการความเสี่ยง แก้ไขปัญาและใช้การปฏิบัติอย่างเหมาะสมในการจัดการประโยชน์ของทรัพย์สินทางปัญญา มีการใช้หรือไม่ใช้ทรัพย์สินทางปัญญาอย่างไร การใช้ทรัพย์สินทางปัญญานั้นโดยเจ้าของหรือผู้อื่น ทรัพย์สินทางปัญญาเหล่านั้นละเมิดสิทธิ์ของผู้อื่น หรือผู้อื่นละเมิดเราหรือไม่ ควรใช้มาตรการใดในการจัดการทรัพย์สินทางปัญญา เพื่อสนับสนุนเป้าหมายที่เกี่ยวข้องทางธุรกิจ รตรว
IP Commercialization ใช้เอง / ผลิตจำหน่ายเอง ใช้เป็นสินทรัพย์ร่วมลงทุน ใช้เป็นหลักทรัพย์กู้เงิน อนุญาตให้ผู้อื่นใช้สิทธิ (Licensing / Cross Licensing) ค่าเปิดเผยเทคโนโลยี (Disclosure fee) ค่าเทคโนโลยีแรกเข้า (Upfront fee) ค่าตอบแทนการใช้สิทธิ (Royalty fee)
การพัฒนาทรัพย์สินทางปัญญา เพื่อการใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์ รู้จักทรัพย์สินทางปัญญาและใช้ประโยชน์จากการคุ้มครอง รู้จักวิธีการทำ Patent Search รู้จักวิธีการวิเคราะห์แนวโน้มเทคโนโลยี (Patent Mapping/Trend) รู้จักวิธีการประเมินมูลค่าทรัพย์สินทางปัญญาของตนเอง รู้จักวิธีการทำแผนธุรกิจ (+ IP) รู้จักวิธีการหาแหล่งเงินทุน รู้จักวิธีเจรจาธุรกิจ รู้จักวิธีการบริหารจัดการทรัพย์สินทางปัญญา (IP management)
IP Enforcement กิจกรรมเฝ้าระวัง สำรวจตลาด การเยี่ยมชมกิจการของผู้ขอรับอนุญาตใช้สิทธิ / ตรวจสอบบัญชี ส่งจดหมายเตือน เจรจาต่อรอง ดำเนินการตามกฏหมาย
สรุปประเด็นสำคัญ ทุกคนในองค์กรตั้งแต่ระดับผู้บริหารจนถึงระดับปฏิบัติการ ต้องตระหนักถึงความสำคัญของทรัพย์สินทางปัญญา และมีเรื่องทรัพย์สินทางปัญญาประกอบอยู่ในสัญญาการจ้างงาน ทุกคนในองค์กร ต้องรับผิดชอบใส่ใจในการดูแลทรัพย์สินทางปัญญา ให้ความรู้สร้างความตระหนักและเข้าใจความสำคัญของทรัพย์สินทางปัญญา ให้ครอบคลุมในทุกหน่วยงานขององคกร ทั้งด้านบัญชี กฎหมาย การขาย การตลาด การโฆษณาประชาสัมพันธ์ การกระจายสินค้า การวิจัยและพัฒนา และผู้เกี่ยวข้อง
สรุปประเด็นสำคัญ มีการประเมินและลงบันทึกมูลค่าทรัพย์สินทางปัญญา สอดส่องดูแลเรื่องวันหมดอายุของทรัพย์สินทางปัญญาทุกตัวขององค์กร วางแผนรองรับในกรณีที่ทรัพย์สินทางปัญญาหลักที่มีผลกับองค์กรถึงวันหมดอายุ ปกป้องทรัพย์สินทางปัญญาทุกตัวขององค์กร ใส่ใจดูแลเรื่องค่าใช้จ่ายและรายได้จากการทำอนุญาตให้ใช้สิทธิ์
สรุปประเด็นสำคัญ ตรวจสอบทรัพย์สินทางปัญญา (IP Audit) และจัดทำบัญชีทรัพย์สินทางปัญญา (IP Portfolio) ทำให้สามารถทราบรายได้และค่าใช้จ่ายจากทรัพย์สินทางปัญญาได้ชัดเจน มีที่ปรึกษาด้านกฎหมายทรัพย์สินทางปัญญาหรือผู้เชี่ยวชาญในการดำเนินการด้านทรัพย์สินทางปัญญา เช่น การขอรับการคุ้มครองในต่างประเทศ การขยายไลน์สินค้า การร่วมทุน การถ่ายโอนเทคโนโลยี เป็นต้น
สำนักบริหารจัดการทรัพย์สินทางปัญญา กรมทรัพย์สินทางปัญญา กระทรวงพาณิชย์ ขอบคุณ สำนักบริหารจัดการทรัพย์สินทางปัญญา กรมทรัพย์สินทางปัญญา กระทรวงพาณิชย์ โทร. 02 547 6033 WWW.ipthailand.go.th