โดย....กิ่งกาญจน์ ภู่ทองตระกูล กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สำนักมาตรฐานด้านการบัญชีภาครัฐ
Advertisements

พัฒนาระบบบริหารจัดการน้ำเพื่อการเกษตร(บูรณาการกระทรวง)
โดย... กอง บริหารงาน บุคคล วันพุธที่ 12 พฤษภาคม พ. ศ ณ ห้อง ประชุมสภาชั้น 4 อาคารทีปวิชญ์
ตราด สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด นางสาวอุสิมา สิงห์โตทอง
ความก้าวหน้าในการจัดทำแผนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และแผนปฏิบัติการกำหนดขั้นตอนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ฉบับที่
กาฬสินธุ์ ว่าง สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
การพัฒนาหลักเกณฑ์การจ่าย Pay per performance : P4P
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
ค่าใช้จ่ายในการ เดินทางไป ฝึกอบรมใน ประเทศ ค่าใช้จ่ายในการ เดินทางไป ฝึกอบรมใน ประเทศ งานบัญชีและการเงิน สำนัก ชลประทานที 17.
การดำเนินงานโครงการ เมื่อได้รับอนุมัติงบประมาณ
ค่าใช้สอยในการเดินทางไปราชการ
ค่าใช้จ่ายในการ บริหารงาน ของส่วนราชการ พ. ศ
คู่มือการยืมเงินราชการและเงินทด รองราชการ วัตถุประสงค์ การยืมเงินราชการและเงินทดรอง ราชการ เป็นกระบวนการหนึ่งของการเบิก จ่ายเงินจากคลัง คู่มือการปฏิบัติงานเรื่อง.
ขั้นตอนการจัดซื้อจัดจ้าง ตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ พ
KM การเบิกจ่ายโครงการ กลุ่ม 3 1. นายณัฐกร ตุ้ยทา 2. นางสาวอภิวันท์ สิ้มศรีสุข 3. นางสาวศิริกาญจน์ กิตติชยานนท์
สรุปค่าใช้จ่าย ปี 59 (งบ สป.สาธารณสุข) ณ 23 ก.ย.59
สร้างความเข้มแข็งของเศรษฐกิจฐานราก จากต้นทาง กลางทาง จนถึงปลายทาง
นางนิโลบล แวววับศรี ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม
บทที่ 3 องค์ประกอบของการสัมมนา
ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม
ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม การจัดงาน และการประชุมระหว่างประเทศ
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
โดย นางละเอียด เอี่ยมสุวรรณ ผู้อำนวยการกองคลัง
ค่าใช้จ่ายในการเดินทาง
เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ
แนวทางการปฏิบัติงานตามข้อสั่งการ ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ปัญหาที่เกิดขึ้น เข้าใจไม่ถูกต้อง ระหว่างประชุมราชการ กับ ประชุมเชิงปฏิบัติการ เชิญผู้เชี่ยวชาญมาประชุม ต้องจ่ายค่าสมนาคุณวิทยากรให้ ถูกทักท้วงจาก ผู้ตรวจสอบภายใน.
โดย นายทรงเกียรติ ตาตะยานนท์ ผู้อำนวยการส่วนจัดการงบประมาณ
กรอบอัตรากำลังของบุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา 38 ค. (2)
ข่าวประชาสัมพันธ์สำนักงานเกษตรจังหวัดสุโขทัย
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
การเบิกจ่ายเงิน ตามโครงการฝึกอบรม
กิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ งานบริหารและธุรการ คณะบริหารธุรกิจ
การบริหารงานประชาสัมพันธ์ของจังหวัด : การประชาสัมพันธ์และการจัดการสื่อ
ประกาศกระทรวงแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการขออนุญาตทำงาน และการอนุญาตให้ทำงานตามพระราชกำหนดการบริหารจัดการการทำงานของคนต่างด้าว พ.ศ.
ปัญหาอุปสรรค และข้อเสนอแนะ และแนวทางแก้ไข ของกองวิจัยและพัฒนาข้าว
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
กรณี เดินทางไปราชการ เพื่อเข้ารับการฝึกอบรม/สัมมนาฯ
ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม
ค่าใช้สอย หมายถึง รายจ่ายเพื่อให้ได้มาซึ่งบริการ (ยกเว้นบริการสาธารณูปโภค สื่อสารและโทรคมนาคม) รายจ่ายที่เกี่ยวกับการรับรองและพิธีการ และรายจ่ายที่เกี่ยวเนื่องกับการปฏิบัติราชการที่ไม่เข้าลักษณะรายจ่ายอื่น.
ข้อสังเกตจากการตรวจสอบเอกสาร
ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม
การสัมมนาแนวทางการดำเนินงาน
(มีผลใช้บังคับวันที่ ๑ พ.ย. ๒๕๕๗)
สรุปค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ • ระเบียบกระทรวงการคลัง ว่าด้วยการเบิกค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ พ.ศ.2550 มีผลบังคับใช้ 3 สิงหาคม 2550 •
ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม การจัดงาน และการประชุมระหว่างประเทศ
โดย...กองคลัง สำนักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
สรุปค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม
ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการพัสดุของหน่วยการบริหารราชการส่วนท้องถิ่น พ.ศ แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ (ฉบับที่ 3 - 5) พ.ศ (ฉบับที่
ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไป
วาระที่ ผลการประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การเตรียมความพร้อมบุคลากร สำนักแผนงานและโครงการพิเศษเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงาน ของหน่วยงานในพื้นที่
ความคืบหน้าการจ้างลูกจ้างชั่วคราว เป็นพนักงานกระทรวงสาธารณสุข (พกส.)
ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการเบิกค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ (ฉบับที่ 2) พ.ศ CoP การเงินและบัญชี ม.อ.
แนวปฏิบัติ การจัดสวัสดิการภายในส่วนราชการ
(สนง. ส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นอำเภอ)
จุดเริ่มต้นสวนสัตว์ไทย
การบรรจุแต่งตั้งและอัตราเงินเดือน
การประกาศเขตการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบ ภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน ตามระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยเงินทดรองราชการเพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน พ.ศ.
กรมมีผลการปฏิบัติงานที่ดี เกษตรกรได้รับประโยชน์
การขับเคลื่อน การจัดทำแผนการพัฒนากำลังคน รายจังหวัด
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
การให้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา มีวิทยฐานะและเลื่อนวิทยฐานะ
ตอนที่ 4.3 กรณีศึกษา : การสร้างเสริมประสิทธิภาพ งานส่งเสริมการเกษตร สำนักงานอำเภอน้ำปาด จังหวัดอุตรดิตถ์ ตอนที่ กรณีศึกษา : การจัดการความรู้
การจัดการความรู้ด้านงานสนับสนุน
การจัดทำแผนการจัดซื้อจัดจ้าง
ค่าใช้จ่ายในการเดินทาง ไปราชการต่างประเทศชั่วคราว
พระราชกฤษฎีกาค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ (ฉบับที่ 9) พ.ศ. 2560
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โดย....กิ่งกาญจน์ ภู่ทองตระกูล กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วย ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม การจัดงาน และการประชุมระหว่างประเทศ พ.ศ. 2549 แก้ไข (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2555 โดย....กิ่งกาญจน์ ภู่ทองตระกูล กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ

คำนิยาม บุคลากรของรัฐ หมายความว่า ข้าราชการทุกประเภท พนักงาน บุคลากรของรัฐ หมายความว่า ข้าราชการทุกประเภท พนักงาน ลูกจ้างของส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ หรือหน่วยงานอื่นของรัฐ

คำนิยาม เจ้าหน้าที่ หมายความว่าบุคลากรของรัฐที่ได้รับมอบหมายให้ปฏิบัติงานตามระเบียบฝึกอบรม (ผู้จัด) และหมายถึงบุคคลอื่นที่ได้รับแต่งตั้งให้ปฏิบัติงานรวมทั้ง จนท. รปภ. ด้วย

นิยาม การฝึกอบรม อบรม ประชุม / สัมมนา (วิชาการเชิงปฏิบัติการ) นิยาม การฝึกอบรม อบรม ประชุม / สัมมนา (วิชาการเชิงปฏิบัติการ) บรรยายพิเศษ ฝึกศึกษา ฝึกงาน การดูงาน มีโครงการ / หลักสูตร ซึ่งมีช่วงเวลาจัดที่แน่นอน วัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาบุคลากร /เพิ่มประสิทธิ ภาพในการปฏิบัติงาน ไม่มีการรับปริญญา / ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ไม่ใช่หลักสูตรการเรียนการสอน ไม่ใช่การประชุมหารือ ประชุมทำงาน

การดูงาน หมายถึง การเพิ่มพูนความรู้ ประสบการณ์ การดูงาน หมายถึง การเพิ่มพูนความรู้ ประสบการณ์ ด้วยการสังเกตการณ์ ซึ่งกำหนดไว้ในโครงการหรือหลักสูตร การฝึกอบรมหรือกำหนดไว้ในแผนการจัดประชุมระหว่าง ประเทศให้มีการดูงานก่อน ระหว่าง หรือหลังการฝึกอบรม หรือประชุมระหว่างปะเทศและให้รวมถึงโครงการหรือ หลักสูตรที่มีเฉพาะการดูงานภายในประเทศที่หน่วยงาน ของรัฐจัด

การฝึกอบรมบุคคลภายนอก ประเภทการฝึกอบรม การฝึกอบรมประเภท ก. การฝึกอบรมประเภท ข. การฝึกอบรมบุคคลภายนอก

ระดับการฝึกอบรม ให้พิจารณาจากผู้เข้าอบรมเป็นบุคลากรของรัฐเกินกึ่งหนึ่ง ของข้าราชการประเภทใด การฝึกอบรมประเภท ก ทั่วไป วิชาการ อำนวยการ บริหาร ทักษะพิเศษ เชี่ยวชาญ ทรงคุณวุฒิ ระดับสูง ระดับต้น ระดับสูง

ระดับการฝึกอบรม ให้พิจารณาจากผู้เข้าอบรมเป็นบุคลากรของรัฐเกินกึ่งหนึ่ง ของข้าราชการประเภทใด การฝึกอบรมประเภท ข วิชาการ อำนวยการ ทั่วไป ปฏิบัติงาน ชำนาญงาน อาวุโส ปฏิบัติการ ชำนายการ ชำนาญการพิเศษ ระดับต้น

ผู้จัดฝึกอบรมเดินทางไปจัด และผู้เข้ารับการ ฝึกอบรม ต้องได้รับอนุมัติตามระเบียบสำนัก นายกรัฐมนตรีว่าด้วยการอนุมัติเดินทางไป ราชการและการจัดการประชุมของทางราชการ พ.ศ.2524 โครง/หลักสูตรการฝึกอบรมที่ส่วนราชการจัดหรือ จัดร่วมกับหน่วยงานอื่น ต้องได้รับอนุมัติจาก หัวหน้าส่วนราชการ

การเทียบตำแหน่ง ประธาน แขกผู้มีเกียรติ และผู้ติดตาม การเทียบตำแหน่ง ประธาน แขกผู้มีเกียรติ และผู้ติดตาม เจ้าหน้าที่ วิทยากร ผู้สังเกตการณ์ ที่ไม่ได้เป็นบุคลาของรัฐ เพื่อเบิกค่าใช้จ่ายตามระเบียบฝึกอบรม บุคคลที่เคยดำรงตำแหน่งครั้งสุดท้ายก่อนออกจากราชการ 2. บุคคลที่เคยขอเทียบตำแหน่งจาก กค. วิทยากรให้พิจารณาจากระดับการฝึกอบรม ประเภท ก ให้เทียบตำแหน่งประเภทบริหารระดับสูง ประเภท ข และการฝึกอบรมบุคคลภายนอกให้เทียบ วิทยากรตำแหน่งอำนวยการระดับต้น (เว้นถ้าเดิมสูงกว่า) นอกเหนือจากบุคคลดังกล่าวให้หน.ส่วนราชการพิจารณาตามความเหมาะตามหลักการเทียบข้อ 2

การเทียบตำแหน่ง ผู้เข้ารับการฝึกอบรม การเทียบตำแหน่ง ผู้เข้ารับการฝึกอบรม ที่ไม่ได้เป็นบุคลากรของรัฐ (บุคคลภายนอก) การอบรมประเภท ก เทียบได้บริหารระดับสูง การอบรมประเภท ข เทียบได้บริหารระดับต้น บุคลากรของรัฐเบิกตามสิทธิตัวเอง (อบรมร่วมกับบุคลากรของรัฐ)

ค่าใช้จ่ายฝึกอบรม แบ่งเป็น 2 ส่วน ค่าใช้จ่ายของส่วนราชการ ผู้จัด ค่าจ่ายฝึกอบรมของ ผู้เข้ารับการอบรม

ค่าใช้จ่ายฝึกอบรมของผู้จัด 1. ค่าใช้และตกแต่งสถานที่ 2. ค่าใช้จ่ายพิธีเปิด-ปิด 3. ค่าวัสดุ เครื่องเขียนอุปกรณ์ 4. ค่าประกาศนียบัตร 5. ค่าถ่ายเอกสาร 6. ค่าพิมพ์เอกสารและสิ่งพิมพ์ 7. ค่าหนังสือสำหรับผู้เข้าอบรม 8. ค่าใช้จ่ายในการติดต่อสื่อสาร 9. ค่าเช่าอุปกรณ์ 10.ค่าอาหาร อาหารว่าง เครื่องดื่ม 11. ค่ากระเป๋าหรือสิ่งที่ใช้บรรจุเอกสาร ไม่เกิน 300.- 12. ค่าของสมนามคุณดูงาน ไม่เกิน แห่งละ 1,500.- 13. ค่าวิทยากร 14. ค่าที่พัก 15. ค่าพาหนะ นอกเหนือจาก ที่กำหนดให้ขอตกลง กระทรวงการคลัง ปรับปรุงฉบับที่ 3

ค่าอาหารว่าง-เครื่องดื่ม ค่าอาหาร ค่าเช่าที่พัก ค่าใช้จ่ายฝึกอบรมของผู้จัด ค่าอาหารว่าง-เครื่องดื่ม ค่าอาหาร ค่าเช่าที่พัก ได้รับการยกเว้นไม่ต้องดำเนินการตามระเบียบพัสดุ (กค.0421.3/ว193 ลว.8 มิย.52) หลักฐานประกอบการเบิกจ่าย ใบเสร็จรับเงิน ใบสำคัญรับเงิน ใบรับรองการจ่ายเงิน (ใบรับรองแทนใบเสร็จ)

ค่าใช้จ่ายทั้งหมดผู้จัดเป็น ผู้จ่าย เว้นแต่ผู้จัดร้องขอ และ บุคคลผู้มีสิทธิ (ตามข้อ 10) ประธานในพิธีเปิดปิดการฝึกอบรม แขกผู้มีเกียรติ และผู้ติดตาม เจ้าหน้าที่ วิทยากร ผู้เข้ารับการฝึกอบรม ผู้สังเกตการณ์ 1 2 3 ผู้ติดตามเป็นใครก็ได้ เช่น พขร.ที่มากับประธานเปิด-ปิด ก็ถือเป็นผู้ติดตามได้ หากจะขอเบิกค่าใช้จ่ายตามระเบียบอบรม แต่ พขร.มากับผู้อบรมไม่ถือว่าเป็นผู้ติดตาม 4 ค่าใช้จ่ายทั้งหมดผู้จัดเป็น ผู้จ่าย เว้นแต่ผู้จัดร้องขอ และ ต้นสังกัดยินยอม 5

หากวิทยากรเกินกว่าที่กำหนดให้เฉลี่ยจ่าย หลักเกณฑ์การจ่ายค่าวิทยากร บรรยาย ไม่เกิน 1 คน อภิปราย/สัมมนาเป็นคณะ ไม่เกิน 5 คน แบ่งกลุ่ม - ฝึกปฏิบัติ - อภิปราย - ทำกิจกรรม ไม่เกินกลุ่มละ 2 คน หากวิทยากรเกินกว่าที่กำหนดให้เฉลี่ยจ่าย

นับตามเวลาที่กำหนดในตารางการฝึกอบรม การนับเวลาบรรยาย นับตามเวลาที่กำหนดในตารางการฝึกอบรม ไม่ต้องหักเวลาที่พักรับประทานอาหารว่าง แต่ละชั่วโมงการฝึกอบรมต้องไม่น้อยกว่า 50 นาที ชั่วโมงการฝึกอบรมไม่ถึง 50 นาที แต่ไม่น้อยกว่า 25 นาที ให้เบิกค่าสมนาคุณวิทยากรได้กึ่งหนึ่ง

และวิทยากรในสังกัดเดียวกับผู้จัด อัตราค่าสมนาคุณวิทยากร ประเภทวิทยากร อัตรา (บาท:ชั่วโมง) การฝึกอบรมประเภท ก การฝึกอบรมประเภท ข และบุคคลภายนอก วิทยากรเป็น บุคลากรของรัฐ และวิทยากรในสังกัดเดียวกับผู้จัด ไม่เกิน 800 ไม่เกิน 600 วิทยากรที่ไม่ใช่ ไม่เกิน 1,600 ไม่เกิน 1,200 (ปรับปรุงฉบับที่ 3)

ใช้แบบใบสำคัญรับเงินสำหรับวิทยากรเป็น หากมีความจำเป็นต้องจ่ายสูงกว่ากำหนดเนื่องจากวิทยากรมีความรู้ ความสามารถและประสบการณ์เป็นพิเศษให้อยู่ในดุลพินิจ หน.ส่วนราชการ วิทยากรที่เป็นบุคลากรของรัฐไม่ว่าจะสังกัดส่วนราชการเดียวกับผู้จัดหรือไม่ให้ได้รับค่าตอบแทนวิทยากรได้ไม่เกินอัตราที่กระทรวง การคลังกำหนด การจ่ายค่าพาหนะรับจ้างไป–กลับของวิทยากร กรณีวิทยากรมีถิ่นที่อยู่ในท้องที่เดียวกับสถานที่จัดอบรม แทนการจัดรถรับ-ส่ง ใช้แบบใบสำคัญรับเงินสำหรับวิทยากรเป็น หลักฐานการจ่าย

ใบสำคัญรับเงิน สำหรับวิทยากร ชื่อส่วนราชการผู้จัดฝึกอบรม ...................................................................................................................................... โครงการ / หลักสูตร ................................................................................................................................................... วันที่.......เดือน..................พ.ศ. ........ ข้าพเจ้า...................................................................................อยู่บ้านเลขที่................................................ ตำบล/แขวง........................................................อำเภอ.....................................จังหวัด..................................................... ได้รับเงินจาก...............................................................................................................................ดังรายการต่อไปนี้ รายการ จำนวนเงิน รวม จำนวนเงิน ( ) (ลงชื่อ) ...........................................................................................ผู้รับเงิน (ลงชื่อ) ...........................................................................................ผู้จ่ายเงิน

ระดับ การฝึกอบรม สถานที่ราชการ ค่าอาหาร (บาท : วัน : คน) เท่าที่จ่ายจริง ไม่เกิน อัตราค่าอาหารที่กำหนด ระดับ การฝึกอบรม สถานที่ราชการ ต่างประเทศ ในประเทศ ครบมื้อ ไม่ครบมื้อ การฝึกอบรมประเภท ก (ระดับสูง) ไม่เกิน 850 600 2,500 การฝึกอบรมประเภท ข ไม่เกิน 600 ไม่เกิน 400 ไม่เกิน 2,500 บุคคลภายนอก ไม่เกิน 500 ไม่เกิน 300 ไม่เกิน 2,500 จัดให้ก่อน/ระหว่าง/หลัง การฝึกอบรม ให้อยู่ในดุลพินิจ เท่าที่จ่ายจริงไม่เกินอัตราที่กำหนด

ระดับ การฝึกอบรม ค่าอาหาร (บาท : วัน : คน) เท่าที่จ่ายจริง ไม่เกิน อัตราค่าอาหารที่กำหนด ระดับ การฝึกอบรม สถานที่เอกชน ต่างประเทศ ในประเทศ ครบมื้อ ไม่ครบมื้อ การฝึกอบรมประเภท ก ไม่เกิน 1,200 850 2,500 การฝึกอบรมประเภท ข ไม่เกิน 950 ไม่เกิน 700 ไม่เกิน 2,500 บุคคลภายนอก ไม่เกิน 800 ไม่เกิน 600 ไม่เกิน 2,500 การอบรมต่างประเทศเครื่องแต่งตัวเบิกได้เฉพาะบุคลากรของรัฐ/เจ้าหน้าที่

เรื่อง มาตรการบรรเทาผลกระทบจากการปรับค่าแรงขั้นต่ำ หนังสือกระทรวงการคลังที่ กค.0406.4/840 ลว. 16 มกราคม 56 เรื่อง มาตรการบรรเทาผลกระทบจากการปรับค่าแรงขั้นต่ำ ครม. ให้ความเห็นชอบปรับปรุงมาตรการประหยัดเมื่อปี 2552 ตามมติเมื่อ วันที่ 8 มกราคม 2556 ดังนี้ ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มในการฝึกอบรมและการจัดประชุม อบรม/ประชุม ในสถานที่ราชการ เบิกได้ไม่เกิน 35 บาท/มื้อ/คน อบรม/ประชุม ในสถานที่เอกชน เบิกได้ไม่เกิน 50 บาท/มื้อ/คน ค่าอาหารในการจัดประชุม ประชุมสถานที่ราชการเบิกได้ไม่เกิน 120 บาท/มื้อ/คน อบรมสถานที่ราชการ เบิกได้ไม่เกิน 150 บาท/มื้อ/คน (มาตรการเดิม) การจัดประชุมขอความร่วมมือจัดในสถานที่ราชการ

หลักเกณฑ์การจัดที่พัก/และค่าอาหาร การจัดที่พักให้ผู้สังเกตการณ์หรือ จนท. ระดับ 8 ลงมา ให้พักคู่ เว้น แต่ไม่เหมาะสม หน.ส่วนราชการพิจารณา การจัดที่พักให้ผู้สังเกตการณ์หรือ จนท. ระดับ 9 ขึ้นไป ให้พักเดี่ยวได้ การจัดที่พักให้ประธานเปิด-ปิด แขกผู้มีเกียรติ ผู้ติดตามหรือวิทยากร ให้พักเดี่ยวหรือคู่ก็ได้ โดยเบิกได้เท่าที่จ่ายจริงไม่เกินอัตราที่กระทรวง การคลังกำหนด การจัดอาหารให้ประธานเปิด-ปิด แขกผู้มีเกียรติ ผู้ติดตาม หรือ วิทยากรให้เบิกจ่ายค่าอาหารได้เท่าที่จ่ายจริงไม่เกินอัตราที่ กค.กำหนด

ค่าเช่าที่พักอบรมในประเทศ (บาท:วัน:คน) ระดับฝึกอบรม พักเดี่ยว พักคู่ การฝึกอบรม ประเภท ก (สูง) ไม่เกิน 2,400 ไม่เกิน 1,300 ประเภท ข บุคคลภายนอก ไม่เกิน 1,200 ไม่เกิน 750 ไม่เกิน 1,450 ไม่เกิน 900

หลักเกณฑ์การจัดยานพาหนะ (บุคคล ข้อ 10) ใช้ยานพาหนะของส่วนราชการผู้จัด / ยืมจากส่วนราชการ อื่น/ หน่วยงานอื่น เบิกค่าน้ำมันเท่าที่จ่ายจริง ใช้ยานพาหนะประจำทาง / เช่าเหมายานพาหนะ ให้จัดยานพาหนะ ตามระดับการฝึกอบรมตามสิทธิกฤษฎีกา คชจ. ดังนี้ จัดอบรม ประเภท ก ให้จัดยานพาหนะตามสิทธิ ประเภท บริหารระดับสูง เว้นแต่เดินทางโดยเครื่องบินให้ใช้ชั้นธุรกิจ แต่ถ้าไม่สาสามารถเดินทางชั้นธุรกิจได้ให้ใช้ชั้นหนึ่ง จัดอบรม ประเภท ข ให้จัดยานพาหนะตามสิทธิ ประเภท ทั่วไปชำนาญงาน จัดอบรม บุคคลภายนอก ให้จัดยานพาหนะตามสิทธิ ประเภท ทั่วประดับปฏิบัติงาน ทั้งนี้ให้เบิกได้เท่าที่จ่ายจริงตามความจำเป็น เหมาะสม ประหยัด

การเบิกค่าพาหนะในการฝึกอบรม การเบิกจ่ายค่าพาหนะเดินทางไป-กลับระหว่าง ที่พักไปสถานที่ฝึกอบรม (ของบุคคลตามข้อ 10) ให้อยู่ในดุลพินิจของหน.ส่วนราชการผู้จัด ฝึกอบรมหรือส่วน ราชการต้นสังกัด ผู้จัดควรประสานที่พักให้ใกล้กับที่อบรม หรือให้พักในโรงแรมที่จัดอบรม เพื่อประหยัดค่าพาหนะ

ข้อ 18 (ปรับปรุงฉบับที่ 3) ผู้จัดเบิกจ่าย คชจ.ทั้งหมด ผู้จัดอบรมไม่จัดอาหาร ที่พัก ยานพาหนะ ทั้งหมดหรือ จัดบางส่วนสำหรับ ข้อ 18 (ปรับปรุงฉบับที่ 3) ผู้จัดจัดให้แล้วต้องงดเบิก (รวมส่วนเกินสิทธิ์ด้วย) ผู้จัดเบิกจ่าย คชจ.ทั้งหมด หรือส่วนที่ขาดให้ 1. ประธาน แขกผู้มีเกรียติ ผู้ติดตาม 2. เจ้าหน้าที่ (ผู้จัด) 3. วิทยากร 4. ผู้เข้ารับการฝึกอบรม 5. ผู้สังเกตการณ์ ที่เป็นบุคลากรของรัฐ ให้เบิกต้นสังกัด (ผู้จัดร้องขอ) ตามพรฎ.เดินทาง ยกเว้น ค่าที่พักให้เบิกจ่ายตามอัตราที่ กค. กำหนด ผู้จัดเลี้ยงอาหารบางมื้อให้หักเบี้ยเลี้ยงมื้อละ1ใน3

ค่าอาหาร ที่พัก ยานพาหนะ สำหรับบุคคลภายนอก ค่าอาหาร ที่พัก ยานพาหนะ สำหรับบุคคลภายนอก ถ้าผู้จัดไม่จัดอาหาร ที่พัก ยานพาหนะ ทั้งหมด หรือจัดให้ บางส่วน ให้จ่ายค่าเบี้ยเลี้ยง ดังนี้ ไม่จัดให้ทั้ง 3 มื้อ ให้จ่ายไม่เกิน 240 บาท จัดให้ 2 มื้อ ให้จ่ายไม่เกิน 80 บาท จัดให้ 1 มื้อ ให้จ่ายไม่เกิน 160 บาท ที่พักให้เบิกเหมาจ่ายไม่เกิน 500 บาท ค่าพาหนะจ่ายได้ตามสิทธิ ขรก.ประเภททั่วไประดับ (1-4) (ปรับปรุงฉบับที่ 3) หลักฐานการจ่ายใช้แบบใบสำคัญรับเงินสำหรับบุคคลภายนอก ที่ กค.กำหนด การฝึกอบรมบุคคลภายนอกจัดได้เฉพาะในประเทศเท่านั้น (ข้อ 9)

การคิดเบี้ยเลี้ยงในการฝึกอบรม เลี้ยงอาหาร เบี้ยเลี้ยง วันที่สอง 2/3 วันสุดท้าย สิ้นสุดการอบรม เบี้ย เลี้ยง วันแรก

ค่าใช้จ่ายของผู้เข้ารับการฝึกอบรม ค่าลงทะเบียน เบิกได้เท่าที่จ่ายจริงตามที่ผู้จัดเรียกเก็บ ค่าเบี้ยเลี้ยง ที่พัก พาหนะ กรณีค่าลงทะเบียนรวมค่าอาหาร ที่พัก ยานพาหนะ ของผู้เข้าอบรมหรือผู้สังเกตการณ์ หรือผู้จัด จัดอาหาร ที่พัก ยานพาหนะทั้งหมดให้งดเบิก หากไม่จัดให้ หรือจัดให้บางส่วน ให้เบิกส่วนที่ขาดได้ที่ต้นสังกัด (ตามหลักเกณฑ์ ข้อ 18)

การจัดฝึกอบรมและการเข้ารับการฝึกอบรม การพิจารณาผู้เข้ารับการฝึกอบรม การจัดฝึกอบรมและการเข้ารับการฝึกอบรม ให้พิจารณาอนุมัติเฉพาะผู้ที่ปฏิบัติหน้าที่ที่ เกี่ยวข้องหรือเป็นประโยชน์ต่อส่วนราชการ ตามจำนวนที่เห็นสมควร โดยคำนึงถึง ความจำเป็น และเหมาะสมในการปฏิบัติงาน

ผู้จัดฝึกอบรมต้องประเมินผลการ ฝึกอบรม และรายงานต่อ หน.ส่วน ราชการผู้จัดภายใน 60 วัน นับแต่ สิ้นสุดการฝึกอบรม สำหรับผู้เข้ารับการอบรมหรือผู้สังเกต การณ์ ต้องจัดทำรายงานผลการเข้ารับ การฝึกอบรมเสนอหน.ส่วนราชการภาย ใน 60 วัน นับแต่วันเดินทางกลับถึง สถานที่ปฏิบัติราชการ

เบิกได้เฉพาะผู้เข้ารับการฝึกอบรมที่เป็น บุคลากรของรัฐ/เจ้าหน้าที่ ค่าเครื่องแต่งตัวในการเดินทางไปอบรมต่างประเทศ เบิกได้เฉพาะผู้เข้ารับการฝึกอบรมที่เป็น บุคลากรของรัฐ/เจ้าหน้าที่ ไม่ต่ำกว่า 2ปี/ครั้ง

กรณีผู้เข้าฝึกอบรมเดินทางไปฝึกอบรมต่างประเทศ โดยได้รับความช่วยเหลือ ให้เบิกค่าใช้จ่ายสมทบ ไม่เกินวงเงินที่ได้รับความช่วยเหลือ ดังนี้ ค่าเครื่องบิน ได้รับไป – กลับ : งดเบิก เที่ยวเดียว : เบิกได้อีกหนึ่งเที่ยวชั้นเดียวกัน ไม่สูงกว่าสิทธิ ค่าที่พัก จัดให้ : งดเบิก ต่ำกว่าสิทธิ : เบิกเพิ่มส่วนที่ขาด ไม่เกินสิทธิ

ค่าเบี้ยเลี้ยง ได้รับต่ำกว่าสิทธิ : เบิกสมทบได้ไม่เกินสิทธิ มีการจัดเลี้ยง ระหว่างฝึกอบรม เบี้ยเลี้ยง คิดเหมือนอบรมในประเทศ ค่าเครื่องแต่งตัว ต่ำกว่าสิทธิ : เบิกเพิ่มส่วนที่ขาดไม่เกินสิทธิ

การเบิกค่าใช้จ่ายในการจ้าง จัดฝึกอบรมของส่วนราชการ การจ้างจัดฝึกอบรม ดำเนินการได้ตามหลักเกณฑ์และอัตราค่าใช้จ่ายตามระเบียบนี้ โดยให้ใช้ใบเสร็จของผู้รับจ้าง

การเบิกค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม การจัดงาน และการประชุมระหว่างประเทศนอกเหนือจาก ที่กำหนดไว้หรือกำหนดไว้แล้วไม่สามารถปฏิบัติ ได้ให้หัวหน้าส่วนราชการขอทำความตกลงกับ กระทรวงการคลัง

ค่าใช้จ่ายในการจัดงาน ต้องเป็นค่าใช้จ่ายจัดงานตามแผนงานโครงการตามภารกิจปกติ หรือตามนโยบาย ของทางราชการซึ่งต้องกำหนดไว้ในแผน การปฏิบัติราชการ วันสถาปนาของส่วนราชการ การจัดงานนิทรรศการ เช่น การจัดงานแถลงข่าว การจัดประกวดหรือแข่งขัน การจัดกิจกรรมต่างๆ หน.ส่วนราชการต้องพิจารณาอนุมัติการเบิกค่าใช้จ่ายในการจัดงานได้เท่าที่จ่ายจริงตามความจำเป็น เหมาะสมและ ประหยัด

การจัดโครงการหรือกิจกรรมเพื่อแสดงความอาลัยหรือจัดกิจกรรม กค ๐๔๐๘.๔/ว๔๑๔ ลว.๑๙ ตุลาคม ๕๙ เรื่อง ซ้อมความเข้าใจการเบิกจ่ายคชจ.ในการจัดโครงการหรือกิจกรรม เพื่อแสดงความอาลัย หรือจัดกิจกรรมเป็นพระบรมราชานุสรณ์หรือถวาย เป็นพระราชกุศลแด่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช การจัดโครงการหรือกิจกรรมเพื่อแสดงความอาลัยหรือจัดกิจกรรม เป็นพระบรมราชานุสรณ์หรือถวายเป็นพระราชกุศลเพื่อให้ปชช.ร่วม กันถวายสักการะ ซึ่งได้มีนโยบายของรัฐให้ดำเนินการดังกล่าวได้จึง เป็นการจัดงานตามระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยคชจ.ในการฝึก อบรมการจัดงาน และการประชุมระหว่างประเทศพ.ศ. 2549และ แก้ไขเพิ่มเติม หัวหน้าส่วนราชการสามารถพพิจารณาอนุมัติการ เบิกจ่ายคชจ.ในการจัดโครงการหรือกิจกรรมได้เท่าที่จริงตามความ จำเป็น เหมาะสมและประหยัด

เรื่อง การเบิกค่าใช้จ่ายงานพระราชพิธีพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระ กค ๐๔๐๘.๔/ว 2 ลว.๙ มกราคม ๖๐ เรื่อง การเบิกค่าใช้จ่ายงานพระราชพิธีพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระ ปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชฯ เนื่องจากมีปัญหาในการเบิกจ่ายคชจ.เกี่ยวข้องกับงานพระราชพิธี พระบรมศพฯ กค.จึงอนุมัติในหลักการให้หน.ส่วนราชการเบิกจ่าย คชจ.ตามภารกิจที่เกี่ยวเนื่องกับงานพระราชการพิธีพระบรมศพฯ ได้เท่าที่จ่ายจริงตามความจำเป็น เหมาะสม ประหยัด และสมพระ เกียรติตามโบราณขัตติยราชประเพณี โดยอาศัยอำนาจตามระเบียบ การเบิกจ่ายเงินจากคลังการเก็บรักษาฯปี 51 ร.ค่าใช้จ่ายในการ บริหารงานปี 53 และระเบียบฝึกอบรม จัดงาน ฯ ปี 49

ตัวอย่างกิจกรรมการจัดงาน การจัดแข่งขันรณรงค์ให้ชุมชนเห็นคุณประโยชน์ในการจัดการสิ่งแวดล้อม ซึ่งเป็นงานตามแผนงานโครงการของกรมควบคุมมลพิษที่ได้รับจัดสรร เงินงบประมาณเพื่อดำเนินการควบคุมมลพิษ สามารถเบิกจ่ายเงินรางวัล ในการประกวดแข่งขันได้ กท.พัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จัดงานโครงการมหกรรม สัปดาห์ผู้สูงอายุแห่งชาติ และกำหนดให้มีการประกวดคำขวัญ/สุนทรพจน์ จะจ่ายค่าตอบแทนให้กรรมการตัดสินการประกวดและรางวัลผู้ชนะการ ประกวดก็สามารถเบิกได้

กรณีส่วนราชการมีภารกิจปกติหรือได้รับมอบหมายจากครม.หรือนายก รัฐมนตรีให้ดำเนินการจัดงานหรือกิจกรรมในงานพระราชพิธี รัฐพิธี และ พิธีสำคัญ การเบิก คชจ. เช่น การทำบุญตักบาตรพระสงฆ์ซึ่งเป็นส่วนหนึ่ง ของการจัดงาน แต่หากการทำบุญตักบาตรหากเป็นกิจกรรมที่มีวัตถุประสงค์ให้ผู้เข้า ร่วมงานได้บุญร่วมกันก็ไม่ควรเบิกจ่ายคชจ.ส่วนนี้จากราชการ กรณีส่วนราชการจัดทำโครงการประกวดจนท.ในด้านการให้บริการปชช. โดยมีการนำเสนอผลงานหรือมีการประกวดในด้านให้ความรู้ ไม่ถือเป็นการ จัดงานตามภารกิจปกติเนื่องจากเป็นลักษณะการจัดงานประกวดแข่งขัน สำหรับจนท.บุคลากรภายในหน่วยงานของตน ซึ่งไม่ใช่การจัดงานตาม ภารกิจหลักของหน่วยงาน จึงไม่สามารถเบิกค่าใช้จ่ายดังกล่าวได้ หรือกิจกรรมที่ครม.เห็นชอบ เช่น กระทรวงเกษตรและสหกรณ์จัดงานมหกรรมพืชสวนโลกเฉลิมพระเกียรติ ราชพฤกษ์ เห็นชอบให้กระทรวงศึกษาจัดงานฉลองวันเด็กแห่งชาติ เห็นชอบให้ส่วนราชการและหน่วยงานต่างๆ ร่วมกันจัดงานสัปดาห์ส่งเสริมศาสนาและจริยธรรม เพื่อเฉลิมพระเกียรติในหลวง หรือเห็นชอบให้กพ.กำหนดเป็นนโยบายจัดพิธีถวายสัตย์ปฏิญาณ เพื่อเป็นขรก.ที่ดีและพลังงานของแผ่นดินทุกปีในโอกาสวาระเฉลิมพระชนพรรษา

สำหรับการแข่งขันกีฬาสีภายในหน่วยงาน หรือการแข่งขันกีฬาเชื่อมความสัมพันธ์หรือประกวดแข่งขันภายในหน่วยงาน ไม่ถือเป็นการจัดงานตามภารกิจปกติของส่วนราชการ แต่เป็นการจัดสวัสดิการให้กับบุคลากรในหน่วยงานตามระเบียบสำนันายกรัฐมนตรีว่าด้วยการจัดสวัสดิการภายในส่วนราชการ พ.ศ. 2547 หรือกิจกรรมที่ครม.เห็นชอบ เช่น กระทรวงเกษตรและสหกรณ์จัดงานมหกรรมพืชสวนโลกเฉลิมพระเกียรติ ราชพฤกษ์ เห็นชอบให้กระทรวงศึกษาจัดงานฉลองวันเด็กแห่งชาติ เห็นชอบให้ส่วนราชการและหน่วยงานต่างๆ ร่วมกันจัดงานสัปดาห์ส่งเสริมศาสนาและจริยธรรม เพื่อเฉลิมพระเกียรติในหลวง หรือเห็นชอบให้กพ.กำหนดเป็นนโยบายจัดพิธีถวายสัตย์ปฏิญาณ เพื่อเป็นขรก.ที่ดีและพลังงานของแผ่นดินทุกปีในโอกาสวาระเฉลิมพระชนพรรษา

การจัดงานตามนโยบายของทางราชการ หมายถึง กรณีที่คณะรัฐมนตรีมีมติหรือนายกรัฐมนตรีในฐานะผู้นำ ประเทศได้มอบหมายให้ส่วนราชการดำเนินการจัดงานหรือรับผิด ชอบในการจัดงานร่วมกับส่วนราชการหน่วยงานของรัฐหรือ ภาคเอกชน เช่น เห็นชอบให้กระทรวงศึกษาจัดงานฉลองวันเด็กแห่งชาติ เห็นชอบให้กพ.กำหนดเป็นนโยบายจัดพิธีถวายสัตย์ปฏิญาณ เพื่อเป็น ขรก.ที่ดีและพลังงานของแผ่นดินทุกปี

ลักษณะค่าใช้จ่ายในการจัดงาน ค่าเช่าสถานที่ ค่าเช่าเต้น ค่าตกแต่งสถานที่ ค่าภัตตาหารเลี้ยงพระ ค่าประกอบพิธีกรรมทางศาสนา ค่าตอบแทน คกก.ตัดสินการประกวดแข่งขัน (เฉพาะวันที่จัดงาน) ค่าจ้างการแสดงในวันจัดงาน หรือค่าตอบแทนการแสดง (ไม่ใช่การจ้างตามร.พัสดุ) ค่าของที่ระลึกให้แก่ผู้เข้าร่วมงาน ค่าของขวัญ/ของรางวัล/เงินรางวัล (กรณีการประกวดแข่งขัน) ค่าตอบแทนเจ้าหน้าที่ในการจัดงาน รายการใดได้มาซึ่งพัสดุผู้จัดงานต้องดำเนินการตามระเบียบสำนักนายก รัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ ยกเว้นอาหารว่างเครื่องดื่ม อาหาร และค่าที่พัก

กรณีที่ส่วนราชการที่จัดงาน จัดอาหาร ที่พัก ยานพาหนะ ให้ประธานพิธีเปิด แขกผู้มีเกียรติ ผู้ติดตาม/ เจ้าหน้าที่หรือ ผู้เข้าร่วมงาน จัดอาหาร ที่พัก ยานพาหนะ ตามอัตรา ฝึกอบรมที่ กค.กำหนด (ตามหลักเกณฑ์ฝึกอบรม) กรณีไม่จัดอาหาร ที่พัก ยานพาหนะ ให้ถือปฏิบัติตาม ค่าใช้จ่ายฝึกอบรม ข้อ 18 (เบิกต้นสังกัด) ตัวอย่างการจัดงาน การจัดงานวันคล้อยวันสถาปนาของส่วนราชการ การจัดงานนิทรรศการ การจัดงานแถลงข่าว การจัดประกวดหรือแข่งขัน การจัดกิจกรรมต่าง ๆ

การจ้างจัดงานให้ดำเนินการได้ตามหลักเกณฑ์ กรณีจ้างจัดงาน การจ้างจัดงานให้ดำเนินการได้ตามหลักเกณฑ์ และอัตราค่าใช่จ่ายตามระเบียบอบรม(ข้อ 26) วิธีการจัดจ้างทำตามระเบียบพัสดุ ใช้ใบเสร็จรับเงินของผู้รับจ้างเป็นหลักฐานการจ่าย