โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ การคำนวณต้นทุนผลผลิต วันที่ 25-27 ก. พ โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ การคำนวณต้นทุนผลผลิต วันที่ 25-27 ก.พ. , 3-5 , 10-11 มี.ค 2551 ตั้งแต่เวลา 9:00 – 16:30 น โรงแรมเดอะทวินทาวน์เวอร์ ชั้น 4 1
วัตถุประสงค์ของการคำนวณต้นทุนผลผลิต 1 พัฒนาการบริหารจัดการทางการเงินที่ดี ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี (Good Governance) เพิ่มความรับผิดชอบต่อสาธารณะ Accountability เพิ่มความสามารถในการตัดสินใจในการการบริหารจัดการ การวัดผลการดำเนินงาน
ประโยชน์ของข้อมูลต้นทุน 5 ด้าน (ข้อมูลจาก “การบัญชีเพื่อการบริหารต้นทุนภาครัฐ” มาตรฐานการบัญชีการเงินภาครัฐ ฉบับที่ 4) 1. การควบคุมต้นทุนและงบประมาณ 2. การวัดผลการดำเนินงาน 3. การกำหนดค่าธรรมเนียม (เช่น มหาวิทยาลัย) 4. ประเมินความเหมาะสมของกิจกรรม 5. การตัดสินใจของคำนึงถึงความเหมาะสมทางการเงิน
KPI เปรียบเทียบ ปี 50/51 ของส่วนราชการ ปี 51 1. จัดทำฐานข้อมูล 2. จัดทำบัญชีต้นทุนปี 48 ปี 49 3. เปรียบเทียบวิเคราะห์ต้นทุนตาม (2) 4. จัดทำต้นทุน 6 เดือน ปี 50 5. วางแผนเพิ่มประสิทธิภาพ สำหรับปี 51 1. คำนวณต้นทุนปี 50 2. เปรียบเทียบปี 49 - 50 *3. ทบทวนภารกิจเพื่อกำหนดข้อมูล - กิจกรรมย่อย เชื่อมโยง กิจกรรมหลัก - ผลผลิตย่อย เชื่อมโยง ผลผลิตหลัก พร้อมหน่วยนับ *4. จัดทำต้นทุนต่อหน่วยผลผลิตย่อย กิจกรรมย่อย - งานสนับสนุน 5 กิจกรรมย่อย - งานหลัก 1 กิจกรรมย่อย - ผลผลิต 2 ผลผลิตย่อย 5. วางแผนเพิ่มประสิทธิภาพ สำหรับปี 52 * เป็นกิจกรรมใหม่ ต้องทำข้อ 3 ก่อน จึงจะทำ 4 ได้
แนวทางการประเมินผล ระดับคะแนน เกณฑ์การให้คะแนน แนวทางการประเมินผล 1 ขั้นตอนที่ 1 : จัดทำบัญชีต้นทุน ต่อหน่วยผลผลิตของปีงบประมาณ พ.ศ. 2550 ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กรมบัญชีกลางกำหนดได้แล้วเสร็จและรายงานผลการคำนวณต้นทุนตามรูปแบที่กรมบัญชีกลางกำหนด โดยเสนอสำนักงบประมาณ กรมบัญชีกลาง และสำนักงาน ก.พ.ร. ทราบ ประเมินผลจากข้อมูล เอกสาร หลักฐานต่างๆ เอกสาร/หลักฐานที่แสดงถึงการจัดทำบัญชีต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต ดังนี้ รายงานผลการคำนวณต้นทุนต่อหน่วยผลผลิตของปีงบประมาณ พ.ศ. 2550 ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กรมบัญชีกลางกำหนด ที่ได้รับความเห็นชอบจากผู้มีอำนาจ ทั้งนี้ วันที่แล้วเสร็จของรายงานผลการคำนวณต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต อ้างอิงจากวันที่ผู้มีอำนาจลงนามเห็นชอบต่อรายงานฯ ดังกล่าว สำเนาหนังสือนำส่งรายงานฯ ให้กับสำนักงบประมาณ กรมบัญชีกลาง และสำนักงาน ก.พ.ร.
แนวทางการประเมินผล ระดับคะแนน เกณฑ์การให้คะแนน แนวทางการประเมินผล 2 ขั้นตอนที่ 2 : เปรียบเทียบผลการคำนวณต้นทุนต่อหน่วยผลผลิตระหว่างปีงบประมาณ พ.ศ. 2549 และปีงบประมาณ พ.ศ. 2550 ว่ามีการเปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้นหรือลดลงอย่างไร พร้อมทั้งวิเคราะห์ถึงสาเหตุของการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวและจัดทำรายงานสรุปผลการวิเคราะห์ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิตได้แล้วเสร็จ ประเมินผลจากข้อมูล เอกสาร หลักฐานต่างๆ เอกสาร/หลักฐานที่แสดงถึงการดำเนินงานเช่นเดียวกับระดับคะแนน 1 พร้อมทั้ง รายละเอียดการวิเคราะห์ผลการคำนวณต้นทุนต่อหน่วยผลผลิตที่ได้จัดทำแล้วเสร็จในขั้นตอนที่ 2 ดังนี้ รายงานสรุปผลการวิเคราะห์ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิตที่ได้รับความเห็นชอบจากผู้มีอำนาจ โดยเนื้อหาของรายงานฯ ดังกล่าว ประกอบด้วย - สรุปผลการเปรียบเทียบและวิเคราะห์ผลการคำนวณต้นทุนต่อหน่วยผลผลิตระหว่างปีงบประมาณ พ.ศ. 2549 และปีงบประมาณ พ.ศ. 2550 ในต้นทุนผลผลิตภาพรวม พร้อมทั้งเปรียบเทียบและวิเคราะห์ต้นทุนผลผลิต กิจกรรมตามหน่วยงาน (หน่วยงานหลักและหน่วยงานสนับสนุน)
แนวทางการประเมินผล ระดับคะแนน เกณฑ์การให้คะแนน แนวทางการประเมินผล 2 ประเมินผลจากข้อมูล เอกสาร หลักฐานต่างๆ - สาเหตุของการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในต้นทุนผลผลิตภาพรวม และการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในต้นทุนผลผลิต กิจกรรมตามหน่วยงาน (หน่วยงานหลักและหน่วยงานสนับสนุน) ทั้งนี้ วันที่แล้วเสร็จของรายงานสรุปผลการวิเคราะห์ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต อ้างอิงจากวันที่ผู้มีอำนาจลงนามเห็นชอบต่อรายงานฯ ดังกล่าว
แนวทางการประเมินผล ระดับคะแนน เกณฑ์การให้คะแนน แนวทางการประเมินผล 3 ขั้นตอนที่ 3 : ทบทวนภารกิจเพื่อจัดทำข้อมูลผลผลิตย่อย กิจกรรมย่อยพร้อมปริมาณและหน่วยนับทั้งองค์กร สำหรับปีงบประมาณ พ.ศ. 2551 ประเมินผลจากข้อมูล เอกสาร หลักฐานต่างๆ เอกสาร/หลักฐานที่แสดงถึงการดำเนินงานเช่นเดียวกับระดับคะแนน 1 และ 2 พร้อมทั้งเอกสาร หลักฐานที่แสดงถึงการทบทวนภารกิจเพื่อจัดทำข้อมูลผลผลิตย่อย กิจกรรมย่อมพร้อมปริมาณและหน่วยนับดังนี้ คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการเพื่อวิเคราะห์ผลผลิตย่อยและกิจกรรมย่อยพร้อมปริมาณและหน่วยนับของทั้งองค์กร หรือเอกสารการมอบหมายให้มีผู้รับผิดชอบโดยคณะกรรมการดังกล่าวประกอบด้วยผู้บริหาร หรือ ผู้แทนจากทุกศูนย์ต้นทุน จัดทำเอกสารการกำหนดผลผลิตย่อย กิจกรรมย่อย พร้อมปริมาณและหน่วยนับขององค์กร โดยผ่านความเห็นชอบจากคณะกรรมการฯ และนำเสนอหัวหน้าส่วนราชการให้ความเห็นชอบ
แนวทางการประเมินผล ระดับคะแนน เกณฑ์การให้คะแนน แนวทางการประเมินผล 4 ขั้นตอนที่ 4 : จัดทำบัญชีต้นทุนต่อหน่วยผลผลิตย่อย กิจกรรมย่อย โดยจัดให้มีการคำนวณต้นทุนอย่างน้อย ดังนี้ 1) กิจกรรมของหน่วยงานสนับสนุน 5 กิจกรรมย่อย (ด้านการเงินและการบัญชี ด้านการพัสดุ ด้านบริหารบุคคล ด้านพัฒนาทรัพยากรบุคคล ด้านการตรวจสอบภายใน) ประเมินผลจากข้อมูล เอกสาร หลักฐานต่างๆ เอกสาร/หลักฐานที่แสดงถึงการดำเนินงานเช่นเดียวกับระดับคะแนน 1, 2 และ 3 พร้อมทั้งเอกสาร หลักฐานที่แสดงถึงการจัดทำบัญชีต้นทุนต่อหน่วยผลผลิตย่อย กิจกรรมย่อย รายงานผลการคำนวณต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต กิจกรรม ผลผลิตย่อย และกิจกรรมย่อยของปีงบประมาณ พ.ศ. 2551 ตามหลักเกณฑ์วิธีการและรูปแบบรายงานที่กรมบัญชีกลางกำหนด ทั้งนี้ วันที่แล้วเสร็จของรายงานผลการคำนวณต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต อ้างอิงจากวันที่ผู้มีอำนาจลงนามเห็นชอบต่อรายงานฯ ดังกล่าว
แนวทางการประเมินผล ระดับคะแนน เกณฑ์การให้คะแนน แนวทางการประเมินผล 4 ขั้นตอนที่ 4 : 2) กิจกรรมของหน่วยงานหลัก 1 กิจกรรมย่อย 3) ผลผลิตย่อย 2 ผลผลิต ประเมินผลจากข้อมูล เอกสาร หลักฐานต่างๆ สำเนาหนังสือนำส่งรายงานฯ ให้กับสำนักงบประมาณ กรมบัญชีกลาง และสำนักงาน ก.พ.ร. ในการจัดทำบัญชีต้นทุนของปีงบประมาณ พ.ศ. 2551 ต้องใช้จ้อมูลทางบัญชี ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2550 – 30 กันยายน 2551 จึงต้องประมวลผลต้นทุนในเดือนตุลาคม – ธันวาคม 2551 เพื่อให้มีการติดตามประเมินผลในเดือนมกราคม 2552 เป็นต้นไป
แนวทางการประเมินผล ระดับคะแนน เกณฑ์การให้คะแนน แนวทางการประเมินผล 5 ขั้นตอนที่ 5 : นำผลการดำเนินงานที่ได้จากขั้นตอนที่ 2 และขั้นตอนที่ 4 ไปกำหนดแนวทางหรือแผนการเพิ่มประสิทธิภาพการดำเนินงานสำหรับปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 ประเมินผลจากข้อมูล เอกสาร หลักฐานต่างๆ เอกสาร/หลักฐานที่แสดงถึงการดำเนินงานเช่นเดียวกับระดับคะแนน 1, 2, 3 และ 4 พร้อมทั้งเอกสาร หลักฐานที่แสดงให้เห็นว่าส่วนราชการได้นำผลการคำนวณและวิเคราะห์ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิตไปกำหนดแนวทางหรือแผนการเพิ่มประสิทธิภาพการดำเนินงานสำหรับปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 เช่น แนวทางหรือแผนการเพิ่มประสิทธิภาพการดำเนินงาน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 ที่ส่วนหนึ่งหรือทั้งหมดของแนวทางหรือแผนฯ อ้างอิงจากผลการคำนวณและวิเคราะห์ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต บันทึกข้อความ/รายงานการประชุมที่เกี่ยวกับการนำผลการคำนวณและวิเคราะห์ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิตไปกำหนดแนวทางหรือแผนการเพิ่มประสิทธิภาพการดำเนินงาน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2552
คะแนนที่ 1 จัดทำบัญชีต้นทุนต่อหน่วยผลผลิตของปีงบประมาณ. พ. ศ คะแนนที่ 1 จัดทำบัญชีต้นทุนต่อหน่วยผลผลิตของปีงบประมาณ พ.ศ. 2550 ตามหลักเกณฑ์วีการที่กรมบัญชีกลางกำหนด
หลักเกณฑ์เบื้องต้นในการคำนวณต้นทุนผลผลิต Cost จาก GL สำนัก กอง ศูนย์ กิจกรรม หลัก 12 + 3 + 3 ค่าใช้จ่าย ทางตรง 100 กิจกรรม 1 ผลผลิต 1 หลัก 18 + 2 + 3 หลัก 17 + 3 + 3 กิจกรรม 2 หลัก 8 + 2 + 3 หลัก 15 + 5+ 4 ผลผลิต 2 หลัก 20 + 5+ 4 กิจกรรม 3 รวม 110 ค่าใช้จ่าย ทางอ้อม 30 สนับสนุน 6 + 4 กิจกรรม 4 ผลผลิต 3 สนับสนุน 4 + 6 รวม 20 กิจกรรม 5 รวมทั้งหมด 130 รวม 130
คะแนนที่ 2 เปรียบเทียบผลการคำนวณต้นทุนต่อหน่วย ผลผลิตระหว่างปีงบประมาณ พ.ศ.2549 และปีงบประมาณ พ.ศ.2550
เปรียบเทียบผลการคำนวณต้นทุนผลผลิต งวด 6 เดือนแรก ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2547 และ พ.ศ. 2548
ผลการคำนวณต้นทุนผลผลิตงวด 6 เดือนแรก ปี 47 กิจกรรม รวม ผลผลิต รวม ต้นทุน/หน่วย 1. จัดทำ วิเคราะห์ และ พัฒนาระบบเทคโนโลยีฯ 22.2 ลบ. 1. การเป็นศูนย์ข้อมูล สารสนเทศการคลัง 22.2 ลบ. 216,296บ. 2. บริหารงานสวัสดิการ รักษาพยาบาล 2.5 ลบ. 2. การกำกับ ดูแล การคลัง การบัญชี การพัสดุภาครัฐ 47.5 ลบ. 3,272บ. 3. บริหารงานเงินนอกฯ 3.9 ลบ. 4. กำกับ ดูแล ควบคุม มาตรฐานฯ 41.1 ลบ. 5. กำกับ ดูแล งานตรวจ สอบภายใน 10.9 ลบ. 3. การกำกับ ดูแลการ ตรวจสอบภายใน 10.9 ลบ. 259,075บ. 6. บริหารการรับ-จ่าย 341.3 ลบ. 4. การบริหารการเงิน การคลัง 345.6ลบ. 560บ. 7. พัฒนาทรัพยากรบุคคล 4.3 ลบ.
ผลการคำนวณต้นทุนผลผลิตงวด 6 เดือนแรก ปี 48 กิจกรรม รวม ผลผลิต รวม ต้นทุน/หน่วย 1. บริหารและควบคุม การรับจ่ายเงินภาครัฐ และดำเนินงานด้านการ คลังให้ผู้ว่า CEO 292.3 ลบ. 1. การบริหารการเงิน การคลังภาครัฐ 316.4 ลบ. 546,430 บ. 2. พัฒนาทรัพยากรบุคคล 7.4 ลบ. 3. จัดทำข้อมูลสารสนเทศ การคลังและวิเคราะห์ รายงานการเงินแผ่นดิน 16.6 ลบ. 2. การกำกับ ดูแลการ คลัง การบัญชี การ พัสดุ และการตรวจ สอบภายใน 91.6 ลบ. 3,498.4 บ. 4. กำกับ ดูแลการคลัง การบัญชี การพัสดุ และ การตรวจสอบภายใน 91.6 ลบ.
การเปรียบเทียบผลการคำนวณต้นทุนผลผลิต กิจกรรม ปี 47 กิจกรรม ปี 48 1. บริหารและควบคุม การรับจ่ายเงินภาครัฐ และดำเนินงานด้านการ คลังให้ผู้ว่า CEO 1. จัดทำ วิเคราะห์ และ พัฒนาระบบเทคโนโลยีฯ 2. บริหารงานสวัสดิการ รักษาพยาบาล 3. บริหารงานเงินนอกฯ 2. พัฒนาทรัพยากรบุคคล 4. กำกับ ดูแล ควบคุม มาตรฐานฯ 3. จัดทำข้อมูลสารสนเทศ การคลังและวิเคราะห์ รายงานการเงินแผ่นดิน 5. กำกับ ดูแล งานตรวจ สอบภายใน 4. กำกับ ดูแลการคลัง การบัญชี การพัสดุ และ การตรวจสอบภายใน 6. บริหารการรับ-จ่าย 7. พัฒนาทรัพยากรบุคคล
การเปรียบเทียบผลการคำนวณต้นทุนผลผลิต กิจกรรม ปี 47 ต้นทุนกิจกรรม ปี 47 ต้นทุนกิจกรรม ปี 48 กิจกรรม ปี 48 1. จัดทำ วิเคราะห์ และ พัฒนาระบบเทคโนโลยีฯ 3. จัดทำข้อมูลสารสนเทศ การคลังและวิเคราะห์ รายงานการเงินแผ่นดิน 22.19 16.63 2. บริหารงานสวัสดิการ รักษาพยาบาล 4. กำกับ ดูแลการคลัง การบัญชี การพัสดุ และ การตรวจสอบภายใน 3. บริหารงานเงินนอกฯ 56.38 91.60 4. กำกับ ดูแล ควบคุม มาตรฐานฯ 1. บริหารและควบคุม การรับจ่ายเงินภาครัฐ และดำเนินงานด้านการ คลังให้ผู้ว่า CEO 5. กำกับ ดูแล งานตรวจ สอบภายใน 341.33 292.31 6. บริหารการรับ-จ่าย 7. พัฒนาทรัพยากรบุคคล 4.29 2. พัฒนาทรัพยากรบุคคล 7.44
การเปรียบเทียบผลการคำนวณต้นทุนผลผลิต ผลผลิต ปี 47 ผลผลิต ปี 48 1. การเป็นศูนย์ข้อมูล สารสนเทศการคลัง 1. การบริหารการเงิน การคลังภาครัฐ 2. การกำกับ ดูแล การคลัง การบัญชี การพัสดุภาครัฐ 2. การกำกับ ดูแลการคลัง การบัญชี การพัสดุ และ การตรวจสอบภายใน 3. การกำกับ ดูแลการ ตรวจสอบภายใน 4. การบริหารการเงิน การคลัง
การเปรียบเทียบผลการคำนวณต้นทุนผลผลิต ปี 47 ต้นทุนผลผลิต ปี 48 ผลผลิต ปี 47 ผลผลิต ปี 48 1. การเป็นศูนย์ข้อมูล สารสนเทศการคลัง 1. การบริหารการเงิน การคลังภาครัฐ 367.82 316.4 4. การบริหารการเงิน การคลัง 2. การกำกับ ดูแล การคลัง การบัญชี การพัสดุภาครัฐ 2. การกำกับ ดูแลการคลัง การบัญชี การพัสดุ และ การตรวจสอบภายใน 58.38 91.6 3. การกำกับ ดูแลการ ตรวจสอบภายใน
การเปรียบเทียบผลการคำนวณต้นทุนผลผลิต ผลผลิต ปี 47 ต้นทุน (ลบ.) จำนวน หน่วยนับ ต้นทุน / หน่วย ผลผลิต ปี 48 1.เป็นศูนย์ข้อมูลฯ 4. การบริหารการเงิน การคลัง 367.82 413,697 839.09 1. การบริหารการเงินการคลังภาครัฐ 316.4 579 546,430.04 2. กำกับการคลัง การบัญชี การพัสดุ 3. กำกับการตรวจสอบภายใน 58.38 8,707 6,704.95 2. กำกับ ดูแลการคลัง 91.6 26,183 3,498.49
ตารางต้นทุนแยกตามหน่วยงานเปรียบเทียบปี 47 กับปี 48 (งวด 6 เดือนแรก)
ตารางต้นทุนแยกตามหน่วยงานเปรียบเทียบปี 47 กับปี 48 (งวด 6 เดือนแรก)
ระดับคะแนนที่ 3 ทบทวนภารกิจเพื่อจัดทำข้อมูลผลผลิตย่อย กิจกรรมย่อย พร้อมปริมาณและหน่วยนับ ทั้งองค์กร สำหรับปีงบประมาณ พ.ศ. 2551
ความสำคัญของข้อมูลด้านต้นทุนกิจกรรมย่อยและผลผลิตย่อย 1. การตัดสินใจในการบริหารองค์กรโดยใช้ข้อมูลต้นทุนที่ถูกต้องและเป็นปัจจุบันมีผลต่อประสิทธิภาพขององค์กร และผลประโยชน์ของประเทศชาติ 2. การระบุทรัพยากรเข้าสู่กิจกรรม และพิจารณาว่ากิจกรรมได้ใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัดอย่างไร ซึ่งเป็นปัจจัยในการพิจารณาต้นทุนของผลผลิต 3. ในการหาต้นทุนกิจกรรม ถ้าหน่วยงานมีกิจกรรมที่เหมือนหน่วยงานอื่นก็ ควรกำหนดงานนั้นขึ้นเป็นกิจกรรมและกำหนดหน่วยนับให้เหมือนหน่วยงานอื่น เช่น กิจกรรมการก่อสร้าง เป็นกิจกรรมที่เอกชนก็ทำ ก็ควรกำหนดเป็นกิจกรรมเพื่อหาต้นทุนพร้อมหน่วยนับที่เหมือนกัน ถ้าภาครัฐดำเนินงานไม่มีประสิทธิภาพ เราสามารถพิจารณา outsource จ้างเอกชน
คำศัพท์ ผลผลิตหลัก หมายถึง ผลผลิตตามเอกสารงบประมาณ รวมถึงผลผลิตอื่นที่นอกเหนือจากเอกสารงบประมาณที่อยู่ภายใต้การดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ ซึ่งอาจจะไม่ได้ใช้เงินในงบประมาณในการผลิตผลผลิต ผลผลิตย่อย หมายถึง ผลิตภัณฑ์หรือบริการที่หน่วยงานภาครัฐทำการผลิต และส่งมอบให้กับบุคคลภายนอก ซึ่งหน่วยงานกำหนดขึ้นเพื่อใช้ในการคำนวณหาต้นทุนต่อหน่วยผลผลิตของหน่วยงาน และสามารถเปรียบเทียบต้นทุนต่อหน่วยผลผลิตระหว่างปีของหน่วยงานเองและเปรียบเทียบระหว่างหน่วยงานอื่นได้
คำศัพท์ กิจกรรมหลัก หมายถึง กิจกรรมตามเอกสารงบประมาณ รวมถึงกิจกรรมอื่นที่นอกเหนือจากเอกสารงบประมาณที่อยู่ภายใต้การดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ ซึ่งอาจจะไม่ได้ใช้เงินในงบประมาณในการดำเนินกิจกรรม กิจกรรมย่อย หมายถึง กิจกรรมของหน่วยงาน ซึ่งหน่วยงานกำหนดขึ้นเพื่อใช้ ในการคำนวณหาต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม และสามารถเปรียบเทียบต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรมระหว่างปีของหน่วยงานเองและเปรียบเทียบระหว่างหน่วยงานอื่นได้
การวิเคราะห์และกำหนดกิจกรรมย่อย กิจกรรมย่อย ส่วนราชการต้องวิเคราะห์กิจกรรมในการดำเนินงาน ของหน่วยงาน และทำการคำนวณต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรมย่อย เพื่อวิเคราะห์ประสิทธิภาพการดำเนินงานในรูปของต้นทุนกิจกรรม ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรมควรจะสามารถเปรียบเทียบได้ระหว่างปีของหน่วยงานหรือระหว่างหน่วยงานได้
การวิเคราะห์และกำหนดกิจกรรมย่อย นักวิเคราะห์จะกำหนดกิจกรรมละเอียดหรือหยาบขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์ การระบุกิจกรรมที่ละเอียดเกินไปอย่างทำให้ต้นทุนกับประโยชน์ที่ได้รับไม่คุ้มกัน ต้นทุน-ประโยชน์ คุ้มหรือไม่ขึ้นอยู่กับความตั้งใจในการใช้ข้อมูลต้นทุนกิจกรรม การตัดสินใจพัฒนากิจกรรมขององค์กรอาจต้องการข้อมูลกิจกรรมที่ละเอียด เป็นการวิเคราะห์กระบวนการทำงานอย่างละเอียดในแต่ละศูนย์ต้นทุน แต่ละศูนย์ต้นทุนทำกิจกรรม 1 กิจกรรมหรือมากกว่า เพื่อที่จะสร้างผลผลิต
การวิเคราะห์และกำหนดกิจกรรมย่อย Top-down approach Interview or participative approach Recycling approach
วิธี Top – down approach แต่งตั้งคณะทำงานวิเคราะห์กิจกรรม คณะทำงานต้องมีความเข้าใจและมีประสบการณ์ในกระบวนการทำงานของหน่วยงานเป็นอย่างดี ข้อดี สามารถกำหนดกิจกรรมได้อย่างรวดเร็ว ต้นทุนต่ำ องค์กรขนาดใหญ่มักใช้วิธีนี้ในการกำหนดกิจกรรม
วิธีการสัมภาษณ์หรือการมีส่วนร่วม Interview or participative approach แต่งตั้งคณะทำงานเพื่อสัมภาษณ์กิจกรรมจากพนักงาน แต่งตั้งคณะทำงานที่ประกอบด้วยพนักงานจากศูนย์ต้นทุนต่างๆ ข้อดี การกำหนดกิจกรรมจะถูกต้องมากกว่าวิธี Top – down approach ข้อเสีย ใช้เวลามาก พนักงานปิดบังข้อมูลที่แท้จริงเพราะกลัวว่าผู้บริหารระดับสูงจะทราบข้อมูลการทำงานของตน
วิธีการใช้ข้อมูลที่มีอยู่ Recycling approach ใช้เอกสารเกี่ยวกับเกี่ยวกับกระบวนการทำงานที่มีอยู่แล้ว เช่น เอกสารภารกิจตามกฎกระทรวง ข้อดี ใช้เวลาน้อย รวดเร็ว
การวิเคราะห์และกำหนดกิจกรรมย่อย เมื่อได้รายชื่อกิจกรรมแล้ว พิจารณาว่ากิจกรรมนั้นดำเนินการโดยศูนย์ต้นทุนใด ในช่วงเริ่มแรก การกำหนดกิจกรรมในศูนย์ต้นทุนไม่ควรเกินกว่าจำนวนฝ่ายหรือกลุ่มย่อยภายใต้ศูนย์ต้นทุน กำหนดหน่วยนับของกิจกรรมย่อย ให้พิจารณาดังนี้ กรณีที่กิจกรรมเป็นกิจกรรมที่หน่วยงานภายนอกอื่นทำเหมือนกัน กำหนดหน่วยนับตามหน่วยงานอื่น กรณีที่กิจกรรมเป็นกิจกรรมที่ไม่มีหน่วยงานภายนอกอื่นทำเหมือนกัน กำหนดหน่วยนับอย่างสม่ำเสมอ โดยหน่วยนับแสดงถึงปริมาณงานของกิจกรรม
การวิเคราะห์และกำหนดผลผลิตย่อย ผลผลิตย่อย ต้องเป็นผลผลิตที่ส่งมอบให้กับบุคคลภายนอกที่มี ความละเอียดในส่วนของชื่อผลิตภัณฑ์หรือบริการที่ส่วนราชการ ดำเนินการผลิต รวมถึงต้องมีการกำหนดหน่วยนับให้เหมาะสม
การวิเคราะห์และกำหนดผลผลิตย่อย สิ่งสำคัญในการกำหนดผลผลิต คือ ต้องมีความสม่ำเสมอและสามารถเปรียบเทียบและBenchmark ได้ ภายในหน่วยงานและภายนอกหน่วยงาน
กิจกรรมย่อยของหน่วยงานสนับสนุนและหน่วยนับ
อธิบายกิจกรรมย่อยของหน่วยงานสนับสนุน ต้นทุนกิจกรรม หมายถึง ทรัพยากรทั้งหมดที่หน่วยงานจ่ายไปเพื่อ ให้สามารถดำเนินงานในกิจกรรมดังกล่าวได้ ไม่ว่าจะเป็นเงินในงบประมาณเงินนอกงบประมาณ หรืองบกลาง
อธิบายกิจกรรมย่อยของหน่วยงานสนับสนุน (ต่อ) ต้นทุนของกิจกรรมด้านการเงินและบัญชี คือ ต้นทุนในการดำเนินกิจกรรมด้านการเงินและบัญชีของหน่วยงาน เช่น การรับ-จ่ายเงินงบประมาณ และเงินนอกงบประมาณ การติดตามและการรายงานด้านการเงินและบัญชี รวมถึงการบริหารจัดการด้านงบประมาณ (แต่ไม่รวมถึงการจัดทำแผนที่อยู่ใน ความรับผิดชอบของกลุ่มแผนงาน) จำนวนเอกสารรายการ หมายถึง จำนวนรายการเอกสารทางการเงินและบัญชี ยกเว้นเอกสารการจัดซื้อจัดจ้าง ซึ่งหน่วยงานสามารถเรียกดูจำนวนเอกสารรายการการเงินและบัญชีในระบบ GFMISได้โดยใช้ Transaction Code: FB03
อธิบายกิจกรรมย่อยของหน่วยงานสนับสนุน (ต่อ) ต้นทุนของกิจกรรมด้านการพัสดุ (จัดซื้อจัดจ้าง) คือ ต้นทุนในการดำเนินกิจกรรมการบริหารด้านพัสดุ และการจัดซื้อจัดจ้าง แต่ไม่รวมถึงมูลค่า ของสิ่งของหรือบริการที่จัดซื้อหรือจัดจ้าง ในกรณีนี้ยังไม่รวมการซ่อมบำรุง และงานด้านยานพาหนะ จำนวนครั้งของการจัดซื้อจัดจ้าง หมายถึง จำนวนครั้งที่หน่วยงาน ทำการจัดซื้อและจัดจ้าง ซึ่งจำนวนเอกสารของการจัดซื้อจัดจ้างในระบบ GFMIS สามารถเรียกได้โดยใช้ Transaction Code: ZMM_PO_RPT01
อธิบายกิจกรรมย่อยของหน่วยงานสนับสนุน (ต่อ) ต้นทุนของกิจกรรมด้านบริหารบุคลากร คือ ต้นทุนในการดำเนินกิจกรรมเกี่ยวกับการบริหารบุคลากรของหน่วยงาน เช่น การดูแลอัตรากำลังและระบบงาน ด้านวินัย และงานสรรหา และบรรจุแต่งตั้ง
อธิบายกิจกรรมย่อยของหน่วยงานสนับสนุน (ต่อ) จำนวนบุคลากร หมายถึง ข้าราชการ พนักงานราชการ และลูกจ้าง ถ้าจำนวนบุคลากรไม่เท่ากันระหว่างปีให้ใช้จำนวนบุคลากรถั่วเฉลี่ย ตัวอย่างเช่น ระหว่าง 1 ตุลาคม 2550 ถึง 15 มกราคม 2550 มีจำนวนบุคลากร 50 คน ระหว่าง 16 มกราคม 2550 ถึง 30 กันยายน 2550 มีจำนวนบุคลากร 60 คน ดังนั้น การคำนวณหาจำนวนบุคลากรเท่ากับ ระยะเวลา จำนวนวัน จำนวนบุคลากร จำนวนวัน x จำนวนบุคลากร 1 ตุลาคม - 15 มกราคม 107 50 คน 5,350 16 มกราคม - 30 กันยายน 258 60 คน 15,480 รวม 365 20,830 จำนวนบุคลากรถั่วเฉลี่ยทั้งปี 20,830 / 365 วัน =57.07 คน
อธิบายกิจกรรมย่อยของหน่วยงานสนับสนุน (ต่อ) ต้นทุนของกิจกรรมด้านพัฒนาทรัพยากรบุคคล หมายถึง กิจกรรมที่หน่วยงานดำเนินงานในการพัฒนาทรัพยากรบุคคล ไม่ว่าจะเป็นการวางแผนการพัฒนาทรัพยากรบุคคล การประเมินผล และการจัดฝึกอบรม รวมถึงการจัดทำสื่อต่างๆ ที่เกี่ยวข้องในการพัฒนาทรัพยากรบุคคล โดยนับรวมการพัฒนาบุคลากรทั้งภายในและภายนอกหน่วยงาน ในกรณีนี้ยกเว้นการศึกษาดูงานและการฝึกอบรมต่างประเทศ จำนวนชั่วโมง/คนการฝึกอบรม หมายถึง ผลรวมของจำนวนชั่วโมงของการฝึกอบรมของแต่ละหลักสูตรคูณด้วยจำนวนผู้เข้าฝึกอบรมในหลักสูตรนั้น เพื่อคำนวณหาต้นทุนของการฝึกอบรม 1 คน ต่อ 1 ชั่วโมงเป็นเท่าใด ตัวอย่างเช่น หลักสูตรฝึกอบรมมีผู้เข้ารับการอบรม 20 คน มีระยะเวลา 6 ชั่วโมง ดังนั้นจำนวนชั่วโมง/คนการฝึกอบรม เท่ากับ 120 ชั่วโมง/คน
อธิบายกิจกรรมย่อยของหน่วยงานสนับสนุน (ต่อ) ต้นทุนของกิจกรรมตรวจสอบภายใน คือ ต้นทุนในการดำเนินกิจกรรมที่เกี่ยวกับงานด้านตรวจสอบภายในของหน่วยงาน ซึ่งส่วนใหญ่ดำเนินงานโดยกลุ่มตรวจสอบภายใน จำนวนงานตรวจสอบ หมายถึง จำนวนคนวันที่ใช้ที่ในงานตรวจสอบตามแผนงานการตรวจสอบประจำปี
ตัวอย่างการกำหนดผลผลิตย่อย ศูนย์ต้นทุนหลัก ผลผลิตย่อย 1. สำนักมาตรฐานด้านการบัญชีภาครัฐ การกำกับดูแลทางด้านการบัญชีภาครัฐ หน่วยนับ : จำนวนเรื่อง 2. สำนักมาตรฐานด้านกฎหมายและระเบียบการคลัง การกำหนดและพัฒนากฎหมายและหลักเกณฑ์ด้านการคลัง 3. กลุ่มงานพัฒนาเงินนอกงบประมาณ การติดตามประเมินผลด้านทุนหมุนเวียน หน่วยนับ : จำนวนกองทุน 4. กลุ่มงานมาตรฐานด้านการตรวจสอบภายใน การกำกับดูแลทางด้านการตรวจสอบภายใน หน่วยนับ : จำนวนส่วนราชการ
ตัวอย่างการกำหนดกิจกรรมย่อย การกำหนดกิจกรรมย่อยโดยพิจารณาผลผลิตของศูนย์ต้นทุน ศูนย์ต้นทุน กิจกรรม 1. กลุ่มมาตรฐานด้านนโยบายการบัญชีภาครัฐ 1. กำหนดและพัฒนามาตรฐานและหลักเกณฑ์ทางด้านการบัญชีภาครัฐ หน่วยนับ : เรื่อง 2. กำหนดหรือให้ความเห็นชอบระบบบัญชี/แนวทาง/คู่มือปฏิบัติทางบัญชี หน่วยนับ : ระบบ 3. จัดทำและวิเคราะห์รายงานการเงินของแผ่นดิน หน่วยนับ : รายงาน 2. สำนักมาตรฐานด้านกฎหมายและระเบียบการคลัง 1. กำหนดและพัฒนากฎหมายด้านการเบิกจ่ายเงินจากคลัง 2. กำหนดและพัฒนากฎหมายด้านค่าตอบแทนและสวัสดิการ 3. กำหนดและพัฒนากฎหมายด้านค่าใช้จ่ายในการบริหาร 4. กำหนดและพัฒนากฎหมายด้านกฎหมายเฉพาะที่เกี่ยวข้องการคลัง
ตัวอย่างการกำหนดกิจกรรมย่อย ศูนย์ต้นทุน กิจกรรม กลุ่มงานพัฒนาเงินนอกงบประมาณ 1. จัดทำหลักเกณฑ์การใช้จ่ายเงินทุนหมุนเวียนและการใช้จ่ายเงินฝาก หน่วยนับ : เรื่อง 2. พิจารณาอนุมัติการเบิกจ่ายเงินกองทุน หน่วยนับ : บาท 3. ควบคุมการจัดทำบัญชีและรายงานทางการเงินของกองทุน หน่วยนับ : รายงาน กลุ่มงานมาตรฐานด้านการตรวจสอบภายใน 1. จัดทำแนวปฏิบัติด้านการตรวจสอบภายใน 2. ส่งเสริมและสนับสนุนหน่วยงานตรวจสอบภายในภาครัฐ หน่วยนับ : แห่ง
ตัวอย่างการกำหนดกิจกรรมย่อย สำนักงานเลขานุการกรม 1. ดำเนินงานด้านการพัสดุ หน่วยนับ : จำนวนครั้งของการจัดซื้อจัดจ้าง 2. ดำเนินงานด้านการเงินและบัญชี หน่วยนับ : จำนวนเอกสารรายการ 3. ดำเนินงานด้านสารบรรณของกรม หน่วยนับ : จำนวนฉบับของหนังสือ กองการเจ้าหน้าที่ ดำเนินงานด้านบริหารบุคคล หน่วยนับ : จำนวนบุคลากร
ตัวอย่างการกำหนดกิจกรรมย่อย กลุ่มประชาสัมพันธ์ 1. ดำเนินงานด้านจัดทำรายงานทางวิชาการผ่านรายการเสียงตามสาย หน่วยนับ : เรื่อง 2. ดำเนินงานด้านเขียนและผลิตข่าว เอกสารบทความเพื่อเผยแพร่ กองพัฒนาทรัพยากรบุคคล ดำเนินงานด้านพัฒนาทรัพยากรบุคคล หน่วยนับ : จำนวนชั่วโมง/คนการฝึกอบรม
ระดับคะแนนที่ 4 จัดทำบัญชีต้นทุนต่อหน่วยผลผลิตย่อย กิจกรรมย่อย โดยจัดให้มีการคำนวณต้นทุนอย่างน้อย ดังนี้ 1. กิจกรรมย่อยของหน่วยงานสนับสนุน 5 กิจกรรมย่อย 1.1 ด้านการเงินและบัญชี 1.2 ด้านการพัสดุ 1.3 ด้านบริหารบุคคล 1.4 ด้านพัฒนาทรัพยากรบุคคล 1.5 ด้านการตรวจสอบภายใน 2. กิจกรรมของหน่วยงานหลัก 1 กิจกรรมย่อย 3. ผลผลิตย่อย 2 ผลผลิต
แนวทางการคำนวณต้นทุนผลผลิต ปีงบประมาณ พ.ศ.2551
คำศัพท์ที่เกี่ยวข้องในการคำนวณต้นทุนผลผลิต ศูนย์ต้นทุน หรือ หน่วยงาน หมายถึง หน่วยงานภายในส่วนราชการที่กำหนดขึ้น ตามโครงสร้างการแบ่งส่วนราชการ ซึ่งแต่ละแห่งจะมีการดำเนินกิจกรรมที่ต้องใช้ทรัพยากรหรือต้นทุนในการผลิตผลผลิต ศูนย์ต้นทุนหลัก หรือ หน่วยงานหลัก หมายถึง ศูนย์ต้นทุนหรือหน่วยงานที่ทำหน้าที่โดยตรงในการสร้างผลผลิต ศูนย์ต้นทุนสนับสนุน หรือ หน่วยงานสนับสนุน หมายถึง ศูนย์ต้นทุน หรือหน่วยงานที่ไม่มีหน้าที่โดยตรงในการสร้างผลผลิต แต่ทำหน้าที่ให้บริการศูนย์ต้นทุนอื่น
คำศัพท์ที่เกี่ยวข้องในการคำนวณต้นทุนผลผลิต ต้นทุน หมายถึง ทรัพยากรที่ใช้ในการดำเนินการก่อให้เกิดผลผลิตของหน่วยงาน โดยให้รวมทรัพยากรที่เกิดจากทุกแหล่งเงิน ไม่ว่าจะเป็นเงินงบประมาณ เงินนอกงบประมาณ และงบกลาง ต้นทุนทางตรง หมายถึง ต้นทุนที่สามารถระบุได้โดยตรงว่าเป็นต้นทุน ของศูนย์ต้นทุนใด ต้นทุนทางอ้อม หมายถึง ต้นทุนที่ไม่สามารถระบุเข้าสู่ศูนย์ต้นทุนได้ จำเป็นต้องอาศัยเกณฑ์การปันส่วนในการระบุต้นทุนเข้าสู่ศูนย์ต้นทุน
วิธีการจัดทำต้นทุนผลผลิตในปีงบประมาณ พ.ศ.2551 1. วิเคราะห์และกำหนดผลผลิตย่อยและกิจกรรมย่อย พร้อมทั้งหน่วยนับ 2. กำหนดศูนย์ต้นทุนหลักและศูนย์ต้นทุนสนับสนุน 3. ดึงข้อมูลต้นทุนจากระบบ GFMIS ตามศูนย์ต้นทุนและแหล่งของเงิน 4. คำนวณหาต้นทุนของศูนย์ต้นทุนหลักและศูนย์ต้นทุนสนับสนุน 5. คำนวณหาต้นทุนและต้นทุนต่อหน่วยของกิจกรรมย่อย 6. คำนวณหาต้นทุนและต้นทุนต่อหน่วยของกิจกรรมหลัก 7. คำนวณหาต้นทุนและต้นทุนต่อหน่วยของผลผลิตย่อย 8. คำนวณหาต้นทุนและต้นทุนต่อหน่วยของผลผลิตหลัก
วิธีการจัดทำต้นทุนผลผลิตในปีงบประมาณ พ.ศ.2551
การคำนวณหาต้นทุนของศูนย์ต้นทุนหลักและศูนย์ต้นทุนสนับสนุน 1. เมื่อดึงข้อมูลจากระบบ GFMIS แล้ว ให้ส่วนราชการพิจารณาว่าต้นทุนที่เกี่ยวข้อง กับการดำเนินงานก่อให้เกิดผลผลิตมีอะไรบ้าง และตัดต้นทุนที่ไม่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงานออกไป 2. ในระบบ GFMIS ต้นทุนทางตรงจะถูกบันทึกเข้าสู่ศูนย์ต้นทุนแล้ว ดังนั้นเราจะทราบต้นทุนของแต่ละศูนย์ต้นทุน 3. สำหรับต้นทุนทางอ้อมต้องอาศัยเกณฑ์การปันส่วน เพื่อระบุต้นทุนเข้าสู่ศูนย์ต้นทุน ในการพิจารณาเกณฑ์การปันส่วนต้นทุนทางอ้อมเข้าสู่ศูนย์ต้นทุนให้หน่วยงานกำหนด ตามความเหมาะสมอย่างยุติธรรม โดยพิจารณาถึงปัจจัยที่ทำให้ต้นทุนนั้นผันแปร เพื่อที่จะใช้เป็นตัวผลักดันต้นทุนเข้าสู่ศูนย์ต้นทุน
การคำนวณหาต้นทุนของกิจกรรมย่อย การคำนวณต้นทุนกิจกรรมย่อยให้หน่วยงานนำต้นทุนของศูนย์ต้นทุนหลักและศูนย์ต้นทุนสนับสนุนโดยแยกประเภทตามแหล่งของเงินและค่าเสื่อมราคา แล้วจึงปันส่วนต้นทุนเข้าสู่กิจกรรมย่อย สำหรับปีงบประมาณ พ.ศ.2551 ให้หน่วยงานใช้เกณฑ์การปันส่วนในการกระจายต้นทุนจากศูนย์ต้นทุนเข้าสู่กิจกรรมย่อยที่ศูนย์ต้นทุนนั้นดำเนินการโดยให้แยกแสดงต้นทุนนั้นตามแหล่งของเงินและค่าเสื่อมราคา ตัวอย่าง เกณฑ์การปันส่วนต้นทุนจากศูนย์ต้นทุนเข้าสู่กิจกรรมย่อย เช่น เกณฑ์ภาระงาน หรือ เกณฑ์สัดส่วนการใช้วัสดุครุภัณฑ์
การดูแหล่งเงินสามารถพิจารณาจาก ข้อมูลกิจกรรมหลัก หรือ ข้อมูลแหล่งของเงิน - รหัสกิจกรรมหลัก เงินในงบประมาณ 5 หลักแรกขึ้นด้วยรหัสหน่วยงาน เงินนอกงบประมาณ ขึ้นด้วยตัว P งบกลางขึ้นด้วย 90909 - รหัสแหล่งของเงิน เงินในงบประมาณ หลักที่ 3 เป็นเลข 1 และหลักที่ 4 ไม่ใช่เลข 0 เงินนอกงบประมาณ หลักที่ 3 ไม่ใช่เลข 1 งบกลางขึ้นด้วย หลักที่ 3 และ 4 เป็นเลข 1 และ 0
การคำนวณหาต้นทุนของกิจกรรมย่อย
การคำนวณหาต้นทุนของผลผลิตย่อย วิธีที่ 1 ในกรณีส่วนราชการไม่ได้คำนวณหาต้นทุนกิจกรรมย่อยทุกกิจกรรมย่อย
การคำนวณหาต้นทุนของผลผลิตย่อย วิธีที่ 2 ในกรณีที่ส่วนราชการสามารถคำนวณหาต้นทุนกิจกรรมย่อยทุกกิจกรรมย่อย
การคำนวณหาต้นทุนของกิจกรรมหลัก วิธีที่ 1 ในกรณีส่วนราชการไม่ได้คำนวณหาต้นทุนกิจกรรมย่อยทุกกิจกรรมย่อย
การคำนวณหาต้นทุนของกิจกรรมหลัก วิธีที่ 2 ในกรณีส่วนราชการคำนวณหาต้นทุนกิจกรรมย่อยทุกกิจกรรมย่อย และคำนวณหาต้นทุนผลผลิตย่อยได้
การคำนวณหาต้นทุนของผลผลิตหลัก การคำนวณต้นทุนผลผลิตหลักให้คำนวณจากต้นทุนกิจกรรมหลัก ตามเอกสารงบประมาณที่สัมพันธ์กับผลผลิตโดยเชื่อมโยงต้นทุนกิจกรรมหลักเข้าสู่ผลผลิตหลัก
รูปแบบรายงานการคำนวณต้นทุนผลผลิต
รูปแบบรายงานการคำนวณต้นทุนผลผลิต ตารางที่ 1 รายงานต้นทุนรวมของหน่วยงานโดยแยกประเภทตามแหล่งเงิน
รูปแบบรายงานการคำนวณต้นทุนผลผลิต ตารางที่ 2 รายงานต้นทุนตามศูนย์ต้นทุนแยกตามประเภทค่าใช้จ่าย
รูปแบบรายงานการคำนวณต้นทุนผลผลิต ตารางที่ 3 รายงานต้นทุนกิจกรรมย่อยแยกตามแหล่งของเงิน
รูปแบบรายงานการคำนวณต้นทุนผลผลิต ตารางที่ 4 รายงานต้นทุนกิจกรรมหลักแยกตามแหล่งของเงิน
รูปแบบรายงานการคำนวณต้นทุนผลผลิต ตารางที่ 5 รายงานต้นทุนผลผลิตย่อยแยกตามแหล่งของเงิน
รูปแบบรายงานการคำนวณต้นทุนผลผลิต ตารางที่ 6 รายงานต้นทุนผลผลิตหลักแยกตามแหล่งของเงิน
การเรียกข้อมูลในระบบ GFMIS
การเรียกดูข้อมูล เลือก Transaction code : KSB1 กด Enter เลือกจากเมนู
การกรอกข้อมูลเพื่อดูรายงาน
ผลลัพธ์
การส่งข้อมูลออกไป Excel
ผลลัพธ์ใน Excel
วิธีการเรียกดูจำนวนเอกสารรายการทางการเงินและบัญชีในระบบ เลือกTransaction code: FB03 กด Enter เลือกจาก เมนู
วิธีการเรียกดูจำนวนเอกสารรายการทางการเงินและบัญชีในระบบ คลิก
การกรอกข้อมูล
ผลลัพธ์
การส่งข้อมูลไป Excel
วิธีการเรียกดูจำนวนเอกสารของการจัดซื้อจัดจ้างในระบบ GFMIS เลือก Transaction code: ZMM_PO_RPT01 เลือกจากเมนู
การกรอกข้อมูล
ผลลัพธ์
ผลลัพธ์ใน Excel
ใช้คำสั่งใน Excel คือ ข้อมูล ตัวกรอง ตัวกรองขั้นสูง การนับจำนวนเอกสาร ใช้คำสั่งใน Excel คือ ข้อมูล ตัวกรอง ตัวกรองขั้นสูง
ระดับคะแนนที่ 5 นำผลการดำเนินงานที่ได้จากขั้นตอนที่ 2 และขั้นตอนที่ 4 ไปกำหนดแนวทางหรือแผนการเพิ่มประสิทธิภาพการ ดำเนินงานสำหรับปีงบประมาณ พ.ศ. 2552
การวางแผนเพิ่มประสิทธิภาพ Input Process Output Economy Value-added Quantity Quality Time
การประหยัดทรัพยากร องค์กรกำหนดนโยบายการใช้ทรัพยากรอย่างประหยัด จัดโครงการรณรงค์การใช้ทรัพยากร ประเมินความคุ้มค่าการใช้ทรัพยากร พิจารณาว่าทรัพยากรใดที่ไม่ถูกใช้งาน หรือ ใช้งานยังไม่เต็มกำลัง การจัดซื้อจัดจ้างด้วยราคาที่เหมาะสม
ประสิทธิภาพด้านกระบวนการ พิจารณากิจกรรมทั้งองค์กร เพื่อดูความซ้ำซ้อนของกิจกรรม เปรียบเทียบประสิทธิภาพของกิจกรรมที่เหมือนกันระหว่างหน่วยงานย่อยภายในองค์กร ลดกระบวนการกิจกรรมที่ไม่จำเป็นออกไป
ประสิทธิภาพของการสร้างผลผลิต ปรับปรุงคุณภาพของผลผลิตให้ประชาชนพึงพอใจ พิจารณาเพิ่มปริมาณผลผลิตให้ใช้ทรัพยากรคงที่อย่างเต็มประสิทธิภาพ ลดระยะเวลาการรอคอยการรับบริการของประชาชน
Q & A 94 94
กลุ่มมาตรฐานและนโยบายการบัญชีภาครัฐ E-mail address: pubacsap@cgd.go.th โทร. 0-2298-6288 โทรสาร. 0-2273-9469 E-mail address: pubacsap@cgd.go.th Website: www.cgd.go.th