ทิศทางและแนวทางการดำเนินงาน กองทุนพัฒนาบทบาทสตรี ปี 2561

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ปทุมธานี นางปลื้มจิตต์ เนี้ยวคงศักดิ์ นายอารัต เมืองจร
Advertisements

รูปแบบการนำเสนอ หน่วยงาน
โยธาธิการและผังเมืองจังหวัดชัยภูมิ สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการ กรม สำนักงานสหกรณ์จังหวัด สระบุรี ( กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการ จัดการสหกรณ์ ) ข้อมูล ณ วันที่ 25 ธันวาคม โครงการตามนโยบายรัฐบาล.
แม่ฮ่องสอน สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด นายไพรัช จันทรา
อัตราบรรจุ ข้าราชการ 2625 พนักงานราชการ 99 ลูกจ้างประจำ 77 รวม 4241 อัตราว่าง จำนวน 1 อัตรา ตำแหน่งนักทรัพยากรบุคคลชำนาญการ มาช่วย ราชการ น. ส. สุริยา.
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
พังงา นางสาวอัญชลี ตันวานิช สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
การส่งเสริมศักยภาพ การคุ้มครอง พิทักษ์สิทธิประชาชนในแต่ละ กลุ่มเป้าหมาย โดยการกำหนด มาตรการ กลไก ส่งเสริมสนับสนุน ภาครัฐและเอกชนในการดำเนินการ ตามนโยบายและมาตรการที่กำหนด.
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
สำนักประสานและติดตามนโยบาย สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
การมอบนโยบายแนวทาง การปฏิรูปที่ดินประจำปี 2559 โดย นายสรรเสริญ อัจจุตมานัส เลขาธิการ ส. ป. ก.
โครงการส่งเสริมการหยุดการ เผาในพื้นที่การเกษตร ปี 2559 กองส่งเสริมโครงการพระราชดำริ การจัดการพื้นที่และ วิศวกรรมเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร.
โดย นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข “เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์” นโยบายการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.
การประเมินผลโครงการ คป สอ. เกาะช้าง ปี การดำเนินงาน 1. แต่งตั้งคณะกรรมการ ประธาน คปสอ. เกาะช้าง ประธาน คณะกรรมการ ผอ. รพ. เกาะช้างรองประธาน เลขานุการผู้รับผิดชอบงาน.
๕ เรื่องเด่นในร่างรัฐธรรมนูญ
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
คณะกรรมการปรับปรุงยุทธศาสตร์ฯ
สร้างความเข้มแข็งของเศรษฐกิจฐานราก จากต้นทาง กลางทาง จนถึงปลายทาง
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ(PMQA)
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
ยุทธศาสตร์กองทุนพัฒนาบทบาทสตรี พ.ศ
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
กลุ่มงานบริหารทรัพยากรบุคลากร
สายส่งเสริมตามกลุ่มวัยและประเด็น
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
ตัวชี้วัดการดำเนินงาน ปี 2560
(ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี พ.ศ –2579)
เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ
แนวทางการปฏิบัติงานตามข้อสั่งการ ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
โดย นายทรงเกียรติ ตาตะยานนท์ ผู้อำนวยการส่วนจัดการงบประมาณ
การบริหารจัดการหนี้ค้างชำระ กองทุนพัฒนาบทบาทสตรี
พัฒนาการจังหวัดชัยภูมิ
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการ
การติดตามผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๐
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
(ปัจจุบันไม่มียอดค้างชำระ)
การดำเนินงานเมื่อสิ้นสุดโครงการ
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
แนวทางปฏิบัติ กรมป่าไม้
การเร่งรัดการเบิกจ่ายงบประมาณ
การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์กรมการพัฒนาชุมชน
เวลา น. เป็นต้นไป ณ ห้องประชุมสำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ ชั้น 9
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
เพื่อการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ทศวรรษ
การประเมินคุณภาพการศึกษา สำนักงานอธิการบดี
วาระการประชุมคณะกรรมการกำกับดูแลองค์การที่ดี สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข ครั้งที่ ๑/๒๕๖๐ วันพฤหัสบดีที่ ๓ พฤศจิกายน ๒๕๕๙ เวลา ๐๙.๓๐ – ๑๒.๐๐ ณ.
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณและการดำเนินงานของสถาบันอุดมศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ มีนาคม 2560.
โยธาธิการและผังเมืองจังหวัด สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
ข้อเสนอต่อการพัฒนา ระบบการสร้างเสริมสุขภาพ ของประเทศไทย
สำนักงานกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองแห่งชาติ สาขา 7
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
หลักเกณฑ์การประเมินกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
กรมมีผลการปฏิบัติงานที่ดี เกษตรกรได้รับประโยชน์
โครงการส่งเสริมการบริหารจัดการการเงินชุมชน
รายงานผลการปฏิบัติงาน ประจำปีงบประมาณ 2560 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดลำพูน
4.2.3แผนการปฏิบัติงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ทิศทางและแนวทางการดำเนินงาน กองทุนพัฒนาบทบาทสตรี ปี 2561 โดย นายปรีชา กิตติสัตยกุล ผู้อำนวยการสำนักงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี

กองทุนพัฒนาบทบาทสตรี 1 การบริหารกองทุนฯ ภายใต้ พ.ร.บ. การบริหารทุนหมุนเวียน พ.ศ.2558 ข้อบังคับฯ ว่าด้วยการบริหารกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี พ.ศ.2559 ยุทธศาสตร์กองทุนฯ 6 กำกับ/ประเมิน กลไก 2 กองทุน กำกับ : กรมบัญชีกลาง คณะกรรมการบริหารกองทุนฯ คณะอนุฯ จังหวัด/กทม. (อกส.จ./กทม.) คณะอนุฯ อำเภอ (อกส.อ.) กลไกบริหาร ประเมินทุนหมุนเวียน : กรมบัญชีกลาง/TRIS งบบริหาร เงินทุนหมุน เวียน เงินอุดหนุน 5 ระบบสนับสนุน คณะทำงานฯ จ./กทม. คณะทำงานฯ ต./ท./เขต กลไกขับเคลื่อน SARA Bill Payment Smart Card สมาชิก BPM โปรแกรมรับสมัครสมาชิก DPIS โปรแกรมบัญชี คลังอาชีพ สำนักงาน 3 พนักงาน/ลูกจ้างชั่วคราว 233 อัตรา (พนง. 207 อต./ลจ. 26 อต.) -สกส. 35 อัตรา (พนง. 9 /ลจ. 26) -กทม. พนง. 5 อต. -จังหวัด พนง. 193 อัตรา บุคลากร 4 สำนักงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี (สกส.) สำนักงานเลขานุการฯ อกส.จ. สำนักงานเลขานุการฯ อกส.อ. ข้าราชการ สกส. (เต็มเวลา) 38 อัตรา (ปัจจุบันปฏิบัติหน้าที่ 19 อัตรา)

งบเงินอุดหนุน 295,000,000 บาท (คิดเป็นร้อยละ 13.32) เงินอุดหนุน เป็นเงินทุนตามโครงการที่ได้รับการสนับสนุนจากกองทุนเพื่อการส่งเสริมบทบาทและพัฒนาศักยภาพสตรีและเครือข่าย การส่งเสริมสนับสนุนการจัดกิจกรรมในการพัฒนาบทบาทสตรีและการสนับสนุนโครงการที่แก้ไขปัญหาและพัฒนาสตรี งบประมาณ 295,000,000 บาท (สองร้อยเก้าสิบห้าล้านบาทถ้วน) จัดสรรให้จังหวัด ดังนี้ - จังหวัดขนาดเล็ก 34 จังหวัด ๆ ละ 3,000,000 บาท เป็นเงิน 102,000,000 บาท - จังหวัดขนาดกลาง 22 จังหวัด ๆ ละ 4,000,000 บาท เป็นเงิน 88,000,000 บาท - จังหวัดขนาดใหญ่ 21 จังหวัด ๆ ละ 5,000,000 บาท เป็นเงิน 105,000,000 บาท งบเงินทุนหมุนเวียน 1,478,000,000 บาท (คิดเป็นร้อยละ 66.75) เงินทุนหมุนเวียน เป็นเงินทุนให้กู้แก่สมาชิกตามโครงการที่ได้รับการสนับสุนนจากกองทุนเพื่อการประกอบอาชีพ การสร้างงาน การสร้างรายได้ หรือการเสริมสร้างความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจ งบประมาณ 1,478,000,000 บาท (หนึ่งพันสี่ร้อยเจ็ดสิบแปดล้านบาทถ้วน) จัดสรรให้จังหวัด ดังนี้ - จังหวัดขนาดเล็ก 34 จังหวัด ๆ ละ 12,000,000.00 บาท เป็นเงิน 408,000,000 บาท - จังหวัดขนาดกลาง 22 จังหวัด ๆ ละ 20,000,000.00 บาท เป็นเงิน 440,000,000 บาท - จังหวัดขนาดใหญ่ 21 จังหวัด ๆ ละ 30,000,000.00 บาท เป็นเงิน 630,000,000 บาท

ยุทธศาสตร์ กองทุนพัฒนาบทบาทสตรี พ.ศ. 2561 - 2564

แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 ยุทธศาสตร์ที่ 2 ด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน ยุทธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคน ยุทธศาสตร์ที่ 4 ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างโอกาสความเสมอภาคและ ความเท่าเทียมกันทางสังคม ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ยุทธศาสตร์ที่ 2 การสร้างความเป็นธรรมลดความเหลื่อมล้ำในสังคมเป้าหมายที่ ๑ ลดปัญหาความเหลื่อมล้ำด้านรายได้ของกลุ่มคนที่มีฐานะทางเศรษฐกิจสังคมที่แตกต่างกัน และแก้ไขปัญหาความยากจน เป้าหมายที่ ๒ เพิ่มศักยภาพชุมชนและเศรษฐกิจฐานรากให้มีความเข้มแข็ง เพื่อให้ ชุมชนพึ่งพาตนเองและได้รับส่วนแบ่งผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจมากขึ้น แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 แผนพัฒนาสตรี ในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 ยุทธศาสตร์ที่ 1 . ปรับเปลี่ยนเจตคติของสังคมในประเด็นความเสมอภาค เท่าเทียมกันระหว่างหญิงชาย 2. เสริมพลังและเพิ่มอำนาจแก่สตรีไทยทุกกลุ่มและทุกระดับ 4. กำหนดมาตรการคุ้มครอง ป้องกันช่วยเหลือและเยียวยา 5. สร้างความเข้มแข็งของกลไกและกระบวนการพัฒนาสตรี กรมการพัฒนาชุมชน วิสัยทัศน์ “ เศรษฐกิจฐานรากมั่นคงและชุมชนพึ่งตนเองได้ภายในปี 2564 ” ยุทธศาสตร์ที่ 1. สร้างสรรค์ชุมชนให้พึ่งตนเองได้ ยุทธศาสตร์ที่ 2. ส่งเสริมเศรษฐกิจฐานรากให้ขยายตัว ยุทธศาสตร์ที่ 3. เสริมสร้างทุนชุมชนให้มีประสิทธิภาพและมีธรรมาภิบาล กองทุนพัฒนาบทบาทสตรี ยุทธศาสตร์ที่ 1 เสริมสร้างอาชีพและรายได้แก่สตรี ยุทธศาสตร์ที่ 2 ส่งเสริมสตรีและเครือข่ายในการพัฒนาคุณภาพชีวิต ยุทธศาสตร์ที่ 3 การเชื่อมโยงกับกลุ่มเครือข่ายในพื้นที่ ยุทธศาสตร์ที่ 4 เสริมสร้างขีดความสามารถกองทุนฯ ตามหลักธรรมาภิบาล

แผนยุทธศาสตร์กองทุนพัฒนาบทบาทสตรี พ.ศ. 2561 - 2564 วิสัยทัศน์ : “ เป็นแหล่งทุนในการพัฒนาสตรีเพื่อขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานรากให้เข้มแข็ง มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น” เป้าประสงค์/เป้าหมายหลัก : สตรีมีความมั่นคงด้านรายได้ มีคุณภาพชีวิตที่ดี มีบทบาทนำทางเศรษฐกิจ สังคม การเมืองในชุมชน 1. จัดสรรเงินทุนให้แก่สตรีและองค์กรสตรีสำหรับการพัฒนาเศรษฐกิจฐานราก ให้เข้มแข็งและมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น 2. จัดสรรเงินทุนในการพัฒนาบทบาทสตรีให้มีขีดความสามารถในการเป็นผู้นำและมีส่วนร่วมในการแก้ปัญหาสตรีในชุมชน 3. บริหารกองทุนให้มีความมั่นคง ตามหลักธรรมาภิบาล พันธกิจ ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ 1. เสริมสร้างอาชีพและรายได้แก่สตรี 1.1 การเข้าถึงปัจจัยการประกอบอาชีพ 1.2 พัฒนากลุ่มอาชีพสตรี 1.3 เพิ่มช่องทางการตลาด 1.4 การสื่อสารสร้างการรับรู้เพื่อความยั่งยืน 2. ส่งเสริมสตรีและเครือข่าย ในการพัฒนาคุณภาพชีวิต 2.1 พัฒนาศักยภาพสตรี 2.2 สร้างและพัฒนาเครือข่ายสตรี 2.3 ขับเคลื่อนการพัฒนาคุณภาพชีวิตสตรี 3. การเชื่อมโยงการบริหารร่วมกับ เครือข่ายในพื้นที่ 3.1 สร้างภาคีความร่วมมือ 3.2 พัฒนาองค์ความรู้เครือข่าย 3.3 กิจกรรมเครือข่าย 4. เสริมสร้างขีดความสามารถองค์กรบริหารกองทุนฯ ตามหลักธรรมาภิบาล 4.1 พัฒนาสมรรถนะบุคลากรในการขับเคลื่อนกองทุนฯ 4.2 พัฒนาระบบการบริหารจัดการข้อมูลสารสนเทศและเทคโนโลยี 4.3 พัฒนาระบบและกลไกในการบริหารจัดการกองทุนฯ

ผลลัพธ์ความสำเร็จของยุทธศาสตร์กองทุนพัฒนาบทบาทสตรี องค์กรสตรีและเครือข่ายสตรี สามารถพัฒนาอาชีพ และรายได้แก่สตรี สตรีมีรายได้เลี้ยงดูตนเองและครอบครัวได้ ไม่มีภาระหนี้สิน เสริมสร้างอาชีพและรายได้แก่สตรี ส่งเสิรมสตรีและเครือข่ายใน การพัฒนาคุณภาพชีวิต เสริมสร้างขีดความสามารถองค์กรบริหารกองทุนฯ ตามหลักธรรมาภิบาล การเชื่อมโยงการบริหารร่วมกับเครือข่ายในพื้นที่ องค์กรสตรีและ เครือข่ายสตรี สามารถพัฒนาสตรี ให้มีส่วนร่วม ในการเสริมสร้าง ความมั่นคงชุมชน กองทุนฯ มีความมั่นคง บริหารด้วย ความเป็นธรรม โปร่งใส มีประสิทธิภาพ

เป้าหมายการดำเนินงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี 2561 ที่ ตัวชี้วัด หน่วยนับ เป้าหมายปี 2561 1 จำนวนสมาชิกกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีเพิ่มขึ้น คน 1,500,000 2 ร้อยละการเบิกจ่ายงบประมาณตามแผนการดำเนินงานและแผนการใช้จ่ายงบประมาณ กองทุนฯ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 - งบบริหาร - งบทุนหมุนเวียน - งบอุดหนุน ร้อยละ 100 3 ร้อยละของการชำระคืนเงินกู้ยืมทุนหมุนเวียนตามสัญญาในรอบปีบัญชีปัจจุบัน 4 ความสามารถในการบริหารจัดการหนี้ค้างชำระ 5 ความสามารถในการจัดทำข้อมูลทางการเงินของจังหวัด /กทม 6 จำนวนโครงการที่กองทุนพัฒนาบทบาทสตรีอนุมัติได้รับการส่งเสริมอาชีพ โครงการ 3,000 7 จำนวนกลุ่มอาชีพสตรีได้รับการพัฒนา กลุ่ม 1,520 8 จำนวนผลิตภัณฑ์ของสตรีได้รับการพัฒนาเป็น OTOP ผลิตภัณฑ์ 295 9 จำนวนผู้นำสตรีองค์กรสตรีได้รับการพัฒนาศักยภาพในการบริหารจัดการและพัฒนาคุณภาพชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษกิจพอเพียง 81,000 10 จำนวนกลุ่มของสมาชิกกองทุนที่มีภาคีเครือข่ายในพื้นที่ให้การสนับสนุน 878 11 ระดับความสำเร็จของการบริหารกองทุน ระดับคะแนน 12 ค่าคะแนนถ่วงน้ำหนักการบริหารกองทุนผ่านเกณฑ์มาตรฐานกระทรวงการคลังกำหนด 4 (ขั้นต่ำ)

กองทุนพัฒนาบทบาทสตรีสนับสนุนกลไกการขับเคลื่อนงานในภารกิจกรมการพัฒนาชุมชน

การขับเคลื่อนกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี ภายใต้ CDD Agenda 2017 เศรษฐกิจฐานราก และประชารัฐ การพัฒนาอาชีพ ครัวเรือน แสวงหาความร่วมมือกับภาคีการพัฒนาในการแก้ไขปัญหาและพัฒนาคุณภาพชีวิตของสตรี เสริมสร้างอาชีพและรายได้แก่สตรี เศรษฐกิจครัวเรือน มีความมั่นคง ประชาชนใช้ชีวิต อยู่ในชุมชน อย่างมีความสุข กลุ่มอาชีพสตรี กลุ่มกิจกรรม ท่องเที่ยวชุมชน กลุ่มแปรรูป ,SME กองทุนพัฒนาบทบาทสตรี กลุ่มเกษตร หนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ OTOP พัฒนาผลิตภัณฑ์ของกลุ่มอาชีพสตรี ส่งเสริมการประกอบสัมมาชีพสตรี กลุ่ม OTOP ( กลุ่ม A-C ) กลุ่ม OTOP ( กลุ่ม D )

กองทุนพัฒนาบทบาทสตรีกับยุทธศาสตร์ ความเชื่อมโยงงบประมาณรายจ่าย กองทุนพัฒนาบทบาทสตรีกับยุทธศาสตร์ กรมการพัฒนาชุมชน วาระกรมการพัฒนาชุมชน ปี 2560 (CDD Agenda 2017) ยุทธศาสตร์กองทุนพัฒนาบทบาทสตรี และการประเมินผลทุนหมุนเวียน (ตามเกณฑ์ของกรมบัญชีกลาง ปี 2561)

ยุทธศาสตร์กองทุนพัฒนา บทบาทสตรี2560 – 2564 วาระกรมการพัฒนาชุมชน (CDD Agenda 2017)   เป้าหมาย : เศรษฐกิจครัวเรือนมีความมั่นคง ประชาชนใช้ชีวิตอยู่ในชุมชนอย่างมีความสุข ยุทธศาสตร์ 1 เสริมสร้างอาชีพและรายได้แก่สตรี ยุทธศาสตร์ 2 ส่งเสริมสตรีและเครือข่ายในการพัฒนาคุณภาพชีวิต ยุทธศาสตร์ 3 การเชื่อมโยงกับกลุ่มเครือข่ายในพื้นที่ ยุทธศาสตร์ 4 เสริมสร้างขีดความสามารถกองทุนฯ ตามหลักธรรมาภิบาล ยุทธศาสตร์กรมการพัฒนาชุมชน 2560-2564   ปัจจัยสนับสนุน : กองทุนหนุนเสริมอาชีพครัวเรือน ตัวชี้วัด : ร้อยละของสมาชิกที่มีรายได้เพิ่มขึ้นจากการสนับสนุนเงินทุน ยุทธศาสตร์ 3 เสริมสร้างทุนชุมชนให้มีประสิทธิภาพและมีธรรมมาภิบาล การประเมินผลทุนหมุนเวียน (ตามเกณฑ์ของกรมบัญชีกลาง) ตัวชี้วัด : จำนวนโครงการที่กองทุนพัฒนาบทบาทสตรีอนุมัติ ได้ส่งเสริมอาชีพและเครือข่ายอาชีพ 1,500 โครงการ (ปี 2561) 1. ด้านการเงิน ตัวชี้วัด 1.1 ร้อยละของการชาระคืนเงินกู้ยืมเงินทุนหมุนเวียนตามสัญญา 2. ด้านการสนองประโยชน์ต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ตัวชี้วัด 2.1 ความพึงพอใจของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 3. ด้านการปฏิบัติการ ตัวชี้วัด 3.1 การดาเนินงานตามนโยบายรัฐบาล/กระทรวงการคลัง ตัวชี้วัด 3.2 ความสามารถในการจัดสรรเงินทุนให้แก่สตรีและองค์กรสตรี ตัวชี้วัด 3.3 ความสามารถในการบริหารจัดการหนี้ค้างชาระ ตัวชี้วัด 3.4 ความสามารถในการจัดทาข้อมูลทางการเงินของจังหวัด และ กทม. ประจำปีบัญชี 2561 4. ด้านการบริหารพัฒนาทุนหมุนเวียน ตัวชี้วัด 4.1 บทบาทคณะกรรมการทุนหมุนเวียน ตัวชี้วัด 4.2 การบริหารความเสี่ยงและการควบคุมภายใน ตัวชี้วัด 4.3 การตรวจสอบภายใน ตัวชี้วัด 4.4 การบริหารจัดการสารสนเทศ ตัวชี้วัด 4.5 การบริหารทรัพยากรบุคคล   งบประมาณรายจ่ายกองทุนพัฒนาสตรี ปี 2561 งบประมาณ 2,214,346,200 บาท - งบบริหาร 441,346,200 บาท - งบเงินทุนหมุนเวียน 1,478,,000,000 บาท - งบอุดหนุน 295,000,000 บาท

ตัวชี้วัดกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี ตัวชี้วัดกระทรวงการคลัง จำนวน 4 ด้าน 11 ตัวชี้วัด ตัวชี้วัดผลผลิต ของแผนยุทธศาสตร์ กองทุนพัฒนาบทบาทสตรี พ.ศ. 2561–2564 จำนวน 7 ตัวชี้วัด ตัวชี้วัดกระทรวงมหาดไทย จำนวน 2 ตัวชี้วัด ตัวชี้วัดอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชนกับพัฒนาการจังหวัด จำนวน 1 ตัวชี้วัด 2 3 4 1

1 ตัวชี้วัดกระทรวงการคลัง จำนวน 4 ด้าน 11 ตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่ (4 ด้าน 11 ตัวชี้วัด) น้ำหนัก 1 ผลการดำเนินงาน ด้านการเงิน (20) 1.1ร้อยละของการชำระคืนเงินกู้ยืมเงินทุนหมุนเวียนตามสัญญา 10 2. การสนองประโยชน์ต่อ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (10) 2.1 ความพึงพอใจของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 15 3 ผลการดำเนินงาน ด้านการปฏิบัติงาน (55) 3.1 การดำเนินงานตามนโยบายรัฐบาล/กระทรวงการคลัง 5 3.2 ระดับความสำเร็จในการดำเนินโครงการให้บรรลุวัตถุประสงค์ 3.3 ความสามารถในการจัดสรรเงินทุนให้แก่สตรีและองค์กรสตรี 4. การบริหารพัฒนา ทุนหมุนเวียน (30) 4.1 บทบาทคณะกรรมการทุนหมุนเวียน 4.2 การบริหารความเสี่ยงและการควบคุมภายใน 4.3 การตรวจสอบภายใน 4.4 การบริหารจัดการสารสนเทศ 4.5 การบริหารทรัพยากรบุคคล   4 ด้าน 11 ตัวชี้วัด ผลรวมคะแนน

ตัวชี้วัดผลผลิตของแผนยุทธศาสตร์กองทุนพัฒนาบทบาทสตรี 2 1 ตัวชี้วัดผลผลิตของแผนยุทธศาสตร์กองทุนพัฒนาบทบาทสตรี พ.ศ. 2561–2564 จำนวน 7 ตัวชี้วัด ตัวชี้วัด หน่วยนับ ฐาน ข้อมูล 2559 ค่าเป้าหมาย หน่วย งาน 2561 2562 2563 2564 1. จำนวนโครงการที่กองทุนพัฒนาบทบาทสตรี อนุมัติได้รับการส่งเสริมอาชีพ โครงการ 3,000 4,500 6,000 7,000 สกส./จังหวัด/กทม. 2. จำนวนกลุ่มอาชีพสตรีได้รับการพัฒนา กลุ่ม 1,520 3. จำนวนผลิตภัณฑ์ของสตรีได้รับการพัฒนาเป็น OTOP ผลิตภัณฑ์ 295 4. จำนวนผู้นำสตรีองค์กรสตรีได้รับการพัฒนาศักยภาพ ในการบริหารจัดการและพัฒนาคุณภาพชีวิต ตามหลักปรัชญาของเศรษกิจพอเพียง ราย 81,000 5. จำนวนกลุ่มของสมาชิกกองทุนที่มี ภาคีเครือข่ายในพื้นที่ให้การสนับสนุน 878 6. ระดับความสำเร็จของการบริหารกองทุน ระดับ 5 7. ค่าคะแนนถ่วงน้ำหนักการบริหารกองทุน ผ่านเกณฑ์มาตรฐานกระทรวงการคลังกำหนด คะแนน 4

ตัวชี้วัดกระทรวงมหาดไทย จำนวน 2 ตัวชี้วัด 3 3 ตัวชี้วัดกระทรวงมหาดไทย จำนวน 2 ตัวชี้วัด 3.1 การเพิ่มสมาชิก ตั้งเป้าหมาย สมาชิกประเภทบุคคลธรรมดา 14.5 ล้านคน ประเภทองค์กรสตรี ร้อยละ 50 ขององค์สตรีในแต่ละจังหวัด 3.2 การชำระคืนหนี้ค้างชำระ 1. หนี้ค้างชำระที่มีสัญญา ตั้งแต่ ปี 2556- 30 เม.ย. 59 - ตรวจสอบลูกหนี้ครบถ้วน ถูกต้อง และเป็นปัจจุบัน (มีการยืนยันลูกหนี้ ,ปรับโครงสร้างหนี้ และดำเนินคดีกรณีมีหนี้ทุจริต ) และมีการชำระคืนตามรายงวดที่มีการปรับโครงสร้างหนี้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 98 2. หนี้ที่ครบสัญญาตามรายงวด ที่ทำสัญญาในปี 2560 -2561 (การชำระคืนรายงวดตามสัญญา) ไม่น้อยกว่าร้อยละ 98 3.3 การเบิกจ่ายงบประมาณตามแผนฯ ร้อยละ 96 ของผลการเบิกจ่ายงบประมาณตามแผนการดำเนินงานและแผนการใช้จ่ายงบประมาณ

ตัวชี้วัดอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชนกับพัฒนาการจังหวัด จำนวน 1 ตัวชี้วัด 4 4 ตัวชี้วัดอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชนกับพัฒนาการจังหวัด จำนวน 1 ตัวชี้วัด ชื่อตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี ระดับคะแนน รอบที่ 1 (ต.ค.60 – มี.ค.61) 1 เบิกจ่ายงบประมาณกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี ประจำปีงบประมาณ 2561 สิ้นสุดไตรมาส 2 ได้น้อยกว่าร้อยละ 60 2 เบิกจ่ายงบประมาณกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี ประจำปีงบประมาณ 2561 สิ้นสุดไตรมาส 2 ได้ร้อยละ 60 3 เบิกจ่ายงบประมาณกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี ประจำปีงบประมาณ 2561 สิ้นสุดไตรมาส 2 ได้ร้อยละ 70 4 เบิกจ่ายงบประมาณกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี ประจำปีงบประมาณ 2561 สิ้นสุดไตรมาส 2 ได้มากกว่าร้อยละ 70 5 เบิกจ่ายงบประมาณกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี ประจำปีงบประมาณ 2561 สิ้นสุดไตรมาส 2 ได้มากกว่าร้อยละ 70 และบันทึกข้อมูลการเบิกจ่ายงบประมาณในระบบ SARA ถูกต้อง ครบถ้วน

ตัวชี้วัดอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชนกับพัฒนาการจังหวัด 4 4 ตัวชี้วัดอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชนกับพัฒนาการจังหวัด จำนวน 1 ตัวชี้วัด ชื่อตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี ระดับคะแนน รอบที่ 2 (เม.ย. – ก.ย. 61) 1 เบิกจ่ายงบประมาณกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี ประจำปีงบประมาณ 2561 สิ้นสุดไตรมาส 4 ได้น้อยกว่าร้อยละ 94 2 เบิกจ่ายงบประมาณกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี ประจำปีงบประมาณ 2561 สิ้นสุดไตรมาส 4 ได้ร้อยละ 94 3 เบิกจ่ายงบประมาณกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี ประจำปีงบประมาณ 2561 สิ้นสุด ไตรมาส 4 ได้ร้อยละ 98 4 เบิกจ่ายงบประมาณกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี ประจำปีงบประมาณ 2561 สิ้นสุด ไตรมาส 4 ได้ร้อยละ 100 5 เบิกจ่ายงบประมาณกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี ประจำปีงบประมาณ 2561 สิ้นสุดไตรมาส 4 ได้ ร้อยละ 100 และบันทึกข้อมูลการเบิกจ่ายงบประมาณในระบบ SARA ถูกต้อง ครบถ้วน

ตัวชี้วัดกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีที่สำคัญ 1 การเพิ่มสมาชิก ตั้งเป้าหมาย สมาชิกประเภทบุคคลธรรมดา 14.5 ล้านคน ประเภทองค์กรสตรี ร้อยละ 50 ขององค์สตรีในแต่ละจังหวัด 2 การชำระคืนหนี้ค้างชำระ 1. หนี้ค้างชำระที่มีสัญญา ตั้งแต่ ปี 2556- 30 เม.ย. 59 - ตรวจสอบลูกหนี้ครบถ้วน ถูกต้อง และเป็นปัจจุบัน (มีการยืนยันลูกหนี้ ,ปรับโครงสร้างหนี้ และดำเนินคดีกรณีมีหนี้ทุจริต ) และมีการชำระคืนตามรายงวดที่มีการปรับโครงสร้างหนี้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 2. หนี้ที่ครบสัญญาตามรายงวด ที่ทำสัญญาในปี 2560 -2561 (การชำระคืนรายงวดตามสัญญา) ไม่น้อยกว่าร้อยละ 98 3 การเบิกจ่ายงบประมาณ ตามแผนฯ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 96 ของผลการเบิกจ่ายงบประมาณตามแผนการดำเนินงานและแผนการใช้จ่ายงบประมาณ ภาพรวมทั่วประเทศ 4. ความสามารถในการจัดทำข้อมูลทางการเงินของจังหวัด 1.ข้อมูลทางการเงินรายเดือน ทุกวันที่ 15 ของเดือนถัดไป 2. ข้อมูลยืนยันทางการเงิน ภายใน 15 ตุลาคม

ตัวชี้วัดที่เกี่ยวข้องกับจังหวัด 1.1 ร้อยละของการชำระคืนเงินกู้ยืมเงินทุนหมุนเวียนตามสัญญา 2.1 ความพึงพอใจของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 3.1 การดำเนินงานตามนโยบายรัฐบาล/กระทรวงการคลัง 3.2 ความสามารถในการจัดสรรเงินทุนให้แก่สตรีและองค์กรสตรี 3.3 ความสามารถในการบริหารจัดการหนี้ค้างชำระ 3.4 ความสามารถในการจัดทำข้อมูลทางการเงินของจังหวัดและ กทม. ประจำปี 2561 4.1 บทบาทคณะกรรมการทุนหมุนเวียน 4.4 การบริหารจัดการสารสนเทศ

สรุปผลการเบิกจ่ายงบประมาณ กองทุนพัฒนาบทบาทสตรี รายจังหวัด (ภาคกลาง) ประจำปีงบประมาณ 2561 (ข้อมูลในระบบ SARA ณ วันที่ 12 มกราคม 2561)

การบริหารจัดการหนี้ กองทุนพัฒนาบทบาทสตรี

การดำเนินการกับหนี้ค้างชำระของกองทุน หนี้ค้างชำระของกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีประกอบด้วยหนี้กองทุนเดิมกับหนี้กองทุนใหม่ หนี้กองทุนเดิม เป็นหนี้ที่เกิดจากสัญญา กู้ยืมเงินตามโครงการที่ขอรับการสนับสนุนเงินประเภทเงินทุนหมุนเวียน เป็นหนี้ที่เกิดขึ้นระหว่างปี 2556-2559 ซึ่งเป็นช่วงการบริหารของคณะกรรม การกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีจังหวัดกับคณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีกรุงเทพมหานคร ตามระเบียบ สำนักนายกรัฐ มนตรีว่าด้วยกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี พ.ศ. 2555 และฉบับที่แก้ไขเพิ่มเติม การผิดนัดชำระหนี้ 1. หนี้ที่ไม่มีกำหนดเวลาตามวันแห่งปฏิทิน เมื่อมีการแจ้งเตือนแล้วลูกหนี้ไม่ชำระหนี้ ลูกหนี้ตกเป็นผู้ผิดนัด 2. หนี้ที่มีกำหนดเวลาชำระหนี้ตามวันแห่งปฏิทิน เมื่อหนี้ถึงกำหนดแล้วลูกหนี้ไม่ชำระลูกหนี้ ผิดนัดทันที

ผลของการ ผิดนัดชำระหนี้ ดอกเบี้ยผิดนัด ดอกเบี้ยโดยผลกฎหมาย เป็นกรณีที่สัญญาไม่ได้ระบุดอกเบี้ย ผิดนัดไว้ กฎหมายให้คิดดอกเบี้ยผิดนัดได้ร้อยละ 7.5 ต่อปี ดอกเบี้ยตามสัญญา เป็นกรณีที่สัญญากำหนดไว้ให้คิดดอกเบี้ยกันเท่าใด ดอกเบี้ยผิดนัดคงคิดได้ตามสัญญา เบี้ยปรับ เงินที่ลูกหนี้สัญญาแก่เจ้าหนี้ว่าจะใช้ให้แก่เจ้าหนี้เมื่อลูกหนี้ไม่ชำระหนี้หรือไม่ชำระหนี้ให้ถูกต้อง หากระบุไว้เท่าใดก็ให้คิดได้ตามนั้น

สัญญากำหนดชำระหนี้คืนแบ่งเป็นรายงวด อายุความมีกำหนด 5 ปี สัญญากำหนดชำระหนี้คืนงวดเดียวอายุความมีกำหนด 10 ปี การนับอายุความ กรณีไม่ชำระหนี้ตั้งแต่งวดแรก กรณีชำระติดต่อกันแล้วหยุดชำระ กรณีชำระหนี้บางส่วน นับถัดจากวันผิดนัดชำระหนี้งวดแรก นับถัดจากวันผิดนัดชำระหนี้งวดแรก นับถัดจากวันชำระหนี้ครั้งหลังสุด นับถัดจากวันชำระหนี้ครั้งหลังสุด

ขั้นตอนการติดตามหนี้กองทุนพัฒนาบทบาทสตรี 1. ประสานทางโทรศัพท์ 2. ทำหนังสือทวงถามหนี้ 3. ติดตามโครงการ 4. สอบถามผู้อื่น ภายใน 15 วัน นับแต่ครบกำหนดชำระหนี้ ให้ชำระหนี้ ภายใน 30 วัน สมาชิกค้างชำระหนี้ 3 งวด ขึ้นไป กรณีไม่พบผู้กู้หรือผู้ค้ำประกัน 5. ติดต่อสำนักทะเบียน 6. ผู้กู้ถึงแก่ความตาย 7. เจรจาหาข้อตกลง 8. รายงาน อพช. กรณีไม่สามารถติดต่อ ผู้กู้หรือผู้ค้ำได้ แจ้งทายาทหรือ ผู้ค้ำประกันให้ทราบ ตกลงได้ทำหนังสือรับสภาพหนี้/ปรับโครงสร้างหนี้ ตกลงไม่ได้ ดำเนินคดีแพ่ง

ขั้นตอนการปรับโครงสร้างหนี้ เป็นสมาชิกที่ไม่สามารถชำระหนี้ได้ 1. หลักเกณฑ์ เป็นสมาชิกที่ไม่สามารถชำระหนี้ได้ 1. ลดจำนวนเงินงวด ผ่อนผันหรือขยายเวลาการชำระหนี้ 2. ลดอัตราเบี้ยปรับลงไม่ตำกว่าร้อยละ 7.5 อาจขยายหรือไม่ขยายระยะเวลาชำระหนี้ก็ได้ 2.วิธีการ **หมายเหตุ ต้องชำระหนี้ไม่เกิน 2 ปี **

ขั้นตอนการปรับโครงสร้างหนี้ 1) สมาชิกยื่นคำขอต่อ อกส.อ. 2) คณะทำงานติดตามหนี้ฯ ตรวจสอบหนี้ค้างชำระ คณะทำงานติดตามหนี้อำเภอประเมินสถานะ และความสามารถในการชำระหนี้ ประชุมคณะอนุ ฯ อำเภอและคณะทำงานติดตามหนี้อำเภอ พิจารณาวิธีปรับโครงสร้างหนี้ แล้วเสนอคณะทำงานติดตามหนี้จังหวัด คณะทำงานติดตามหนี้จังหวัด เสนอความเห็นไปยังคณะอนุฯ จังหวัดเพื่อพิจารณาปรับโครงสร้างหนี้ ทำบันทึกข้อตกลงและลงลายมือชื่อทุกคนในเอกสารแนบท้ายสัญญา อนุมัติ แจ้งสมาชิกทราบ พร้อมเหตุผลภายใน 7 วัน นับแต่มีมติ ไม่อนุมัติ

การทำหนังสือรับสภาพหนี้ 1. ยืนยันจำนวนยอดหนี้ที่แท้จริง 2. ทำก่อนคดีจะขาดอายุความ 3. อายุความสะดุดหยุดลง เริ่มนับอายุความใหม่ 4. การคำนวณ ณ วันรับสภาพหนี้ 5. การคำนวณยอดเงินที่ต้องชำระตลอดเวลารับสภาพหนี้ 6. ผิดนัดชำระหนี้งวดใดงวดหนึ่ง ให้ถือว่าผิดนัดทั้งหมด และให้ดำเนินคดีตามกฎหมายทันที ยอดเงินค้างชำระ เงินต้นค้างชำระ + ดอกเบี้ยตามสัญญา + ดอกเบี้ยผิดนัด ยอดเงินค้างชำระ (เงินต้นค้างชำระ × 7.5%) + ดอกเบี้ยตามสัญญา +ดอกเบี้ยผิดนัด

ทะเบียนสมาชิกลูกหนี้ ตามปีที่หมดอายุความดำเนินคดี (ข้อมูล ณ วันที่ 15 ธันวาคม 2560)

จังหวัด รายการ 2561 2562 2563 2564 2565 2566 2567 2568 2569 มากกว่า 2569 รวม กำแพงเพชร จำนวนโครงการ 1 11 81 59 107 47 306 เงินต้น 11,000.00 515,000.00 3,759,190.00 4,748,291.00 8,565,248.00 2,644,725.00 20,243,454.00 ดอกเบี้ย/เบี้ยปรับ 16,450.00 99,000.10 111,230.00 227,462.00 81,206.00 535,348.10 เชียงราย 9 8 6 32 55 245,000.00 710,000.00 470,000.00 1,904,433.33 3,329,433.33 31,140.00 19,500.00 11,100.00 18,480.00 80,220.00 เชียงใหม่ 49 17 88 5 2 66 247 100,099.00 106,666.01 293,472.00 2,136,517.95 0.5 8,960.40 519,717.20 3,165,433.06 19,012.50 17,595.97 15,822.88 1,776.70 9,067.50 1,821.60 1,331.50 16,850.50 -0.4 83,278.75 ตาก 15 7 58 35 25 152 160,000.00 780,000.00 150,000.00 1,979,389.00 134,400.00 1,239,873.00 2,238,241.00 1,490,962.91 8,172,865.91 4,841.00 24,945.00 8,740.00 32,616.00 3,000.00 38,500.00 99,093.00 52,239.46 13,860.00 277,834.46 นครสวรรค์ 4 23 14 74 162 105 110 508 7,240.00 425,000.00 2,709,950.00 691,500.00 924,605.00 65,160.00 2,897,070.00 7,754,859.00 4,239,458.00 5,226,501.25 24,941,343.25 217 13,163.00 103,772.75 1,720.00 -32,900.00 22,946.10 231,537.08 341,768.10 -22,393.50 -73,028.25 586,802.28 น่าน 3 13 30,000.00 175,000.00 164,850.00 421,440.55 791,290.55 8,100.55 5,421.00 -11,517.00 2,004.55

จังหวัด รายการ 2561 2562 2563 2564 2565 2566 2567 2568 2569 มากกว่า 2569 รวม พะเยา จำนวนโครงการ 17 1 71 41 37 291 458 เงินต้น 585,920.00 30,000.00 640,000.00 984,000.00 832,049.00 923,289.34 3,995,258.34 ดอกเบี้ย/เบี้ยปรับ 1,980.12 21,000.00 31,395.00 24,300.00 50,316.00 128,991.12 พิจิตร 4 5 3 16 39 32 148 247 200,000.00 470,990.00 1,780,000.00 3,446,397.00 2,241,760.00 10,913,734.00 19,052,881.00 4,812.50 -2,399.14 5,000.00 45,415.00 9,776.80 49,882.50 167,618.50 280,106.16 พิษณุโลก 23 38 48 44 153 1,033,459.00 3,094,316.00 4,322,807.00 3,905,484.00 12,356,066.00 25,514.27 32,272.00 72,167.50 20,076.30 150,030.07 เพชรบรูณ์ 2 64 68 54,000.00 156,850.00 1,836,326.97 2,047,176.97 1,620.00 4,706.00 15,237.00 21,563.00 แพร่ 383 392 41,800.00 108,392.00 2,700,880.65 2,851,072.65 3,000.00 6,000.00 20,700.00 29,700.00 แม่ฮ่องสอน 40 126 65 308 1,777,186.67 5,018,419.00 4,602,974.50 4,785,485.00 110,000.00 250,000.00 100,000.00 16,644,065.17 53,472.03 230,192.00 174,462.00 181,720.75 6,600.00 4,939.00 657,385.78

จังหวัด รายการ 2561 2562 2563 2564 2565 2566 2567 2568 2569 มากกว่า 2569 รวม ลำปาง จำนวนโครงการ 10 15 44 40 12 50 107 90 368 เงินต้น 501,560.00 672,209.75 1,356,338.30 1,193,572.30 732,300.00 2,934,610.00 5,233,738.05 4,342,879.80 16,967,208.20 ดอกเบี้ย /เบี้ยปรับ 15,124.80 12,840.00 8,370.00 987 35,400.00 139,358.00 69,910.00 87,400.00 369,389.80 ลำพูน 55 89 78 134 366 842,229.00 3,593,500.00 8,083,100.00 5,168,520.00 9,493,867.66 27,181,216.66 26,500.00 100,759.00 233,635.00 141,900.00 279,417.00 782,211.00 อุตรดิตถ์ 2 103 119 72,100.00 837,048.00 5,396,368.53 6,305,516.53 0.4 9,000.00 62,050.00 71,050.40 อุทัยธานี 3 70 87 175 86 6 1 4 446 310,000.00 4,218,000.00 6,440,370.00 9,319,718.00 4,474,519.80 70,000.00 268,999.00 775,182.00 25,876,788.80 6,200.00 110,040.00 182,082.00 16,900.00 17,816.00 3,000.00 6,900.00 1,400.00 1,000.00 22,700.00 368,038.00

สวัสดี