การให้ข้อมูลและเสริมพลัง แก่ผู้ป่วย/ครอบครัว

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
Advertisements

สภาพปัญหา / สาเหตุของปัญหา กระบวนการวางแผน/แนวทางการพัฒนา
1. การประเมินผู้รับบริการก่อน ให้บริการ 2. การเฝ้าระวังผู้รับบริการกลุ่ม เสี่ยง 3. การเฝ้าระวังผู้ป่วยที่มีการ แพร่กระจายเชื้อ 4. การมีส่วนร่วมในทีมสห.
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
1. การให้การดูแลผู้ป่วยแบบ ปฐมภูมิ 2. การประเมินผู้ป่วยตามความ รุนแรง 3. การดูแลผู้ป่วยที่อาจมีอาการ เปลี่ยนแปลง 4. การป้องกันและการเฝ้าระวัง การติดเชื้อในชุมชน.
ยุวกาชาดกับเส้นทางการทำงานด้านผู้สูงอายุ
เครื่องชี้วัดคุณภาพ วัตถุประสงค์: เพื่อให้ผู้เรียน
ให้ความรู้ผู้ป่วยโรคไซนัสอักเสบ
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
การขัดเกลาทางสังคมซ้ำเพื่อสร้างพฤติกรรมการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ ของเยาวชนในศูนย์ฝึกและอบรมเด็กและเยาวชน ผู้วิจัย นภัสวรรณ บุญประเสริฐ หลักสูตรปริญญาศิลปศาสตรดุษฎี
โรงพยาบาลอ่างทอง ชื่อผู้ติดต่อ นางรัตนา งิ้ววิจิตร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ กลุ่มงาน เวชกรรมสังคม โทรศัพท์ อีเมล์
ปี จะเห็นได้ว่า ร้อยละของการตรวจคัดกรอง ภาวะแทรกซ้อนทางเท้า สามารถทำได้ดีขึ้นเรื่อยๆ คิด เป็น %,90.81.
การประเมินผู้ป่วยบาดเจ็บศีรษะ
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
รพ.พุทธมณฑล.
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนนทบุรี
สำนักงานพัฒนาระบบสาธารณสุข
นโยบายด้านโรคติดต่อ ศ. คลินิกเกียรติคุณ นพ. ปิยะสกล สกลสัตยาทร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข.
การพัฒนาโปรแกรมระบบ รายงาน หน่วยงานเวชสารสนเทศ หน่วยงานเวชสารสนเทศ กลุ่มพัฒนาระบบบริการ สุขภาพโรงพยาบาลสุโขทัย.
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระบบบัญชี สุขภาพ (1-8) กุมภาพันธ์ 2558 สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดบุรีรัมย์
องค์ความรู้ที่จำเป็นในการปฏิบัติราชการ แบบฟอร์มที่ 1 การจำแนกองค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการผลักดันตามประเด็นยุทธศาสตร์ ของส่วนราชการ ชื่อส่วนราชการ : กรมทรัพยากรน้ำบาดาล.
การขับเคลื่อนงานสุขภาพจิต วัยทำงาน ประจำปี 2559 โดย โรงพยาบาลจิตเวชนครสวรรค์ราช นครินทร์
การดูแลระยะกลาง (Intermediate Care)
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
การเพิ่มประสิทธิภาพ ระบบบริหารจัดการความเสี่ยง
อสม.นักจัดการสุขภาพตามกลุ่มวัย
COMPETENCY DICTIONARY
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
แพทย์หญิงวันทนีย์ วัฒนะ ผู้อำนวยการสำนักอนามัย
สรุปแนวทางการดำเนินงานตามกลุ่มวัย
ตัวชี้วัดที่ 1 : อัตราส่วนการตายมารดาไทย ค่าเป้าหมายไม่เกิน 20 ต่อการเกิดมีชีพแสนราย เปรียบเทียบอัตราส่วนการตายมารดารายเขต ปี 2560 กับ 2561ในช่วงเวลาเดียวกัน.
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
“การดูแลหญิงหลังคลอด และ ครอบครัวที่ติดเชื้อ เอช ไอ วี”
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
แนวทางการดำเนินงานเพื่อผู้สูงอายุ
โครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลท่าดินแดง
SERVICE PLAN สาขาโรคไม่ติดต่อ.
โครงการกำจัดปัญหาโรคพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี ถวายเป็นพระราชกุศลฯ
การบริหารงานประชาสัมพันธ์ของจังหวัด : การประชาสัมพันธ์และการจัดการสื่อ
ผลการดำเนินงาน การบริหารจัดการประเมิน และดูแลผู้ป่วยก่อนกลับเข้าทำงาน
เปิดบ้าน ชื่อโรงเรียน วันที่.
บทที่ 4 การดูแลให้ได้รับการพักผ่อนและความปลอดภัย การจัดการสิ่งแวดล้อม การทำเตียง อ.กรวรรณ สุวรรณสาร.
รพ.สต.สายใยรัก อำเภอสัตหีบ
การพัฒนาระบบการดูแลผู้รับบริการเพื่อตรวจรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
Ph.D. (Health MS.Health การประเมินผลการสร้างเสริมสุขภาพประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง The Health Promotion.
แพทย์หญิงดนุชา ช่อเฟื้อง
พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย (9 ตัว) กลุ่มเด็กปฐมวัย (๐-๕ ปี)/สตรี 1.อัตราส่วนการตายของมารดาไม่เกิน15ต่อการเกิดมีชีพแสนคน 2.ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย.
ชาลิณี ปิยะประสิทธิ์ สปสช.เขต 10 อุบลราชธานี 21 กันยายน 2560
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
คลินิกโรคติดเชื้อเด็ก โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์
Service Profile : งานกายภาพบำบัด กลุ่มงานเวชกรรมฟื้นฟู
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
มะเร็งปากมดลูก โดย นางจุฑารัตน์ กองธรรม พยาบาลวิชาชีพ รพ.สต.บ้านโนนแต้
การป้องกันควบคุมโรค NCDs
การติดตาม (Monitoring)
ปัญหาและสาเหตุโดยย่อ
เยาวเรศ ก้านมะลิ 1 อรัญ ซุยกระเดื่อง2
รายงานสถานการณ์E-claim
Service Profile :PCT ศัลยกรรม รพร.เดชอุดม
ประเด็น ที่ 4 อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่
งานวิสัญญี รพร.เดชอุดม
Service Profile : ตึกศัลยกรรมกระดูก ความเสี่ยง/ความท้าทาย
Ph.D. (Health MS.Health การประเมินผลการสร้างเสริมสุขภาพประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง The Health Promotion.
การพัฒนาการทำแผล หอผู้ป่วยพิเศษร่มเย็น 4
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
คุณต้องรู้ว่าคุณกำลังมีปัญหาอะไร?
จุดเน้นในการพัฒนา/แผนพัฒนา ความเสี่ยง/ความท้าทาย
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การให้ข้อมูลและเสริมพลัง แก่ผู้ป่วย/ครอบครัว 19พ.ย.56 กุลธิดา ทีหอคำ

lll – 5 การให้ข้อมูลและเสริมพลังแก่ผู้ป่วย / ครอบครัว ทีมผู้ให้บริการให้ข้อมูลเกี่ยวกับสภาวะสุขภาพแก่ผู้ป่วย /ครอบครัว และทำกิจกรรมที่วางแผนไว้เพื่อเสริมพลังผู้ป่วย / ครอบครัวให้มีความสามารถและรับผิดชอบในการดูแลสุขภาพของตนเอง รวมทั้งเชื่อมโยงการสร้างเสริมสุขภาพเข้าในทุกขั้นตอนของการดูแล 1.ทีมผู้ให้บริการประเมินผู้ป่วยเพื่อวางแผนและกำหนดกิจกรรมการเรียนรู้ การประเมินครอบคลุมปัญหา/ความต้องการของผู้ป่วย ขีดความสามารถ ภาวะทางด้านอารมณ์ จิตใจ ความพร้อมในการเรียนรู้และดูแลตนเอง 2. ทีมผู้ให้บริการให้ข้อมูลที่จำเป็นและช่วยเหลือให้เกิดการเรียนรู้ สำหรับการดูแลตนเองและการมีพฤติกรรมสุขภาพที่เอื้อต่อการมีสุขภาพดีแก่ผู้ป่วยและครอบครัว อย่างเหมาะสมกับปัญหา เวลา มีความชัดเจนและเป็นที่เข้าใจง่าย มีการประเมินการรับรู้ ความเข้าใจและความสามารถในการนำข้อมูลที่ได้รับไปปฏิบัติ 3. ทีมผู้ให้บริการให้ความช่วยเหลือทางด้านอารมณ์ จิตใจและคำปรึกษาที่เหมาะสมแก่ผู้ป่วยและครอบครัว

บริบท การให้ข้อมูลเสริมพลังแก่ผู้ป่วยและครอบครัวเป็นสิ่งที่สำคัญ โรงพยาบาลได้มีกิจกรรมเพื่อเสริมพลังผู้ป่วยและครอบครัว เพื่อให้ผู้ป่วย /ครอบครัวสามารถดูแลสุขภาพของตนเองได้

โรงพยาบาลบึงกาฬได้ให้ข้อมูลและเสริมพลังในโรค STIMI Stroke CKD ที่ทำ CAPD Asthma DM HT ผู้ป่วยระยะสุดท้าย ผู้ป่วยหลังผ่าตัดทางศัลยกรรม ทารกแรกเกิดน้ำหนักตัวน้อย

กระบวนการ บทเรียนเกียวกับการวางแผนและกำหนดกิจกรรมการเรียนรู้ มีการประเมินสภาพของผู้ป่วยแบบองค์รวมตั้งแต่แรกรับ เพื่อใช้ในการวางแผนการรักษาควบคู่กับการให้ข้อมูลเพื่อสร้างการเรียนรู้ให้แก่ผู้ป่วย การประเมินผู้ป่วยให้ครอบคลุมและมีแนวทางให้บันทึกลงในเวชระเบียน เพื่อสื่อสารวิชาชีพที่เกี่ยวข้อง เช่น มารดาหลังคลอดมีการฝึกปฏิบัติการดูแลทารก การอาบน้ำ การให้นมบุตรที่ถูกวิธี ผู้ป่วยหลังผ่าตัดช่องท้อง ได้รับการประเมินและดูแลส่งเสริมให้มีกิจกรรมเพื่อลดอาการท้องอืด การดูแลทารกน้ำหนักตัวน้อย มีการส่งเสริมการดูแลร่วมกัน และเรียนรู้จากมารดาที่มีบุตรน้ำหนักตัวน้อยเหมือนกัน

บทเรียนเกียวกับการให้ข้อมูลที่จำเป็น การสร้างการเรียนรู้ เพื่อการดูแลตนเองและพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม *การให้ข้อมูลเรื่องโรคและการปฏิบัติตัวในการดูแลตนเอง เช่น ไข้เลือดออก แนะนำเรื่องความรุนแรงของโรค การระบาดเพื่อนำข้อมูลไปสร้างเสริมสุขภาพในชุมชน ในผู้ป่วยที่มีแผล ได้รับการฝึกทักษะในการดูแลแผลและให้คำปรึกษาทางโทรศัพท์ ตลอดจนดูการสาธิตการดูแลแผลทางเคเบิ้ลทีวี ผู้ป่วยที่ได้รับการใส่สายสวนปัสสาวะจะได้รับการฝึกใส่สายสวนปัสสาวะ เพื่อให้สามารถใส่สายสวนปัสสาวะได้ด้วยตนเอง

บทเรียนเกียวกับการให้ความช่วยเหลือด้านอารมณ์ จิตใจและคำปรึกษา บทเรียนเกียวกับการให้ความช่วยเหลือด้านอารมณ์ จิตใจและคำปรึกษา * มีการสร้างสัมพันธะภาพในการดูแลเพื่อให้เกิดความเชื่อถือไว้วางใจ มีการประเมินสภาวะทางจิตใจอารมณ์สังคม พบความผิดปกติจะให้คำปรึกษาที่เหมาะสมทันที ถ้าเกินความสามารถจะปรึกษาพยาบาลจิตเวช นักจิตวิทยา นักสังคมสงเคราะห์ ในปี56 มีแผนในการดำเนินในกลุ่มผู้สูงอายุและผู้พิการระดับCUPได้รับการประเมินและเฝ้าระวังภาวะซึมเศร้า/ฆ่าตัวตาย ร้อยละของผู้ป่วยโรคซึมเศร้าเข้าถึงบริการ=80% ทำได้ 77.11%

บทเรียนเกียวกับการร่วมกันกำหนดแผนการดูแลผู้ป่วยโดยทีมผู้ให้บริการกับผู้ป่วย / ครอบครัว ผู้ให้บริการทีมที่เกี่ยวข้อง ผู้ป่วย และญาติจะมีการวางแผนร่วมกัน เพื่อให้การดูแลรักษาต่อเนื่อง มีการวางแผนการจำหน่ายผู้ป่วยเช่น PCTศัลยกรรม วางแผนจำหน่ายตามวิธี D-METHOD ในผู้ป่วยผ่าตัดไส้ติ่ง PCTกุมารเวชกรรม โรคไข้เลือด หอบหืด PCTอายุรกรรม โรค Stroke COPD PCTสูติกรรม แม่หลังคลอดการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว อย่างน้อย 6 เดือน การวางแผนครอบครัว

บทเรียนเกี่ยวกับการจัดกิจกรรมเสริมพลัง/เสริมทักษะให้แก่ผู้ป่วย/ครอบครัว ให้มีความสามารถในการดูแลตนเอง แต่ละPCTจัดกิจกรรมเฉพาะตามกลุ่มโรค DM ได้รับข้อมูลเกี่ยวกับโรคและการดูแลตนเองของผู้ป่วยและญาติในการปรับเปลี่ยน พฤติกรรมเรื่องอาหาร การใช้ยาที่ถูกต้อง การออกกำลังกาย การมาตรวจตามนัด การสอนผู้ป่วยตรวจเท้าด้วยตนเอง โดยประเมินร่วมกับ นักกายภาพบำบัดและมีการจัดหารองเท้าที่เหมาะสมสำหรับผู้ป่วย Stroke หลังได้รับยาละลายลิ่มเลือด จัดกิจกรรมเสริมพลัง/ทักษะให้แก่ผู้ป่วย/ ครอบครัวขณะอยู่รพ.และตามเยี่ยมบ้าน มารดาหลังคลอด เน้นกิจกรรมที่ทำร่วมกันกับครอบครัวผู้คลอดในการดูแลทารก

บทเรียนเกี่ยวกับการประเมินผลกระบวนการเรียนรู้และเสริมพลัง การให้เบอร์โทรศัพท์ของหอผู้ป่วยและพยาบาลที่ผู้ป่วยสามารถซักถาม เมื่อเกิดข้อขัดข้องและเพิ่มความอุ่นใจเมื่อเวลาเกิดปัญหา เช่น การโทรสายตรงหาศูนย์พึ่งได้ของรพ.ตลอดเวลา การโทรติดตามเรื่องแผลผ่าตัด การโทรติดตามการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ผลการพัฒนาที่สำคัญ การเสริมพลังผู้ป่วย/ญาติโรคStrokeโดยสหสาขาวิชาชีพประกอบด้วยแพทย์ พยาบาล นักกายภาพบำบัด นักโภชนากร มาตรฐาน Score ประเด็นในแผนการพัฒนา 1-2 ปีข้างหน้า 88.การให้ข้อมูลและเสริมพลัง 2 พัฒนาระบบการวางแผนการจำหน่ายของผู้ป่วยแต่ละรายเพิ่มการค้นหาปัญหาด้านจิตใจและการให้ข้อมูลด้านการสร้างเสริมสุขภาพให้เหมาะสมกับผู้ป่วยทุกราย

lll – 5 การให้ข้อมูลและเสริมพลังแก่ผู้ป่วย / ครอบครัว เป้าหมาย / ประเด็นคุณภาพที่สำคัญ ข้อมูล/ตัวชี้วัด เป้าหมาย 2553 2554 2555 2556 ร้อยละผู้ป่วย CVAที่Admitได้รับบริการกายภาพบำบัดเพื่อฟื้นฟูก่อนกลับบ้าน 80% NA 33.47 161/ 481 ร้อยละของ Care giver ที่เข้ารับการฝึกการดูแลทารกแรกเกอดก่อนกำหนดก่อนจำหน่าย 100% กำลังดำเนินการ ร้อยละของมารดาหลังคลอดที่ได้รับคำแนะนำการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่และให้นมลูกอย่างถูกวิธีก่อนจำหน่าย 90% ข้อมูลที่นมแม่ ร้อยละของญาติที่ผ่านเกณฑ์ประเมินความสามารถในการดูแลตนเองของผู้ป่วยในโรค DHF ,Diarrhea,Febrile convulsion 80 %

Thank you Thank you