หน่วยที่ 1 ความหมายและความสำคัญ ของการสร้างเครื่องมือประเมินภาคปฏิบัติ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การติดตามและ ประเมินผลโครงการ
Advertisements

การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
การจัดทำแผนปฏิทินการจัดการความรู้ และแผนในการติดตามประเมินผลการจัดการความรู้ E:\ประกันคุณภาพ\ppt\ดูงาน\12-PPT_เสนอ_ครุศาสตร์_จุฬา_19_11_50.ppt.
มาตรฐานคุณภาพการสอน ของ คณะกรรมการแห่งชาติ ว่าด้วยมาตรฐานวิชาชีพครู (The National Board for Professional Teaching Standards) วิกฤติอาชีพครู พัฒนาวิชาชีพครู
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้แบบย้อนกลับ (Backward Design)
แนวทางการสอน เพื่อพัฒนาทักษะเด็กตามรูปแบบการสอน
ชื่อเรื่อง : ศึกษาผลการจัดการเรียนรู้ ในรายวิชาการบัญชีบริหาร ด้วยวิธีการเรียนรู้แบบกลุ่มคละผลสัมฤทธิ์ STAD ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้สถานการณ์จำลองการวางแผนงบประมาณในธุรกิจการผลิตเฟอร์นิเจอร์
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชา อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
กระบวนการถ่ายทอดความรู้
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
หลักสูตร วิทยากรแนว ปฏิบัติ การใช้แรงงานที่ดี (Training of Trainer : TOT) โดย กรวรรณ จงสถาพรพันธ์ ผู้อำนวยการกลุ่มงานพัฒนาระบบ มาตรฐานแรงงาน 1.
กิจกรรมแนะแนวการศึกษาและ อาชีพ ม.5 โปรแกรมการพัฒนาการตระหนักรู้และ ความสามารถในการตัดสินใจเลือก อาชีพและศึกษาต่อ คุณครูสุนันท์ ปรารมย์
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
การวางแผน การศึกษาระดับ จุลภาค Micro Planning.  ความเชื่อพื้นฐานทางการวางแผน การศึกษา  การวางแผนก็เปรียบเสมือนการจัดให้มี แนวปฏิบัติว่าในระยะเวลาหนึ่งจะต้องทำ.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
ข้อที่เกณฑ์การประเมินการดำเนินงาน ข้อ 1 พัฒนาแผนกลยุทธ์จากผลการวิเคราะห์ SWOT โดยเชื่อมโยงกับวิสัยทัศน์ของคณะและ สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของคณะ สถาบัน.
รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา.
1. ด้าน หลักสูตร. จุดเน้นกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ คุณภาพผู้เรียน “ คุณภาพผู้เรียน ที่ระบุในจุดเน้นมีอยู่ แล้วในหลักสูตร.
ปรานอม ประทีปทวี 25/09/591 หน้าที่ของครูผู้นิเทศ สพม.5.
เก่ง. ความรู้และทักษะ คุณลักษณะที่เน้น ความรู้ ทักษะเชิง วิชาชีพ และศาสตร์ที่ เกี่ยวข้อง.
ชุมชนปลอดภัย.
ง21101 การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม. 1 เจตคติต่อการประกอบอาชีพ
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ (Constructivism Theory)
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
เทคนิคการจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
การประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการ
เริ่มทำแบบทดสอบ แบบทดสอบก่อนเรียน หนังสืออิเล็กทรอนิกส์
เริ่มทำแบบทดสอบ แบบทดสอบก่อนเรียน หนังสืออิเล็กทรอนิกส์
การประเมินวิทยฐานะ (ว 21/2560)
ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๐ ผู้สอน : คุณครูภาคภูมิ คล้ายทอง
การวิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
กลุ่มที่ 7 กาฬสินธุ์ ขอนแก่น ชัยภูมิ มหาสารคาม ร้อยเอ็ด นครราชสีมา.
การบริหารโครงการซอฟต์แวร์
การเขียนเกณฑ์การให้คะแนน
การเขียนเกณฑ์การให้คะแนน
ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
การเขียนเกณฑ์การให้คะแนน
Professional Learning Community ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ
YRC LANNA LOCAL WISHDOM
การวัดและประเมินผลด้านพุทธิพิสัย (ตามลำดับขั้นการเรียนรู้ของ Benjamin Bloom) รศ. บรรพต พรประเสริฐ.
การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัด
งานแนะแนว กับระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
ประวัติวิทยากร ปริญญาเอก ศึกษาศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต ดร.วัชรศักดิ์ สงค์ปาน
วัสดุและเทคนิค ทางการออกแบบ อ.สุวิธธ์ สาดสังข์ ( Material and
จุดมุ่งหมายทางการศึกษา และ จุดประสงค์การเรียนรู้
แนวคิดทฤษฎี ที่เกี่ยวกับการประเมินภาคปฏิบัติ
การวัดพฤติกรรมทางด้านทักษะพิสัย
การวิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัด
โครงการยกระดับคุณภาพผู้เรียน ในการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (NT/O-NET)
การวัดและประเมินผลด้านพุทธิพิสัย (ตามลำดับขั้นการเรียนรู้ของ Benjamin Bloom) รศ. บรรพต พรประเสริฐ.
ชัยพฤกษ์รัตนาธิเบศร์ - วงแหวน
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
การสอนควบคู่กับการเรียน
สถานการณ์เด็กไทยในปัจจุบัน
โครงการโรงเรียนคุณภาพประจำตำบล (1 ตำบล 1 โรงเรียนคุณภาพ)
หน่วยที่ 1 ความหมายและความสำคัญ ของการสร้างเครื่องมือประเมินภาคปฏิบัติ
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัด
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
หน่วยที่ 4 การสร้างเครื่องมือ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

หน่วยที่ 1 ความหมายและความสำคัญ ของการสร้างเครื่องมือประเมินภาคปฏิบัติ (Performance Assessment) สำนักทดสอบทางการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

รู้แจ้ง รู้จริง รู้จำ รู้จัก ครูทั่วไป สมาชิกชุมนุมฯ

มาตรฐานและตัวชี้วัดของหลักสูตร ตัวชี้วัด1 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ตัวชี้วัด2 มาตรฐาน1 ตัวชี้วัด3 หลัก สูตร กลุ่มสาระการเรียนรู้ มาตรฐาน2 ตัวชี้วัด4 มาตรฐาน3 กลุ่มสาระการเรียนรู้

มาตรฐานและตัวชี้วัดของหลักสูตร ตัวชี้วัด1 ความรู้ (knowledge: K) หรือ พุทธิพิสัย (Cognitive Domain) ตัวชี้วัด2 ทักษะกระบวนการ (process skill: P) หรือทักษะพิสัย (Psychomotor D.) หลักสูตร มาตรฐาน1 ตัวชี้วัด3 ตัวชี้วัด4 คุณลักษณะ (Attribute: A) หรือ จิตพิสัย (Affective Domain) มาตรฐาน2 มาตรฐาน3

มฐ. ท 1.1ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิดเพื่อนำไปใช้ตัดสินใจ แก้ปัญหาในการดำเนินชีวิต และมีนิสัยรักการอ่าน Process & Skill Knowledge Attribute อ่านออกเสียงบทร้อยแก้ว และบทร้อยกรองได้ถูกต้องเหมาะสมกับเรื่องที่อ่าน จับใจความสำคัญจากเรื่องที่อ่าน ระบุเหตุและผล และข้อเท็จจริงกับข้อคิดเห็นจากเรื่องที่อ่าน .............. มีมารยาทในการอ่าน

ความรู้ คุณลักษณะ ประเมินภาคปฏิบัติ กระบวนการ มาตรฐานและตัวชี้วัด การจัดการเรียนรู้

วิธีการวัดและประเมินผลตามมาตรฐานและตัวชี้วัดของหลักสูตร มาตรฐาน ท1.1 ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิด เพื่อนำไปใช้ในการตัดสินใจ แก้ปัญหาในการดำเนินชีวิต และมีนิสัยรักการอ่าน มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด ความรู้ (Knowledge) ทักษะกระบวนการ (Process Skill) คุณลักษณะพึงประสงค์ (Attribute) ท 1.1 ม.1/1 อ่านออกเสียงบทร้อยแก้ว และบทร้อยกรองได้ถูกต้องและเหมาะสม / ท1.1 ม.1/2 จับใจความสำคัญจากเรื่องที่อ่าน ท.1.1 ม.1/9 มีมารยาทในการอ่าน การสังเกตพฤติกรรม แบบทดสอบ การสอบภาคปฏิบัติ

ความหมาย การประเมินคุณภาพของผู้เรียน ผ่านการประเมินคุณภาพของผลงานที่ให้นักเรียนลงมือปฏิบัติและการประเมินกระบวนการปฏิบัติงานของผู้เรียน รวมทั้งการประเมินลักษณะนิสัยของผู้เรียน ทั้งในสภาพตามธรรมชาติ หรือสภาพที่กำหนดขึ้น (สถานการณ์จำลอง)

ความสำคัญของการประเมินภาคปฏิบัติ มองเห็นทักษะและความสามารถของผู้เรียน สามารถใช้ได้กับกิจกรรมในระดับห้องเรียน เน้นทักษะและการคิดระดับสูง ผู้เรียนได้แสดงความรู้ความสามารถตามสภาพความเป็นจริง ความสำคัญของการประเมินภาคปฏิบัติ

รูปแบบของการประเมินภาคปฏิบัติ 1 ประเมินจากผลงาน = ประเมินผลงานนักเรียนที่ปรากฏ ไม่เน้นความสำคัญ ของกระบวนการหรือขั้นตอนการปฏิบัติ 2 ประเมินจากกระบวนการ = สังเกตกระบวนการและผลงานไปพร้อม ๆ กัน ตั้งแต่เริ่มต้นจนกระทั่งสิ้นสุด 3 ประเมินจากกระบวนการและผลงาน = สังเกตขณะกำลังปฏิบัติงานและพิจารณาคุณภาพของ ชิ้นงานที่ทำสำเร็จแล้ว

ตัวชี้วัดเน้นด้านผลงาน (Product) สร้างงานทัศนศิลป์ต่าง ๆ โดยใช้ทัศนธาตุที่เน้นเส้น รูปร่าง วาดภาพระบายสีภาพธรรมชาติตามความรู้สึกของตนเอง เล่นกีฬาไทย และกีฬาสากลประเภทบุคคลและประเภททีมได้อย่างละ ๑ ชนิด เล่นเกมเบ็ดเตล็ดและเข้าร่วมกิจกรรมทางกายที่ใช้การเคลื่อนไหวตามธรรมชาติ

ตัวชี้วัดเน้นกระบวนการ (Process) เคลื่อนไหวร่างกายขณะอยู่กับที่ เคลื่อนที่และใช้อุปกรณ์ประกอบ ใช้วัสดุ อุปกรณ์ และเครื่องมือในการทำงานอย่างเหมาะสมกับงานและประหยัด ปฏิบัติตามกฎ กติกาและข้อตกลงของการออกกำลังกาย การเล่นเกม การละเล่นพื้นเมืองได้ด้วยตนเอง ทำงานอย่างเป็นขั้นตอนตามกระบวนการทำงานด้วยความสะอาด ความรอบคอบ และอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม

ตัวชี้วัดเน้นด้านกระบวนการและผลงาน (Process & Product) ทดลองและอธิบาย น้ำ แสง เป็นปัจจัยที่จำเป็นต่อการดำรงชีวิตของพืช อ่านออกเสียงบทร้อยแก้ว และบทร้อยกรองได้ถูกต้องเหมาะสมกับเรื่องที่อ่าน

กระทำพร้อมกับ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กำหนดจุดประสงค์ ของการวัดให้ชัดเจน กำหนดเงื่อนไข ในการวัดให้ชัดเจน สาระของงาน ที่ให้นักเรียนปฏิบัติ สอดคล้องกับสภาพจริง ข้อคำนึงของการประเมินภาคปฏิบัติ

การประยุกต์การประเมินภาคปฏิบัติไปใช้ในห้องเรียน เพื่อให้การประเมินภาคปฏิบัติในระดับชั้นเรียนเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ผู้สอนต้องทำความเข้าใจที่ชัดเจนเกี่ยวกับประเด็นต่อไปนี้ สิ่งที่เราต้องการจะวัด การจัดการเรียนรู้ที่เอื้อต่อการประเมินภาคปฏิบัติ รูปแบบหรือวิธีการประเมินภาคปฏิบัติ การสร้างเครื่องมือประเมินภาคปฏิบัติ การกำหนดเกณฑ์ในการประเมิน (Rubrics)     

หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 เน้นคุณภาพผู้เรียน มฐ./ตัวชี้วัด กลุ่มสาระการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 มาตรฐาน/ตัวชี้วัด เป้าหมายในการจัดการเรียนรู้ ของแต่ละหน่วยการเรียนรู้

การประยุกต์ใช้การประเมินภาคปฏิบัติในวัดและประเมินผลในชั้นเรียน มาตรฐานและตัวชี้วัด ตามหลักสูตรฯ การประเมินเพื่อปรับปรุงและพัฒนา (Formative Assessment) การประเมินเพื่อตัดสินผล การเรียน (Summative Assessment) หน่วยที่ 1 หน่วยที่.... หน่วยที่... สอบกลางภาค/ปีการศึกษา สอบปลายภาค/ปีการศึกษา ชิ้นงาน/ภารกิจ การประเมินภาคปฏิบัติ

ออกแบบการจัดการเรียนการสอนในชั้นเรียน มาตรฐานและตัวชี้วัด ออกแบบการจัดการเรียนการสอนในชั้นเรียน กำหนดโครงงาน ภารกิจงานหรือชิ้นงาน บูรณาการ ความรู้ & ทักษะกระบวนการ & คุณลักษณะอันพึงประสงค์ วัดและประเมินผลตามมาตรฐานและตัวชี้วัด สอดคล้อง

หลักการประเมินภาคปฏิบัติ 1. สภาพแวดล้อม การจัดสภาพแวดล้อมทางการเรียนอาจเกิดขึ้นในห้องปฏิบัติ การทดลอง สถานที่สถานการณ์จำลอง หรือสถานการณ์จริง ผู้สอนต้องมีการจัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์ที่จำเป็นในการปฏิบัติงานอย่างครบครัน เพื่อให้เกิดทักษะ และพฤติกรรมในการปฏิบัติงานได้อย่างชัดเจนและเป็นระบบมาตรฐานเดียวกันทั้งองค์กร

หลักการประเมินภาคปฏิบัติ 2. มอบหมายงานให้ผู้เรียน การมอบหมายงานให้ผู้เรียนปฏิบัติและหมุนเวียนให้ผู้เรียนได้มีการปฏิบัติงานทุกขั้นตอนที่เกี่ยวข้องและตรวจสอบความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลในด้านความสามารถความถนัดและความสนใจ

หลักการประเมินภาคปฏิบัติ 3. การควบคุมการปฏิบัติงาน การควบคุมการปฏิบัติงานหรือการสอนให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้เป็นขั้นตอนภายใต้การแนะนำของผู้สอน ดังนี้ 3.1 การอธิบายและการสาธิตโดยครูผู้สอน 3.2 การฝึกปฏิบัติโดยผู้เรียน 3.3 การแนะนำและการแก้ไขข้อผิดพลาดจากผู้สอน

หลักการประเมินภาคปฏิบัติ 4. กระบวนการวัดผลการปฏิบัติงาน 4.1 ผู้สอนกำหนดจุดมุ่งหมายของการปฏิบัติงาน โดยกำหนดงานให้ผู้เรียนปฏิบัติภายใต้สถานการณ์ใดสถานการณ์หนึ่ง 4.2 การวิเคราะห์งาน โดยเน้นความสำคัญของการวัดกระบวนการหรือผลงานหรือทั้งสองอย่าง 4.3 กำหนดวิธีการวัดผลการปฏิบัติงานสามารถกระทำได้หลายวิธีตามสิ่งที่ต้องการวัด 4.4 การกำหนดเครื่องมือในการวัดผลการปฏิบัติงานต้องสอดคล้องกับวิธีการวัด

หลักการประเมินภาคปฏิบัติ 5. การตัดสินผลการประเมินผลการปฏิบัติงาน ผู้สอนพิจารณาจากข้อมูลที่ได้จากการวัดผลการปฏิบัติงานที่นำมาประเมินเพื่อตัดสินคุณภาพการปฏิบัติงาน แบ่งเป็น 3 วิธี ได้แก่ 5.1 วิธีการเปรียบเทียบกับความสามารถโดยเฉลี่ยของกลุ่ม 5.2 วิธีเปรียบเทียบกับเกณฑ์ที่ผู้สอนกำหนด 5.3 วิธีการเปรียบเทียบกับความสามารถของผู้ที่มีความเชี่ยวชาญหรือผู้รู้ (Known Group)

กิจกรรมที่ 1 “วางไข่” ให้ผู้เข้ารับการอบรมช่วยกันวางลูกปิงปอง 4 ลูก บนแผ่นกระดาษที่ไว้ โดยที่ลูกปิงปองออกนอกกระดาษ 3 ซม. 10 ซม.

ด้านการวางแผนการทำงาน รูปแบบ คำอธิบาย 1 มีการสร้างความเข้าใจร่วมกันว่าจะทำงานให้บรรลุเป้าหมายได้อย่างไร สมาชิกทุกคนมีส่วนร่วมอย่างเต็มที่ทำให้เกิดทิศทางการทำงานที่ชัดเจน 2   สมาชิกบางคนเป็นผู้กำหนดวิธีการดำเนินงานของทีม คนอื่นๆถูกโน้มน้าวให้มีส่วนร่วมภายใต้แนวทางที่เขากำหนด 3 สมาชิกบางคนผูกขาดการอภิปราย แม้ว่าสมาชิกคนอื่นจะมีส่วนร่วมอยู่บ้างก็ตาม 4 การดำเนินงานอาศัยระเบียบปฏิบัติกฎกติกาและเวลาที่กำหนด หรือประธานในที่ประชุมเพื่อให้ดำเนินการได้อย่างเป็นระบบ 5 ความคิดบางประการนำไปสู่แนวทางการปฏิบัติ การหารือโดยรวมเป็นไปอย่างกลมเกลียว และเห็นพ้องต้องกัน 6 มีการกำหนดวิธีการทำงานเพียงเล็กน้อยหรือไม่มีเลย การแสดงความคิดเห็นจะเปลี่ยนประเด็นไปมาอยู่เรื่อย

ด้านการสื่อสารภายในกลุ่ม รูปแบบ คำอธิบาย 1 มีการแสดงออกถึงความคิดเห็นและทัศนะด้วยความเชื่อมั่น มีการถกเถียงกันถึงความคิดเห็นที่แตกต่างจนกระทั่งเข้าใจกันเป็นอย่างดี 2   มีการหารือมุ่งเน้นที่จุดยืนของสมาชิกเพียงบางคน คนอื่นๆจะได้รับการกระตุ้นให้สนับสนุน 3 มีการหารือดำเนินไปในแบบที่ “แต่ละคนดึงดันในจุดยืนของตน” บางคนยึดมั่นในความคิดเห็นของตนเองโดยแทบไม่คำนึงผลที่จะตามออกมา 4 มีการพิจารณาทัศนะและความคิดที่แตกต่างกัน แต่ไม่มีการตกลงหาทางออกอย่างจริงจัง 5 มีการให้และรับอย่างสุภาพ ผู้คนยอมสละจุดยืนของตนเองเพื่อให้ตกลงกันได้ง่ายและรวดเร็ว 6 มีการแสดงความคิดเห็นและทัศนะอย่างเนือยๆ หรือไม่ได้รับความสนใจจากสมาชิกคนอื่นๆในทีม บางคนไม่สนใจจะสื่อข้อความหรือสนใจฟังในสิ่งที่คนอื่นพูด

ด้านการตัดสินใจ รูปแบบ คำอธิบาย 1 การตัดสินใจขึ้นอยู่กับความเข้าใจและการตกลงกันภายในทีม มีความเห็นพ้องต้องกันโดยไม่มีข้อกังขา 2   สมาชิกบางคนเป็นผู้ให้แนวทางแก่ทีมในการตัดสินใจแต่พยายามอย่างจริงใจที่จะโน้มน้าวให้ทีมยอมรับการตัดสินใจของตนเอง 3 สมาชิกบางคนกดดันคนอื่นๆให้ตัดสินใจเหมือนตน 4 ความคิดเห็นของคนส่วนใหญ่นำไปสู่การตัดสินใจ แม้ว่าบางคนยังสงวนท่าทีหรือไม่เห็นด้วย แต่ก็ยอมเปลี่ยนใจเพื่อให้งานเสร็จเท่านั้น 5 หลังจากสมาชิกบางคนตกลงกันได้แล้ว คนอื่นๆก็สนับสนุนเพื่อแสดงความเป็นน้ำหนึ่งใจเดียวกัน 6 สมาชิกในทีมไม่ใส่ใจนักว่าผลการตัดสินใจจะเป็นอย่างไร บางคนไม่อยู่ในทีมในขณะที่มีการตัดสินใจ และทีมก็ไม่สนใจว่าเขาจะอยู่หรือไม่

รูปแบบการทำงาน รูปแบบที่ 1 เป็นรูปแบบการทำงาน แบบ 9,9 รูปแบบที่ 1 เป็นรูปแบบการทำงาน แบบ 9,9 รูปแบบที่ 2 เป็นรูปแบบการทำงาน แบบ 9,1 รูปแบบที่ 3 เป็นรูปแบบการ ทำงานแบบ 9+9 รูปแบบที่ 4 เป็นรูปแบบการ ทำงานแบบ 5,5 รูปแบบที่ 5 เป็นรูปแบบการ ทำงานแบบ 1,9 รูปแบบที่ 6 เป็นรูปแบบการ ทำงานแบบ 1,1

เอื้อเฟื้อและประนีประนอม Concern for people (เน้นคน) 9+9 พ่อปกครองลูก สามารถทำงานให้ได้ผลงานที่มีคุณภาพ ภายใต้การชี้นำของผู้มีมีประสบการณ์ “ทุกคนต้องเชื่อฉัน เพราะฉันผ่านประสบการณ์มาเยอะ” 9 1,9   9,9 8 7 6 5 5,5 4 3 2 1 1,1 9,1 สบายและรื่นรมย์ พยายามสร้างความกลมเกลียวและไมตรีจิต มีการจัดการข้อขัดแย้งด้วยความนุ่มนวล เพื่อให้งานการไปได้ดีในวันหน้า “คนสำราญ งานไม่เสร็จ” สำเร็จอย่างมีคุณภาพ ทำงานร่วมกันเพื่อให้ได้ผลงานที่มีคุณภาพ และนำไปวัดผลกับมาตรฐานสูงสุดที่เป็นไปได้ ทุกคนสนับสนุนและร่วมรับผิดชอบเพื่อให้ทีมงานประสบความสำเร็จ “คนสำราญ งานสำเร็จ” เอื้อเฟื้อและประนีประนอม เอาไหนเอาด้วยตามเสียงส่วนใหญ่ แต่ทำตามกฎระเบียบเท่านั้น “เอางัยเอากัน” สนใจแต่ความสำเร็จ อาจได้ผลงานในระยะสั้น หากใช้ไปนาน ๆ จะทำให้คน “ต่อต้านการทำงาน” หรืออย่างน้อยก็ลดความตั้งใจในการอุทิศตน “ใครจะเป็นจะตาย ฉันไม่สน งานต้องเสร็จ” วางเฉย ไม่สนใจและปัดความรับผิดชอบ ยึดหลักไม่ทำอะไรเลยหรือทำให้น้อยที่สุด “ธุระไม่ใช่ ใครอยากเด่นอยากดังก็ทำไป” Concern for product (เน้นงาน) ที่มา : The Supervisory Grid, 2555 :55