แผนงาน/โครงการ สร้างเสริมสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
อัตราตายต่อประชากรแสนคนด้วยโรคไม่ติดต่อที่สำคัญ ปี พ.ศ
Advertisements

จุดเน้นการพัฒนางานสาธารณสุขที่สำคัญ ปีงบประมาณ 2559.
การบริหารจัดการข้อมูลความเสี่ยงด้านสุขภาพ และสิ่งแวดล้อม ตามรอยครู :
นิเทศและประเมินผลสัญจร โซนนาคราชซ้าย
แผนการลงทุนด้านสุขภาพระยะ 5 ปี (Long Term Invesment Plan)
แผนงานสนับสนุนระบบบริการโรคเรื้อรังฯ
การเตรียมความพร้อมรับการประเมิน จาก สมศ.
การส่งเสริมสุขภาพช่องปาก และการป้องกันโรคในช่องปากผู้สูงอายุ
หนองบัวลำภู นายทรงเดช ทิพย์โยธา -ว่าง- นายเฉลิมชัย เรืองนนท์
การบริหารงบสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ปี งบประมาณ 2560
การแก้ไขปัญหาสุขภาพช่องปาก จังหวัดปทุมธานี
ทิศทางการดูแลสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ
Family Care Team : ทีมหมอครอบครัว
รพ.สต.ติดดาว (5 ดาว 5 ดี) สู่ประชาชนสุขภาพดี
การจ่ายตามเกณฑ์คุณภาพผลงานบริการ (QOF) ปีงบประมาณ ๒๕๖๐
เป้าหมาย SP สุขภาพจิต # ดูแลตนเองได้ # ครอบครัว/ชุมชน #ลดความรุนแรง
การประชุมชี้แจงการดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรคไม่ติดต่อและการบาดเจ็บ
แผนบูรณาการพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยผู้สูงอายุ
สรุปผลการดำเนินงานพัฒนาระบบบริการสุขภาพ สาขาโรคไม่ติดต่อ
ผลการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2560
เขตสุขภาพ ที่11.
งานวันข้าวโพดเทียนบ้านเกาะ
สถานการณ์โรคพิษสุนัขบ้า
สรุปผลการนิเทศ คปสอ.วิเศษชัยชาญ รอบที่ 1 ปี 2561 วันที่ 8 มกราคม 2561
เพื่อเข้าถึงแหล่งงบประมาณ
อำเภอสันกำแพง ดินแดนแห่ง
ประเด็นยุทธศาสตร์ : การสร้างระบบสุขภาพเพื่อประชาชนที่ทุกคนเป็นเจ้าของ
รูปธรรมการขับเคลื่อน “รพ.สต.ติดดาว” จ.นครราชสีมา
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตรัง
แนวทาง การจัดทำงบประมาณ ปี พ.ศ. 2562
ผู้อำนวยการกองกฎหมาย
ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม,การจัดงาน
ลำพูน นายพงษ์ธาดา แก้วกมล หัวหน้ากลุ่มงานวิชาการโยธาธิการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๔ อิศรญาณภาษิต By Pratchanee P. 2/2015.
สงขลา นายไมตรี สรรพสิน นางฐาปณี รสสุคนธ์ นายพิชัย อุทัยเชฏฐ์
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอ (DHS) จังหวัดเพชรบุรี ปี 2558
(ร่าง) กรอบยุทธศาสตร์ 20 ปี กรมควบคุมโรค
กรอบการบริหารยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพ ปี 2560
RDU Hospital ผลการดำเนินงาน ไตรมาส 1/2560 (ระดับการพัฒนา RDU ขั้นที่1) ปีงบประมาณ 60  ขั้นที่ 1 (เงื่อนไข 9 ข้อ) RDU- hospital 1. มีคณะกรรมการดำเนินงาน.
การพัฒนาระบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวอำเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี
แผนการจัดตั้งคลินิกหมอครอบครัวจังหวัดสตูล ปี
โครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ ชุมชนบ้านทุ่งโหลง อ. เมือง จ
ประชุมร่วมแลกเปลี่ยนถ่ายทอดนโยบายทิศทางการทำงานงาน NCDs
การขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (ด้านสาธารณสุข)
เรื่องวิวัฒนาการนาฏศิลป์ไทย
นโยบายและทิศทางการส่งเสริมสุขภาพในยุคแห่งการเปลี่ยนแปลง
เรื่อง การทอผ้าห่มสี่เขา/ตะกอ
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตรัง
การบริหารและขับเคลื่อน
อุบลราชธานี นายนิวัตร ชูสมุทร นายชัยศักดิ์ ปิยะประสิทธิ์
หัวข้อในการบรรยาย 1. จำนวนบุคลากรสายสนับสนุน 2. เส้นทางความก้าวหน้า 3. องค์ประกอบของคณะกรรมการประเมินค่างาน 4. ขั้นตอนการแต่งตั้งบุคคลให้ดำรงตำแหน่งสูงขึ้น.
การเปลี่ยนแปลงเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ปลัดกระทรวงสาธารณสุข
แผนพัฒนาบริการสุขภาพ พิษณุโลก อุตรดิตถ์ เพชรบูรณ์ สุโขทัย ตาก
Public Health Nursing/Community Health Nursing
แนวทางปฏิบัติงานตาม พ.ร.บ. แร่ พ.ศ. 2560
โครงการฟันเทียมพระราชทาน เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสมหามงคล เฉลิมพระชนมพรรษา 80 พรรษา 5 ธันวาคม 2550 การประชุมเชิงปฏิบัติการ.
เรื่อง ทฤษฎีการค้นหาในการฝึกสุนัข
เขตสุขภาพที่ 10 มุกศรีโสธรเจริญราชธานี
เรื่องชนเผ่าในจังหวัดมุกดาหาร
การดำเนินงานทันตสาธารณสุข ปีงบประมาณ 2561
สร้างเครือข่ายในชุมชน
ผลการสำรวจสภาวะทันตสุขภาพปี 59ซึ่งเราจะทำการสำรวจปีละ 1 ครั้ง ในเดือน มิ.ย. – ส.ค. ของทุกปี ข้อมูลนี้จะเป็นข้อมูล base line ในปีงบ 60 และในเดือนธันวาคมนี้จะมีการปรับมาตรฐานผู้ทำการสำรวจเพื่อให้เป็นมาตรฐานเดียวกัน.
สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควมคุมโรค
หมวด 1 การนำองค์กร และการจัดการดี
รวมทั้งสิ้น (ล้านบาท)
การประชุม พบส.ทันตสาธารณสุข
หมวด 2 : การให้ความสำคัญกับประชากรเป้าหมาย ชุมชน และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย วีระโชติ รัตนกุล นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ.
แผนงานบูรณาการพัฒนาระบบการให้บริการประชาชนของหน่วยงานภาครัฐ
แผนงานบูรณาการพัฒนาระบบการให้บริการประชาชนของหน่วยงานภาครัฐ
ฉบับที่ ๑๕/๒๕๖๐ วันที่ ๓๑ มกราคม ๒๕๖๐ เวลา ๐๙.๓๐ น. นายปริญญา เพ็งสมบัติ ผู้ตรวจราชการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประชุมหัวหน้าส่วนราชการสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์จังหวัดกาฬสินธุ์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แผนงาน/โครงการ สร้างเสริมสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ ทพ.สุธา เจียรมณีโชติชัย ผู้อำนวยการกองทันตสาธารณสุข 5 กุมภาพันธ์ 2552

การดำเนินงานที่ผ่านมา โครงการส่งเสริมป้องกันตามชุดสิทธิประโยชน์ ปี 51 และ52 แผนงาน/โครงการสร้างเสริมสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ

ส่งเสริมให้คนไทยมีสุขภาพช่องปากดี กองทันตสาธารณสุข ส่งเสริมให้คนไทยมีสุขภาพช่องปากดี

1. โครงการฟันเทียมพระราชทาน 48-51 1. สนับสนุนการจัดบริการใส่ฟันเทียมทั้งปากหรือเกือบทั้งปาก แก่ผู้สูงอายุทั่วประเทศประมาณปีละ 32,000 ราย 2. ร่วมกับคณะทันตฯ จัดการอบรมฝึกทักษะแก่ทันตแพทย์ที่ยังไม่ได้รับการอบรม (ปี 52 ที่มอ., มหิดล, จุฬาฯ) 3. จัดการรณรงค์ร่วมกับหน่วยทันตกรรมพระราชทานฯ ปีละ 2 ครั้ง (ปี 52 ที่กาญจนบุรี) 4. ร่วมกับบริษัทโอสถสภาสนับสนุนงบฯ บริการจังหวัดละ 100 และประชาสัมพันธ์โครงการ (ปี 52 ที่อุบลฯ ชัยภูมิ ราชบุรี ฯลฯ) 5. จัดนิทรรศการและประชาสัมพันธ์โครงการทางสื่อสาธารณะ

6. การติดตาม ประเมินผล (M&E) - การตรวจติดตามตามเป้าหมายโดยสำนักตรวจราชการ - การสุ่มติดตามภาคละ 1 จังหวัด/ปี โดยกองทันตฯ - การประเมินความพึงพอใจผู้สูงอายุที่รับบริการ โดยจังหวัด - การสำรวจสถานการณ์ตามตัวชี้วัดสำคัญ (4 คู่สบ,20 ซี่) - การประเมินระบบบริการและสนับสนุนบริการโดย ศูนย์อนามัย - การประเมินโครงการฟันเทียมพระราชทานปี 2548-2550 โดยกองทันตฯ 7. การศึกษาวิจัย : ผลกระทบของการมีฟันใช้เคี้ยวอาหารต่อสุขภาพและ คุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ อยู่ระหว่างการวิเคราะห์ข้อมูล ข้อมูลเฝ้าระวัง : ผู้สูงอายุมีฟันใช้งานได้ 4 คู่สบ ร้อยละ 44 ในปี 2548 เป็นร้อยละ 49 ในปี 2551

2. โครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากโดยชมรมผส. 49-51 กรอบแนวคิด ศูนย์อนามัย / กองทันตฯ สสจ. CUP PCU มีภูมิปัญญา มีความรู้ พร้อมจะทำงานเพื่อส่วนรวม เข้าใจผู้สูงวัยด้วยกัน ชมรม ผู้สูงอายุ เกิดกิจกรรมโดยชมรม (สุขภาพช่องปาก) - ให้ความรู้ - Self care / การเลือกกินอาหาร - ข่าวสาร - อื่นๆ

2549 ศูนย์อนามัย 4, 5, 10 7 จังหวัด 27 ชมรม สุพรรณบุรี / เพชรบุรี / ราชบุรี บุรีรัมย์, ชัยภูมิ เชียงใหม่, ลำปาง เจ้าพระยายมราช, บ้านลาด, ท่ายาง, วัดเพลง, ดำเนินสะดวก พุทไธสง, ประโคนชัย, คอนสวรรค์, บ้านเขว้า สันทราย, สารภี, ห้างฉัตร, แจ้ห่ม เจ้าพระยายมราช, บ้านลาด, ห้วยลึก, ท่ายาง, ท่าไม้รวก, วัดเพลง, เกาะศาลพระ, ดำเนินสะดวก, ท่านัด หนองหาร, เจดีย์แม่ครัว, สารภี, ท่ากว้าง, ห้างฉัตร, บ้านสถานี, บ้านเหล่า, แจ้ห่ม, บ้านม่วง, แม่สุก บ้านแฮด, หายโศก, ประโคนชัย, โคกมะขาม, คอนสวรรค์, บ้านโสก, บ้านเขว้า, หลุบโพธิ์ ชมรม (ผู้สูงอายุ) เกิดกิจกรรม (สุขภาพช่องปาก) ให้ความรู้ ข่าวสาร อื่นๆ

2550 ศูนย์อนามัย 4, 5, 6, 7, 10 11 จังหวัด 32 ชมรม สุพรรณบุรี / เพชรบุรี / ราชบุรี บุรีรัมย์, ชัยภูมิ ขอนแก่น อุบลราชธานี, ศรีสะเกษ, อำนาจเจริญ เชียงใหม่, ลำปาง เจ้าพระยายมราช, บ้านลาด, ท่ายาง, วัดเพลง, ดำเนินสะดวก พุทไธสง, ประโคนชัย, ลำปลายมาศ, หนองกี่, คอนสวรรค์, บ้านเขว้า ศูนย์อนามัยที่ 6, อ.เมือง สันทราย, สารภี, ห้างฉัตร, แจ้ห่ม, เถิน, เกาะคา พิบูลมังสาหาร, ราษีไศล, อำนาจเจริญ เจ้าพระยายมราช, บ้านลาด, ห้วยลึก, ท่ายาง, ท่าไม้รวก, วัดเพลง, เกาะศาลพระ, ดำเนินสะดวก, ท่านัด บ้านแฮด, หายโศก, ประโคนชัย, ลำปลายมาศ, หนองกี่, คอนสวรรค์, บ้านโสก, บ้านเขว้า, หลุบโพธิ์ ศูนย์อนามัยที่ 6, หนองหิน เจดีย์แม่ครัว, ท่ากว้าง, ห้างฉัตร, แจ้ห่ม, แม่สุก, เถิน, เกาะคา, บ้านผึ้ง เทศบาลเมืองพิบูลมังสาหาร, เมืองคง, ดงบัง

2550 มหกรรมการประชุมวิชาการ “คืนรอยยิ้มที่สดใสให้ผู้สูงวัย” 20-21 สค.50 ณ มิราเคิลแกรนด์ รร.มิราเคิล กรุงเทพฯ ผู้สูงอายุเข้าร่วมกิจกรรม 32 ชมรมๆ ละ 4 คน องค์ความรู้ เรื่อง สุขภาพ สุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ นำเสนอผลการศึกษาวิจัย เกี่ยวกับผู้สูงอายุ ประกาศชมรมผู้สูงอายุต้นแบบ 32 ชมรม ซุ้มนิทรรศการกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ

มหกรรมการประชุมวิชาการ “คืนรอยยิ้มที่สดใสให้ผู้สูงวัย” 2550

2551 ผล จัดการประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ รูปแบบ/แนวทางการดำเนินงาน ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคกลาง ผล 26-28 มีค. 29 เมย.-1 พค. 51 มีเครือข่ายชมรมผู้สูงอายุ 98 ชมรม เครือข่ายบุคลากรสาธารณสุข 29 จังหวัด ผู้สูงอายุได้รับความรู้ ได้รู้จักเพื่อน ได้เห็นกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพ ช่องปากในชมรมผู้สูงอายุ ได้แลกเปลี่ยนประสบการณ์ซึ่งกันและกัน ผู้สูงอายุสามารถนำไปใช้ในการดูแลสุขภาพตนเองและครอบครัว เป็นตัวอย่างที่ดีเรื่องการดูแลอนามัยช่องปากในชุมชน นำความรู้ไปเผยแพร่ในชมรม ขยายเครือข่ายไปสู่ชมรมอื่นๆ และเป็นต้นแบบในการศึกษาดูงาน บุคลากรสาธารณสุขได้เรียนรู้แนวคิด วิธีการ กระตุ้นให้ผู้สูงอายุจัดกิจกรรมในชมรมฯ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์การทำงาน

2551 พัฒนารูปแบบการดำเนินงานในพื้นที่นำร่องภาคใต้ 2 ศอ. 8 จว. พัฒนารูปแบบการดำเนินงานในพื้นที่นำร่องภาคใต้ 2 ศอ. 8 จว. 2551 ศูนย์ฯ 11 นครศรีธรรมราช, 12 ยะลา 8 จังหวัด 18+... ชมรม นครศรีธรรมราช / สุราษฎร์ธานี / กระบี่ / พังงา / ระนอง / ภูเก็ต สงขลา / สตูล อ.เมือง นครศรีธรรมราช, อ.บ้านนาเดิม สุราษฎร์, อ.เมือง, อ.ปลายพระยา อ,ละอุ่น, อ.สุขสำราญ, อ.เมือง กระบี่, อ.กะเปอร์, อ.กระบุรี อ.ตะกั่วทุ่ง, อ.เมือง ภูเก็ต อ.เมือง สงขลา, อ.หาดใหญ่, อ.จะนะ, อ.ควนเนียง, อ.สิงหนคร, อ.รัตภูมิ, อ.เมือง สตูล, อ.ละงู, อ.ทุ่งหว้า, อ.ควนกาหลง ชมรมผู้สูงอายุ 18 แห่ง ชมรมผู้สูงอายุ ชมรม (ผู้สูงอายุ) เกิดกิจกรรม (สุขภาพช่องปาก) ให้ความรู้ ข่าวสาร อื่นๆ

3. โครงการพัฒนารูปแบบการส่งเสริมป้องกัน ตามชุดสิทธิประโยชน์ เริ่มปี 2551 ครอบคลุมผู้สูงอายุทุกสิทธิ์

กิจกรรมสำคัญ การตรวจคัดกรองกลุ่มเสี่ยงและให้คำแนะนำ การจัดบริการป้องกันรากฟันผุ การจัดบริการป้องกัน Acute perio  คู่มือการดำเนินงาน : 3 รูปแบบของหน่วยบริการ - PCU ที่ไม่มีทันตบุคลากร - PCU ที่มีทันตบุคลากร - โรงพยาบาล

แบบฟอร์ม - แบบประเมินความเสี่ยง : สุขภาพ(DM, HT) และสุขภาพช่องปาก - แบบตรวจสุขภาพช่องปาก และการจัดบริการ รายงาน 1 บอกว่า จากการตรวจสุขภาพช่องปาก พบกลุ่มเสี่ยงต่อรากฟันผุสูง ...% กลุ่มเสี่ยงต่อปริทันต์สูง ...% รายงาน 2 บอกว่า กลุ่มเสี่ยงต่อรากฟันผุสูง ได้รับบริการF varnish … ราย กลุ่มเสี่ยงต่อปริทันต์สูง ได้รับบริการขูดหินน้ำลาย ... ราย

ถ่ายทอดโครงการ  สนับสนุนวัสดุ อุปกรณ์ นิเทศติดตาม  ประชุมสรุปผล ถ่ายทอดโครงการ  สนับสนุนวัสดุ อุปกรณ์ นิเทศติดตาม  ประชุมสรุปผล หน่วยบริการร่วมพัฒนารูปแบบการจัดบริการทันตกรรมป้องกัน 21 จังหวัด 167 หน่วยบริการต้นแบบ (รพศ./รพท. 8 แห่ง, รพช. 117 แห่ง, PCU 42 แห่ง)

ข้อมูลจากการรายงาน รายงาน 1 (17 จังหวัด) พบกลุ่มเสี่ยงต่อรากฟันผุสูง 15-79 % กลุ่มเสี่ยงต่อปริทันต์สูง 7-58 % รายงาน 2 (16 จังหวัด) ได้รับบริการF varnish 17-100% กลุ่มเสี่ยงต่อปริทันต์สูง ได้รับบริการขูดหินน้ำลาย 80-100% (1จว. จัดบริการขูดหินน้ำลายอย่างเดียว)

สรุปปี 51 มีความเป็นไปได้ในการจัดบริการ คำถาม : ประสิทธิผลในการป้องกัน เท่าไร? ต้องทำตามแนวทางในคู่มือ ? ต้องเขียนแผน/โครงการ ? ต้องบันทึกข้อมูลตามแบบบันทึก ? จะทำต่อปี 52, 53, ........... ? ที่ทำไปแล้วดูแลต่อ ?? หรือเริ่มรายใหม่ ใช้งบประมาณจาก ???

โครงการพัฒนารูปแบบการส่งเสริมป้องกัน ตามชุดสิทธิประโยชน์ ปี 2552 1. การพัฒนาระบบบริการ - พื้นที่ร่วมจัดบริการเพิ่ม 5 จังหวัด ได้แก่ ตราด เลย นครรราชสีมา สุรินทร์ ฉะเชิงเทรา - ปรับคู่มือการดำเนินงาน และประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ บทเรียนที่ผ่านมา บทบาทหน่วยงาน แนวทางการบริหารจัดการ การประสานงาน 2. การศึกษาประสิทธิผลของ F varnish ในการป้องกันรากฟันผุ 52-54

ผลการสำรวจสภาวะทันตสุขภาพแห่งชาติ 2550

สุขภาพช่องปากกลุ่มวัยทำงานและสูงอายุ ร้อยละผู้มีฟันใช้งาน 20 ซี่ กลุ่มผู้สูงอายุยังเป็นครึ่งหนึ่งของวัยทำงาน การสำรวจสภาวะทันตสุขภาพแห่งชาติครั้งที่ 6 : กองทันตสาธารณสุข กรมอนามัย

การสำรวจสภาวะทันตสุขภาพแห่งชาติครั้งที่ 6 : กองทันตสาธารณสุข กรมอนามัย ผู้สูงอายุมีโอกาสสูญเสียฟันจากรากฟันผุและperio ร้อยละรากฟันผุ สภาวะปริทันต์ของกลุ่มวัยทำงานและผู้สูงอายุ การสำรวจสภาวะทันตสุขภาพแห่งชาติครั้งที่ 6 : กองทันตสาธารณสุข กรมอนามัย

การสำรวจสภาวะทันตสุขภาพแห่งชาติครั้งที่ 6 : กองทันตสาธารณสุข กรมอนามัย สภาวะฟันผุ ครึ่งหนึ่งไม่ได้รับการรักษา ส่วนใหญ่เป็นการถอนฟัน ผู้สูงอายุ ร้อยละ 94 มีปัญหาการสูญเสียฟัน ร้อยละ 10 สูญเสียฟันทั้งปาก การสำรวจสภาวะทันตสุขภาพแห่งชาติครั้งที่ 6 : กองทันตสาธารณสุข กรมอนามัย

แผนงาน/โครงการสร้างเสริมสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ

ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ การเข้าถึงบริการสร้างเสริมสุขภาพ บุตรหลาน/ญาติ/ผู้ดูแล ชมรม/เครือข่ายมีส่วนร่วม สภาพแวดล้อม ก่อนเข้าสู่วัยสูงอายุ

โครงการหลักเพื่อสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ 3 โครงการหลัก 1. ฟันเทียมพระราชทาน 2. ชมรมผู้สูงอายุ 3. สิทธิประโยชน์ 4 โครงการหลัก 1. ฟันเทียมพระราชทาน 2. ชมรมผู้สูงอายุ 3. สิทธิประโยชน์ 4. ส่งเสริมฯ วัยทำงาน

เป้าประสงค์เหมือนเดิม : ผู้สูงอายุมีฟันใช้เคี้ยวอาหารได้อย่างเหมาะสม เพื่อสุขภาพและคุณภาพชีวิต วัตถุประสงค์ พัฒนาระบบบริการป้องกัน  ฟื้นฟู สนับสนุนการดูแลสุขภาพช่องปากตนเอง ลดการสูญเสียฟันก่อนวัยสูงอายุ

เครือข่ายวัยทำงานและสูงอายุในพื้นที่ ศูนย์เขตฯ สสจ. รพ. PCU ชมรม กรม/กองส่วนกลาง สำนักตรวจฯ วัด สาธารณสุข พื้นที่ ชุมชน องค์กรฯ ท้องถิ่น ศูนย์ 3 วัยฯ สถานประกอบการ คณะทันต หน่วยพระราชทาน

Reoriented Health Service 2.การพัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่ายตามบทบาทหน้าที่ - พัฒนาทักษะทันตแพทย์/ทันตบุคลากร / บุคลากรสาธารณสุข / ชมรมผู้สูงอายุ/ อสม. /อื่นๆ Reoriented Health Service  โดยหน่วยบริการ - โครงการฟันเทียมพระราชทาน - โครงการพัฒนางานทันตกรรมป้องกันตามชุดสิทธิประโยชน์  โดยภาคประชาชน - โครงการพัฒนารูปแบบการส่งเสริมสุขภาพช่องปากโดยชมรมผู้สูงอายุ 3. การสำรวจสภาวะช่องปากกลุ่มผู้สูงอายุรายปี 4. ลดการสูญเสียฟันก่อนเข้าสู่วัยสูงอายุ - พัฒนางานส่งเสริมโดยอสม. - พัฒนารูปแบบการดำเนินงานใน สถานประกอบการ/ชุมขน 5. รณรงค์สร้างกระแส รณรงค์ โครงการฟันเทียมพระราชทานร่วมกับหน่วยฯพระราชทานและเอกชน รณรงค์“คนไทยฟันดี สดุดีสมเด็จย่า” และการประกวด “10 ยอดฟันดี วัย 80 ปี”

ความคาดหวังเมื่อสิ้นสุดปี 54 1. ใส่ฟันเทียมปีละ 30,000 ราย และมีจังหวัดต้นแบบด้านการสร้างเสริมสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุภาคละ 1 จังหวัด 2. ขยายชมรม มีเกณฑ์พัฒนาชมรม และมีจังหวัดต้นแบบ 1 อำเภอ 1 ชมรม These are activities by elderly’s club - group participation - oral health education - tooth brushing practice & plaque control - self care instrument from natural 3. ขยายหน่วยบริการป้องกันตามชุดสิทธิประโยชน์ และมีจังหวัดต้นแบบ : จัดบริการใน PCU เต็มพื้นที่ 4. วัยทำงาน มีอสม.ต้นแบบ พัฒนารูปแบบในสถานประกอบการหรือชุมชน

“... ผลงานที่ได้ตรงนี้ เราถือเป็นผลงานตามธรรมชาติที่เกิดขึ้น โดยการดำเนินการภายใน จังหวัดไม่ได้บอกว่า CUP ต้องทำอย่างนั้นอย่างนี้ เราจะให้ภาพกลางไป และรูปแบบการดำเนินงาน เราต้องการ empower พื้นที่ ... ผมเชื่อว่า พื้นที่เก่ง แต่ขาดโอกาส ขาดเวทีที่แสดงออก เราพยายามทำเวที อย่างที่กองฯ พยายามจัดอยู่เรื่อยๆ ให้ ลปรร. กัน” “คุณหมอเส็ง สุราษฎร์ฯ”

“โครงการนี้ ทำเหมือนเป็นการบุกเบิกที่เราจะต้องเริ่มทำ งานป้องกัน และทำงานเชิงรุกในชมรมผู้สูงอายุ ต้องลงพื้นที่ ซึ่งยากที่เราจะนำกระบวนการอะไร มาให้เหมาะสมกับพื้นที่เรา ซึ่งโมเดลที่เราได้รับจาก กองทันตฯ ไป เป็นโมเดล เหมือน เป็นจินตนาการ เราก็จะต้องเอาไปปรับใช้กับพื้นที่ของเราให้เหมาะสมที่สุด ...” “คุณเอื้องอรุณ อำนาจเจริญ”

“ปี 52 อาจจะมีปัญหามาก เพราะว่างบประมาณที่เคยได้ จาก PP area based ปีนี้ไม่ได้เลยสักบาท เพราะว่าผู้บริหารท่านใหม่ ท่านไปทุ่มในเรื่อง IT ทางฝ่ายยังไม่ทราบจะทำอย่างไร ก็คิดว่าจะผลักดันโครงการนี้ต่อไป ก็จะให้ในพื้นที่ทำโครงการรองรับ … ในที่ประชุมจะทำพันธะสัญญา ว่า จะทำกันต่อ ...” “คุณประครองจิต อำนาจเจริญ”

“คุณหมอปุ๊ก เชียงใหม่” “... สถานการณ์ แนวโน้มในช่วง 2-3 ปีที่เราได้ทำโครงการ ผส. มันส่งผลคุณภาพชีวิตจริงๆ ... เดิมจะมีแต่การรักษา ตั้งแต่เราเริ่มมีโครงการฟันเทียม งานรักษาจะอยู่ที่ประมาณ 8% และขึ้นไปเรื่อยๆ ... แต่ส่งเสริมป้องกันน่าสนใจ เพราะว่า ปี 2550 เริ่มทำโครงการส่งเสริมป้องกันในชมรมฯ โดยมีชมรมผู้สูงอายุมีส่วนร่วม งานส่งเสริมป้องกัน ก็เริ่มขยายออกมากขึ้น เป็นร้อยละ 2 ในปี 2550 จากเดิม 0 และปี 2551 คือ 8.5% งานส่งเสริมป้องกันเริ่มขยายมากขึ้นสำหรับกลุ่มผู้สูงอายุ” “คุณหมอปุ๊ก เชียงใหม่”

“... การให้ทันตฯ ยาวนานไม่ได้ 10-15 นาทีเท่านั้น ให้มากเรื่องก็ไม่ได้ เพราะว่าผู้สูงอายุจะเวียนหัว เป็นลม การสอนแปรงฟัน ก็ต้องใช้วิธีการง่ายๆ อุปกรณ์ง่ายๆ ... ภาษาไทยก็ไม่ได้ และบางอำเภอ อิสลาม 100% บางอำเภอพุทธเยอะ บางอำเภอทั้งพุทธ อิสลาม” “คุณหมอจิตรกร สตูล”

“มองว่า เวลาเราทำงาน อย่าไปตั้งว่า เราต้องมีงบฯ ก่อน แล้วค่อยทำงาน เราตั้งโครงการไปก่อน งบฯ เดี๋ยวไปหาเอาข้างหน้า มีหลายช่องทางที่เราขอได้” “คุณหมออู๋ สตูล”

ขอขอบคุณทุกความร่วมมือ กองทันตสาธารณสุข ขอขอบคุณทุกความร่วมมือ

กองทันตฯ - ปรับแบบบันทึก F1,F2,F3 mail ถึงผู้ประสานงาน (สสจ.) ขอความคิดเห็นผู้ที่เกี่ยวข้อง 15 กพ.52 จังหวัดเสนอความเห็นภายใน 28 กพ.52 ปรับคู่มือแจ้งจังหวัดทาง mail 10 มีค.52 ทำโปรแกรมสำเร็จรูป ส่งเป็น CD ส่งสิ่งสนับสนุนรอบ 1 6 มีค.52 สุ่มเยี่ยมพื้นที่ มิย.-กค.52 ประชุมสรุปผล?? สค.52??

จังหวัด ส่งแผนงาน/โครงการ 28 กพ.52 บริหารจัดการ/ ประสานงานภายในจังหวัด ดำเนินการ

การอบรม 3 หลักสูตร จพง.ทันตฯ/บุคลากรสส. สุขภาพช่องปากที่สัมพันธ์กับโรคทางระบบ 100 คน 24-25 กพ.52 โรงแรมเอบีน่าเฮ้าส์ 2. ทพ./จพง.ทันตฯ Early detection & Prevention for RC 180 คน 4-5 มีนาคม 52 โรงแรมรามาการ์เด้นส์ 3. ทพ. เทคนิคการทำฟันเทียมทั้งปากในผู้สูงอายุ 50 คน คณะทันตฯ มอ.