ตัวชี้วัดที่ 1 : อัตราส่วนการตายมารดาไทย ค่าเป้าหมายไม่เกิน 20 ต่อการเกิดมีชีพแสนราย เปรียบเทียบอัตราส่วนการตายมารดารายเขต ปี 2560 กับ 2561ในช่วงเวลาเดียวกัน.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประเด็นในการพัฒนา DHS-PCA
Advertisements

ผลการปฏิบัติงานและ งบประมาณ ของ สำนักงานสหกรณ์จังหวัด สิงห์บุรี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ตั้งแต่ 1 ต. ค ก. ค. 53.
การพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
นโยบายการดำเนินงาน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ศ. นพ. รัชตะ รัชตะนาวิน และ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข นพ. สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับโรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2555 เดือน กันยายน 2555 รวมทั้งสิ้น 61 ตัวชี้วัด.
การประกวดชมรม TO BE NUMBER ONE ดีเด่นระดับจังหวัด
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
สกลนครโมเดล.
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพฯ กลุ่มเด็กวัยเรียน มาตรการ เป้าหมาย วิธีการวัด เป้าหมาย/KPI 1.นโยบายร่วมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ/วาระสุขภาพแห่งชาติ
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
ประชุมMCH Board จังหวัดอุตรดิตถ์ ครั้งที่ ๒/๒๕๕๘ วันพฤหัสที่ ๑๘มิถุนายน ๒๕๕๘ ณ ห้องประชุมภูสอยดาว สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุตรดิตถ์
ปลัดกระทรวงสาธารณสุข
รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา.
1 จุดเน้นและแนวทางการสร้าง ภูมิคุ้มกันและป้องกันยาเสพ ติดในสถานศึกษา ปี 2557.
แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระบบบัญชี สุขภาพ (1-8) กุมภาพันธ์ 2558 สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดบุรีรัมย์
โครงการ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ “ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ
โดย นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข “เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์” นโยบายการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.
การขับเคลื่อนงานสุขภาพจิต วัยทำงาน ประจำปี 2559 โดย โรงพยาบาลจิตเวชนครสวรรค์ราช นครินทร์
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ(PMQA)
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
ยุทธศาสตร์สุขภาพ กลุ่มแม่และเด็ก
สายส่งเสริมตามกลุ่มวัยและประเด็น
เครือข่ายบริการสุขภาพอำเภอน้ำพอง
ระบบคุ้มครองผู้บริโภค
การบริหารการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2562
ระบบเฝ้าระวังการตายมารดา
ตัวชี้วัดที่ 2 : ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย
สรุปแนวทางการดำเนินงานตามกลุ่มวัย
ยุทธศาสตร์ ที่ 1 Promotion, Prevention & Protection Excellence
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
“การดูแลหญิงหลังคลอด และ ครอบครัวที่ติดเชื้อ เอช ไอ วี”
งานแม่และเด็ก เครือข่ายสุขภาพอำเภอกะปง
โครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลท่าดินแดง
(ปัจจุบันไม่มียอดค้างชำระ)
มาตรการ/กลวิธีสำคัญในการดำเนินงาน
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
รพ.สต.สายใยรัก อำเภอสัตหีบ
การติดตามผลงาน OKRs ปีงบประมาณ 2562 (ไตรมาส 1)
ประเด็น PA แผนงาน พัฒนาคุณภาพชีวิตแม่และเด็ก (Maternal & Child ) ลดมารดาตาย และเด็กต่ำกว่า 1 ปี ได้รับวัคซีนตามเกณฑ์ Target / KPI No : แม่ไม่เสียชีวิตจากการตั้งครรภ์และการคลอด.
พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย (9 ตัว) กลุ่มเด็กปฐมวัย (๐-๕ ปี)/สตรี 1.อัตราส่วนการตายของมารดาไม่เกิน15ต่อการเกิดมีชีพแสนคน 2.ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย.
การตรวจราชการ “ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน”
การเสียชีวิตจากการบาดเจ็บ
อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่ (≥ 85 %)
ชาลิณี ปิยะประสิทธิ์ สปสช.เขต 10 อุบลราชธานี 21 กันยายน 2560
แพทย์หญิงศศิธร ตั้งสวัสดิ์
แผนงาน การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ
แผนงานการพัฒนาองค์กรคุณภาพ
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
ทพญ.อัมพร เดชพิทักษ์ กลุ่มงานทันตสาธารณสุข
สรุปผลการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข เขตสุขภาพที่ 6 จังหวัดตราด
กิจกรรมหลัก ภาคกลาง 12กันยายน 2560
จุดเน้นการดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรค และภัยสุขภาพ ประจำปีงบประมาณ
ประชุม คปสจ.ประจำเดือนมิถุนายน ๒๕๕๙ MOTTO – กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
กลุ่มสตรีและเด็กปฐมวัย เขตสุขภาพที่ 6
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
การดำเนินงานเขตเศรษฐกิจพิเศษและแรงงานต่างด้าว
การป้องกันควบคุมโรค NCDs
ข้อตกลงการปฏิบัติงาน (Performance Agreement : PA) ปีงบประมาณ 2561 ไตรมาสที่ 2 (1 ต.ค. 60 – 31 มี.ค. 61) เขตสุขภาพที่ 12.
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
สรุปภาพรวมผลการดำเนินงาน
พัฒนาแผนงาน / ยุทธศาสตร์
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
การประเมินผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ตัวชี้วัดที่ 4 ร้อยละของเด็ก 0-5 ปี สูงดีสมส่วน ” สำนักโภชนาการ.
ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี
2.ตัวชี้วัด/ค่าเป้าหมาย : การเข้าถึงบริการโรคสมาธิสั้นร้อยละ 9
ประเด็น ที่ 4 อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่
2.ตัวชี้วัด/ค่าเป้าหมาย : แม่ตายไม่เกิน 17 ต่อแสนประชากร
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ตัวชี้วัดที่ 1 : อัตราส่วนการตายมารดาไทย ค่าเป้าหมายไม่เกิน 20 ต่อการเกิดมีชีพแสนราย เปรียบเทียบอัตราส่วนการตายมารดารายเขต ปี 2560 กับ 2561ในช่วงเวลาเดียวกัน N60=77 N61=76 ที่มา : ระบบเฝ้าระวัง กรมอนามัย 17 ก.ค.61 การตายจากสาเหตุ PPH ลดลงร้อยละ 40.7 (ตุลาคม2560-มิถุนายน 2561) การตายจากสาเหตุ PIH เพิ่มขึ้นร้อยละ 40.0 (ตุลาคม2560-มิถุนายน 2561) PPH PIH การตายจากสาเหตุ PPH ลดลงจากปี 2560 ร้อยละ 30 เป้าหมาย : ผลการดำเนินงาน : การตายจากสาเหตุ PIH ลดลงจากปี2560 ร้อยละ 30

ปัจจัย ความสำเร็จ ปัญหาอุปสรรค Best Practice What Next ตัวชี้วัดระดับสากล ตัวชี้วัดระดับประเทศ ผู้บริหารทุกระดับให้ความสำคัญ ขับเคลื่อนนโยบายผ่าน MCH Board อย่างเป็นระบบ และเข้มแข็ง มีระบบเฝ้าระวังและการรายงานข้อมูลเพื่อสนับสนุนและกำกับติดตามอย่างต่อเนื่อง มีการสอบสวนการตายมารดาทุกราย ระบบโซนนิ่งและเครือข่ายแข็งแรง ปัญหาอุปสรรค การดำเนินงานเชิงรุกผ่าน MCH Board ในบางพื้นที่ยังไม่เข้มแข็ง ทักษะการคัดกรองความเสี่ยงที่ ANC : ค้นไม่เจอ จัดการไม่ได้ การส่งต่อเพื่อการดูแลหญิงวัยเจริญพันธ์และหญิงตั้งครรภ์ที่มีโรค อายุรกรรม เช่น อายุรกรรมรุนแรงไม่ควรตั้งครรภ์/หญิงตั้งครรภ์ป่วย อายุรกรรมที่มาฝากครรภ์ต้องพบแพทย์อายุรกรรมทุกราย Best Practice การใช้ถุงตวงเลือดขยายผลทั่วประเทศและได้รับรางวัลระดับประเทศ มาตรฐานเครือข่ายเพื่อลดการตายมารดา : PNC What Next มาตรการเข้มข้นในพื้นที่ที่มีการตายสูง เน้นการจัดการหญิงตั้งครรภ์เสี่ยง ANC High Risk และการ เฝ้าระวังปัจจัยเสี่ยงโดยครอบครัว ชุมชน พัฒนาระบบเฝ้าระวังที่มีความเข้มข้นมากยิ่งขึ้น ชี้เป้าพื้นที่เสี่ยงและกำกับติดตามเพิ่มศักยภาพการดำเนินงานคัดกรอง เน้นป้องกันการตายจากโรคที่ป้องกันได้ (PIH&PPH) และโรคทางอายุรกรรม สร้างเครือข่ายสุขภาพเพื่อลดการตายมารดาให้ครอบคลุมทุกจังหวัด (PNC)

ประเด็นที่ควรติดตามในปีงบประมาณ 2562 KPI Proxy : การตายจากสาเหตุ PPH ลดลงจากปี 2560 ร้อยละ 30 PPH&PIH การตายจากสาเหตุ PIH ลดลงจากปี2560 ร้อยละ 30 แผนการดำเนินงานร่วมกันของ Service Plan สูติ, MCH board เขต Set Zero MMR จาก PPH พร้อมทั้งการผลักดันและขับเคลื่อนนโยบายอย่างเป็นรูปธรรมร่วมกันภายใต้มาตรการของเขตสู่การปฏิบัติ ระบบการดูแลแบบสหวิชาชีพระหว่างสูติแพทย์และอายุรแพทย์เพื่อวางแผนการดูแลร่วมกัน แบบ Case Management ในระยะตั้งครรภ์ ระยะคลอดและหลังคลอด การบริการเชิงรุก และการเยี่ยมบ้าน “ค้นให้เจอ จัดการให้ได้” เยี่ยมเสริมพลังและประเมินรับรองมาตรฐาน จากทีมระดับเขต ระดับจังหวัด และระดับอำเภอตามลำดับ เพื่อสร้างสัมพันธภาพระหว่างเครือข่ายและความร่วมมือในการพัฒนาคุณภาพบริการของเครือข่าย การบูรณาการและสร้างการมีส่วนร่วมของภาคีทุกภาคส่วนในพื้นที่ ตั้งแต่ ครอบครัว โรงเรียน อปท และชุมชน เช่น อปท.จัดรถฉุกเฉินไว้บริการ/บ้านพักรอคลอด, อสม./หน่วยบริการ ให้ความรู้เรื่องที่เป็นความเสี่ยงต่อหญิงตั้งครรภ์ หญิงหลังคลอด/ FP การคุมกำเนิด ,การสนับสนุนให้เข้าถึงบริการ RSA, การกินไตรเฟอดีนในหญิงวัยเจริญพันธุ์ เป็นต้น

ข คุ ณ อ บ