การพัฒนาองค์ความรู้สถาบัน ในระบบคลังข้อมูลแบบกลุ่มเมฆ CMU Library การพัฒนาองค์ความรู้สถาบัน ในระบบคลังข้อมูลแบบกลุ่มเมฆ สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ แพรวนภา ศรีวรรณตัน อรุณรัตน์ วงค์ฉายา สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ที่มาของการพัฒนา CMUL Cloud Repository ความต้องการของฝ่ายห้องสมุด ต้องการฐานข้อมูลที่ใช้งานง่าย CMUL Cloud Repository Based on Cloud Technology
วัตถุประสงค์ 1 2 3 เพื่อพัฒนาระบบคลังข้อมูลที่มีการประมวลผลแบบกลุ่มเมฆ เพื่อพัฒนาคลังข้อมูลองค์ความรู้สถาบัน มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (CMU Library Academic Repository) 2 เพื่อรวบรวมผลงานวิชาการของบุคลากรและนักศึกษา สาขาสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ในมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 3
การนำไปใช้ประโยชน์ จัดเก็บองค์ความรู้เฉพาะสาขาวิชา ในฝ่ายสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ สามารถนำระบบ CMU Cloud Repository ไปต่อยอดสร้างฐานข้อมูลเฉพาะอื่นๆได้ มีเครื่องมือช่วยอำนวยความสะดวก ในการเข้าถึงข้อมูลเฉพาะสาขาวิชา
กำหนดขอบเขตการดำเนินงาน ขั้นตอนและวิธีการดำเนินงาน Step 1 Step 2-4 กำหนดขอบเขตการดำเนินงาน สร้างระบบคลังข้อมูลแบบกลุ่มเมฆ ทดลองการใช้งานระบบ ออกแบบและพัฒนาคลังข้อมูล - ประเภททรัพยากรสารสนเทศ - เขตข้อมูล รูปแบบการสืบค้น BOOK Journal / Article Photo Album Media
GET POST PUT DELETE method CMU Library Other Domain Database Admin 1 Database Front-end 1 Database Front-end 2 Database Admin 2 Database Front-end 3 Database Admin 3 Database Front-end 4 Database Front-end 5 CMUL Domain End Users GET POST PUT DELETE method NO-SQL Database CMUL Cloud Repository Web Service Other Platform FRONT-END BACK-END
ใช้ MEAN Stack ในการพัฒนาระบบ CMUL Cloud Repository MogoDB Express Angular NodeJS บริหารจัดการฐานข้อมูลแบบ NO-SQL พัฒนาโปรแกรมในส่วนของ Front-end พัฒนาโปรแกรมในส่วนของ Back-end พัฒนา Web Service API’s
ขั้นตอนและวิธีการดำเนินงาน Step 1 Step 5 Step 2- 4 กำหนดขอบเขตการดำเนินงาน ออกแบบและพัฒนาคลังข้อมูล นำข้อมูลเข้าคลังข้อมูล - ประเภททรัพยากรสารสนเทศ - เขตข้อมูล รูปแบบการสืบค้น สร้างระบบคลังข้อมูลแบบกลุ่มเมฆ ทดลองการใช้งานระบบ Step 6 เชื่อมโยงข้อมูลจากฐานข้อมูลของแต่ละคณะด้วยระบบ Single Search
CMUL Cloud Repository ฐานข้อมูลคณะบริหารธุรกิจ ฐานข้อมูลคณะมนุษยศาสตร์ ฐานข้อมูลคณะวิจิตรศิลป์ ฐานข้อมูลคณะสังคมศาสตร์ ฐานข้อมูลคณะศึกษาศาสตร์ ฐานข้อมูลคณะเศรษฐศาสตร์
ขั้นตอนและวิธีการดำเนินงาน Step 1 Step 2- 4 Step 5 กำหนดขอบเขตการดำเนินงาน ออกแบบและพัฒนาคลังข้อมูล นำข้อมูลเข้าคลังข้อมูล - ประเภททรัพยากรสารสนเทศ - เขตข้อมูล รูปแบบการสืบค้น สร้างระบบคลังข้อมูลแบบกลุ่มเมฆ ทดลองการใช้งานระบบ Step 7-9 Step 6 ประเมินผลการใช้ระบบและคลังข้อมูล เชื่อมโยงข้อมูลจากฐานข้อมูลของแต่ละคณะด้วยระบบ Single Search
มากที่สุด ประเมินผลการใช้ระบบ ความพึงพอใจในตัวระบบในระดับ ข้อเสนอแนะ มีการกำหนดสิทธิในการเข้าถึงเอกสารฉบับเต็ม มีการบันทึกข้อมูลที่เคยบันทึกไว้ในเขตข้อมูล มีระบบการตรวจสอบความซ้ำซ้อนของทรัพยากรสารสนเทศ
ประเมินผลการใช้คลังข้อมูล >> ผู้ใช้บริการมีความพึงพอใจโดยภาพรวมในระดับ มาก
ผลการพัฒนาระบบ CMUL Cloud Repository http://apps.lib.cmu.ac.th/knowledge/login.html
ผลการพัฒนาระบบ CMUL Cloud Repository Keyword Limit Search Single
ฐานข้อมูลคณะอุตสาหกรรมเกษตร ฐานข้อมูลคณะวิทยาศาสตร์ ผลการพัฒนาระบบ CMUL Cloud Repository คลังข้อมูล CMU Library Academic Repository ประกอบด้วยฐานข้อมูลย่อยจำนวน 8 ฐานข้อมูล ฐานข้อมูลผลงานวิชาการ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ฐานข้อมูล คณะเศรษฐศาสตร์ ฐานข้อมูล คณะมนุษยศาสตร์ ฐานข้อมูลผลงานวิชาการอาจารย์และนักวิจัย คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ฐานข้อมูลบทความทางวิชาการ ด้านการศึกษา ฐานข้อมูลผลงานวิชาการ ด้านสังคมศาสตร์ ฐานข้อมูล คณะสังคมศาสตร์ ฐานข้อมูล คณะศึกษาศาสตร์ ฐานข้อมูลบทความวารสารของ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ฐานข้อมูลภาพยนตร์ต่างประเทศ ห้องสมุดคณะวิจิตรศิลป์ ฐานข้อมูล คณะวิจิตรศิลป์ ฐานข้อมูล คณะบริหารธุรกิจ ฐานข้อมูลคณะอุตสาหกรรมเกษตร ฐานข้อมูลคณะวิทยาศาสตร์
Q & A Thank You