ระบบฐานข้อมูลอนามัยสิ่งแวดล้อมประเทศไทย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Accessing Web Application Data at Any Time 1. 2 อาจารย์ที่ปรึกษาโครงการ ผศ. กานดา สายแก้ว อาจารย์ผู้ร่วมประเมินโครงการ ผศ. อนัตต์ เจ่าสกุล รศ. วนิดา แก่นอากาศ.
Advertisements

การควบคุมวัตถุดิบสำหรับร้านอาหารโดยใช้ RFID ร่วมกับ Web Service
Accessing Web Application Data at Any Time
(1) สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย คณะวิศวกรรมศาสตร์ กำแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
Chapter 1 ระบบฐานข้อมูล (Database System)
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS : Geographic Information System)
ระบบสารสนเทศ อ.วรพจน์ พรหมจักร.
ระบบคอมพิวเตอร์.
ศูนย์ข้อมูลกลางเพื่อบริหารจัดเก็บและใช้ประโยชน์
เทคโนโลยีสารสนเทศ อาจารย์ศิริพร ศักดิ์บุญญารัตน์
แนวทางการจัดทำงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ ของ
ระบบสารสนเทศในหน่วยธุรกิจ
บทที่ 6 : Firewall Part3 สธ412 ความมั่นคงของระบบสารสนเทศ
ผู้บริหารกรมชลประทานกับระบบEIS
การประชุมชี้แจงเรื่อง การจ่ายเงินผ่านระบบ KTB corporate online
การออกแบบสถาปัตยกรรมแอปพลิเคชั่น
การปรับปรุงระบบ GIS e-Learning
การใช้เครื่องมือเตือนภัยทางการเงินและ การวิเคราะห์ผล ( CFSAWS:ss )
โปรแกรม GG2 Prompt.
ฮาร์ดแวร์และยูทิลิตี้เบื้องต้น
โครงการแผนการจ่ายเงินการรับเงิน และนำเงินส่งคลังของ เงินทุนหมุนเวียนเพื่อการบริหาร ท่าเรือพาณิชย์สัตหีบ – กองทัพเรือ ผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ e-Payment.
ห้องประชุมออนไลน์ Online Conference
แผนการดำเนินงาน Highlight ปี 2559
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษาค้นคว้า Information Technology for Study Skill 01/12/61.
ชวนคิดชวนคุยลุยงาน สุขาภิบาลอาหารและน้ำ
บทที่ 10 การนำระบบไปใช้/การบำรุงรักษาระบบ
ระบบสารสนเทศ (Information System)
บทที่ 7 ระบบสารสนเทศ.
บทที่ 1 ความหมายขอบเขต และผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ.
บทที่ 2 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
สรุปผลการดำเนินงานข้อมูลสุขภาพ Health Data Center: HDC เขตสุขภาพที่ 12
Educational Information Technology
การออกแบบระบบ System Design.
บริษัท โกลบัล คอนเซิร์น จำกัด 1 ธันวาคม 2553
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
การตรวจราชการแบบบูรณาการ ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
การดำเนินงาน OSCC ศูนย์ช่วยเหลือสังคม
เทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อการศึกษา โดย อาจารย์สุวิสาข์ เหล่าเกิด
วาระที่ 3.1 กิจกรรมเฉลิมพระเกียรติ
กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมการฝึกอบรมครู
แนวทางการดำเนินงาน การประกันคุณภาพการศึกษา ปีการศึกษา 2560
เหตุใด... ต้องมีการประกาศราคากลาง
ระบบบริหารการจัดสอบ NT ACCESS.
(1) ภาวะการหางานทำของบัณฑิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
CPE 491 Proposal (สอบเสนอหัวข้อเพื่อทำ Project)
แนวทาง การจัดทำงบประมาณ ปี พ.ศ. 2562
SGS : Secondary Grading System
โรงเรียนแพทย์ระดับโลก ที่มีคุณค่าต่อสังคมไทย และมวลมนุษยชาติ
นโยบายการบริหารงานกระทรวงสาธารณสุข
บรรยายโดย คุณครูกิริยา ทิพมาตย์ สพม. เขต 23
การออกข้อบัญญัติท้องถิ่น ตามพระราชบัญญัติการสาธารณสุข
คู่มือใช้งานระบบข้อมูลสารสนเทศอนามัยสิ่งแวดล้อมของประเทศไทย
ทิศทางการปฏิบัติงานเพื่อขับเคลื่อนนโยบายและบรรลุเป้าหมาย การพัฒนาที่สำคัญของกรมชลประทาน และกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ระบบสารสนเทศอนามัยสิ่งแวดล้อมของประเทศไทย
ส่วนการเงิน กองการเงินและบัญชี
นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ กรมอนามัย
เทคโนโลยีสารสนเทศ อาจารย์ศิริพร ศักดิ์บุญญารัตน์
อ.พิณรัตน์ นุชโพธิ์ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
Group Decision Support systems: GDSS
Evaluation and Development of Information System for Risk groups for Diabetes in Health Region 4 การประเมินและพัฒนาระบบข้อมูลกลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวานในพื้นที่เขตสุขภาพที่
TOT e-Conference Bridge to Talk : Simple & Clear.
นายเกรียงไกร แก้วมีศรี ผู้อำนวยการโรงเรียนเมืองสุราษฎร์ธานี
[ บทที่ 3 ] ระบบสารสนเทศ.
หัวหน้ากลุ่มบริหารยุทธศาสตร์ ศูนย์บริหารกฎหมายสาธารณสุข
การใช้ระบบโปรแกรม การกำหนดสิทธิ์การใช้งาน  เจ้าหน้าที่ บันทึก
พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540
บทที่ 3 การให้บริการซอฟต์แวร์ Software as a service(SaaS) 3.1 ความหมาย
ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ระบบฐานข้อมูลอนามัยสิ่งแวดล้อมประเทศไทย โดย.....นางสาวพาสนา ชมกลิ่น กองประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ

NEHIS .....เป็นระบบฐานข้อมูล เพื่อรวบรวมข้อมูลอนามัยสิ่งแวดล้อมของประเทศ สำหรับเป็นข้อมูลสำคัญในการจัดทำสถานการณ์ด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมของหน่วยงานทุกระดับ (พื้นที่ ท้องถิ่น จังหวัด ภูมิภาค และประเทศ)

ที่มาและความสำคัญของการพัฒนาระบบฐานข้อมูลด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม เพื่อเพิ่มคุณภาพข้อมูลอนามัยสิ่งแวดล้อม ( ถูกต้องมีมาตรฐาน ครบถ้วน ไม่ซ้ำซ้อน ตรงกับความต้องการผู้ใช้งาน) เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการข้อมูลอนามัยสิ่งแวดล้อม (ประหยัดทุน เวลา ทรัพยากร ทันต่อเหตุการณ์) เพื่อพัฒนากระบวนการจัดการข้อมูล โดยจังหวัดเป็นหลักในการจัดการข้อมูล ซึ่งบ่งชี้สถานการณ์อนามัยสิ่งแวดล้อมของพื้นที่ได้

วัตถุประสงค์ระบบ NEHIS 1. เป็นฐานข้อมูลออนไลน์สำหรับรวบรวม ประมวลผลข้อมูล และรายงานสถานการณ์ อนามัยสิ่งแวดล้อม 2. เพื่อให้ผู้ใช้งานใช้ประโยชน์ข้อมูลอนามัย สิ่งแวดล้อมได้อย่างถูกต้อง รวดเร็ว

ที่มาและความสำคัญของการพัฒนาระบบฐานข้อมูลด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม Timeline - สำรวจข้อมูลอปท. จัดทำรายงานสถานการณ์ อวล. ปี 2557 พัฒนาเครื่องมือรวบรวม (Excel, NEHIS) เพิ่ม/ปรับประเด็นอวล. สำคัญในระบบ NEHIS ขยายกลุ่มผู้ใช้ระบบ NEHIS เชื่อมโยงระบบ NEHIS กับระบบฐานข้อมูลอื่น - พัฒนาแบบสำรวจ อวล. - สำรวจข้อมูลจังหวัด และอปท. ศอ.ละ 1 จังหวัด 2556 2557 2558 2559 2560 สำรวจข้อมูลอปท. ระดับเทศบาล พัฒนา ระบบ NEHIS ต่อเนื่อง ถ่ายทอด เปิดใช้งานระบบ NEHIS

1. 2. 3. 4. พัฒนาระบบข้อมูลและเฝ้าระวัง ระบบอนามัยสิ่งแวดล้อม ประชาชนได้รับการป้องกันดูแลสุขภาพจากปัจจัยเสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อม เป้าหมาย : จังหวัด ท้องถิ่น ชุมชน มีระบบการจัดการปัจจัยเสี่ยงด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม มาตรการดำเนินงาน 1. พัฒนาระบบข้อมูลและเฝ้าระวัง 2. พัฒนาระบบป้องกันและลดปัจจัยเสี่ยง 3. พัฒนาระบบเวชกรรมสิ่งแวดล้อม 4. ระบบบริหารจัดการ

2. การพัฒนาระบบฐานข้อมูล 2.1 พัฒนาระบบฐานข้อมูลสารสนเทศอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย เป้าหมาย ชี้เป้า วางแผน กำหนดเป้าหมาย กลยุทธ์ ในการดำเนินงาน สนับสนุนข้อมูลเพื่อการสื่อสารเตือนภัย ระบบฐานข้อมูลสารสนเทศด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมของประเทศไทย (แบบ online) (National Environmental Health Information System: NEHIS) 2.2 เชื่อมโยงกับฐานข้อมูล อวล. อื่นๆ ที่มีอยู่ เช่น ฐานข้อมูลมูลฝอยติดเชื้อ /การบังคับใช้กฎหมาย/เหตุรำคาญ /สถานประกอบการด้านอาหาร / ฯลฯ

ลักษณะข้อมูลสารสนเทศอนามัยสิ่งแวดล้อม ข้อมูลระบบสารสนเทศด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมของประเทศไทย (NEHIS) ฐานข้อมูลอนามัยสิ่งแวดล้อม ในสถานพยาบาล ฐานข้อมูลการจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อมในพื้นที่ทั่วไป การเฝ้าระวังด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมในพื้นที่เสี่ยง ฐานข้อมูลผลลัพธ์ ทางสุขภาพ การจัดการ มูลฝอยติดเชื้อ สุขาภิบาลอาหาร Setting Based Area Based โรคนำโดยอาหารและน้ำ (Food and Water borne Diseases) การจัดการน้ำบริโภค เหมือง ความร้อน การจัดการน้ำเสีย การจัดการสิ่งปฏิกูล โรงไฟฟ้า ภัยแล้ง โรคนำโดยสัตว์และแมลง (Vectorborne Diseases) การจัดการมูลฝอย การจัดการ อนามัยสิ่งแวดล้อมพื้นฐาน ของสถานพยาบาล โรงงาน อุตสาหกรรม หมอกควัน การรองรับภาวะฉุกเฉิน และภัยพิบัติ ฝุ่นละออง โรคที่เกี่ยวข้องกับมลพิษอากาศ (Air Pollution-Related Illness) ท่าเรือ การจัดการเหตุรำคาญ ขยะ อิเลคทรอนิกส์ การจัดการกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ โรคที่เกี่ยวข้องกับ ความร้อน (Heat-Related Illness) การใช้กฎหมายสาธารณสุข

องค์ประกอบของ ระบบข้อมูลอนามัยสิ่งแวดล้อม ผู้จัดการระบบ การ บริหาร จัดการ ข้อมูล ผู้จัดการข้อมูล  การบริหารจัดการฐานข้อมูล ผู้จัดการข้อมูลและเจ้าของข้อมูล ดำเนินการ -ส่งเสริมให้มีการใช้ทรัพยากรและเทคโนโลยีที่เหมาะสม -ร่วมกันเก็บรวบรวม วิเคราะห์ เพื่อร่วมกันใช้ประโยชน์ข้อมูล ดำเนินงานจัดทำระบบฐานข้อมูลอนามัยสิ่งแวดล้อม ผู้จัดการข้อมูลพื้นที่สนับสนุนให้เจ้าของข้อมูลดำเนินงานจัดการข้อมูลตามแผนที่วางไว้ ดำเนินงานจัดการระบบสารสนเทศด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมของประเทศไทย ผู้จัดการข้อมูลพื้นที่นำเข้าข้อมูลอนามัยสิ่งแวดล้อมจังหวัดเข้าสู่ระบบสารสนเทศฯ ตามแผนที่วางไว้ ผู้จัดการข้อมูลพื้นที่ คือ เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบของสำนักงานสาธารณสุข (สสจ./สสอ.) ทำหน้าที่บริหารจัดการฐานข้อมูลอนามัยสิ่งแวดล้อม กลุ่มเจ้าของข้อมูล เป็นการรวมกลุ่มเจ้าหน้าที่เจ้าของข้อมูล เช่น องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สถานพยาบาล เป็นต้น ร่วมกำหนดประเด็นอนามัยสิ่งแวดล้อม วิเคราะห์และใช้ประโยชน์ข้อมูล จัดทำแผนปฏิบัติการ กำหนดปัจจัยการดำเนินงานต่างๆ และดำเนินการตามแผนร่วมกัน การบริหารจัดการข้อมูล โดยผู้จัดการข้อมูลดำเนินการจัดการข้อมูล เช่น เชื่อมโยงการนำเข้าข้อมูล และใช้ประโยชน์ข้อมูล เป็นต้น เพื่อให้การดำเนินงานบรรลุเป้าหมายอย่างมีประสิทธิภาพ ฐานข้อมูลอนามัยสิ่งแวดล้อม เป็นการรวมข้อมูลอนามัยสิ่งแวดล้อมประเด็นต่างๆ ด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ เจ้าของข้อมูล ฐานข้อมูลอนามัยสิ่งแวดล้อม  

บุคลากร (Personal) 1. ผู้จัดการระบบ คือ เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบกรมอนามัย (ส่วนกลาง/ศูนย์อนามัย) ทำหน้าที่บริหารจัดการระบบ NEHIS 2. ผู้จัดการข้อมูล คือ เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบของสำนักงานสาธารณสุข (สสจ./สสอ.) ทำหน้าที่บริหารจัดการฐานข้อมูลอนามัยสิ่งแวดล้อมทุกกิจกรรมตลอดระบบข้อมูลอนามัยสิ่งแวดล้อม 3. เจ้าของข้อมูล คือ เจ้าหน้าที่หน่วยงานเจ้าของข้อมูล เช่น องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สถานพยาบาล เป็นต้น ดำเนินการตามแผน เช่น การนำเข้าข้อมูลและใช้ประโยชน์ข้อมูล เป็นต้น

บทบาทบุคลากร เจ้าของข้อมูล ผู้จัดการข้อมูล ผู้จัดการระบบ อปท./รพ. บันทึก แก้ไข ลบข้อมูลส่วนที่เกี่ยวข้อง ออกคำสั่งรายงาน ใช้ประโยชน์ข้อมูล เจ้าของข้อมูล วางแผนปฏิบัติงาน พัฒนา/ให้คำปรึกษาเจ้าของข้อมูล ประสานเครือข่าย บันทึก แก้ไข ลบ ตรวจสอบความถูกต้องข้อมูลในระบบฯ ผู้จัดการข้อมูล พัฒนา ให้คำปรึกษาผู้จัดการข้อมูล ติดตามประเมินผล ตรวจสอบความถูกต้อง ออกคำสั่งรายงาน ใช้ประโยชน์ข้อมูล ผู้จัดการระบบ อปท./รพ. สสจ./สสอ. กรมอนามัย

ฐานข้อมูลอนามัยสิ่งแวดล้อม ระบบฐานข้อมูลการบังคับใช้กฎหมายว่าด้วยการสาธารณสุข

องค์ประกอบของ NEHIS แถบเมนูหลักด้านบน แถบเมนูด้านซ้าย เอกสาร/คู่มือวิชาการ แถบเมนูด้านซ้าย

องค์ประกอบระบบสารสนเทศ ฮาร์ดแวร์ (Hardware) ซอฟท์แวร์ (Software) ข้อมูล (Data) บุคลากร (Personal) ขั้นตอนการปฏิบัติงาน (Procedure)

ฮาร์ดแวร์ (Hardware) อุปกรณ์ที่ติดตั้งโปรแกรม Web Browser ได้

ซอฟท์แวร์ (Software) Application Software

ข้อมูล (Data) Site mapระบบ NEHIS แถบเมนูหลักด้านบน User จัดการข้อมูลผู้ใช้ที่ login เข้าระบบ ออกจากระบบฯ / ข้อมูลส่วนตัว ผู้ใช้ จัดการข้อมูลผู้ใช้งาน (มีเฉพาะ Admin ตามสิทธ์การเข้าถึงแต่ละระดับ) รายงาน เพื่อเข้าถึงการรายงานข้อมูล ข้อมูลสนับสนุน แถบเมนูที่รวบรวมข้อมูลสนับสนุนการดำเนินงาน คู่มือดำเนินงาน/ ข้อมูลเครือข่าย/ ข้อมูลวิชาการของกิจการ หน้าแรก คลิกเพื่อกลับไปหน้าแรก แถบเมนูด้านซ้าย สถานการณ์สุขภาพ ผลกระทบต่อสุขภาพที่เกี่ยวข้องกับการจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อม โรคระบบทางเดินอาหาร/ โรคนำโดยสัตว์และแมลง/ โรคเกี่ยวกับมลพิษอากาศ/ ความร้อน สถานการณ์ฉุกเฉิน การจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อมเมื่อเกิดเหตุการณ์ฉุกเฉิน/ ร้องเรียน สถานการณ์ฉุกเฉิน/ เรื่องร้องเรียน/ การตรวจวิเคราะห์ อนามัยสิ่งแวดล้อมพื้นที่เสี่ยง Setting Base เหมือง/ โรงงาน/ โรงไฟฟ้า/ สถานที่กำจัดมูลฝอย/ สถานที่กิจการ/ คัดแยกขยะอิเล็กทรอนิกส์/ ท่าเรือขนถ่ายสินค้า Area Base มลพิษอากาศ/ ความร้อน/ ภัยแล้ง อนามัยสิ่งแวดล้อมพื้นฐาน ข้อมูลการจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น การจัดการสิ่งปฏิกูลและมูลฝอย/ การสุขาภิบาลอาหารและน้ำ/ การจัดการเรื่องร้องเรียน/ กิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ/ การรองรับภาวะฉุกเฉิน/ การใช้กฎหมาย/ แหล่งกำเนิดมลพิษ อนามัยสิ่งแวดล้อมในโรงพยาบาล ข้อมูลการจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงพยาบาล การจัดการมูลฝอยติดเชื้อ/ การจัดการน้ำเสีย/ โรงครัว/ ประปา/ ส้วมสาธารณะ/ โรงพยาบาลลดโลกร้อน/ สถานที่ทำงานน่าอยู่น่าทำงาน เอกสาร/คู่มือวิชาการ

การใช้งานระบบ NEHIS

การเข้าสู่ระบบ 1. เข้าโดยตรง ด้วย URL http:// hpcnet.dusit.ac.th/nehis 2. เข้าผ่านเว็บไซต์กองประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ http://hia.anamai.moph.go.th

ตัวอย่างลักษณะระบบ NEHIS ตย. 1 เข้าโดยตรง ด้วย URL http://hpcnet.dusit.ac.th/nehis เข้าผ่านเว็บไซต์กองประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ http://hia.anamai.moph.go.th ช่องทางการเข้าใช้ โปรแกรม NEHIS

ตย. 2

ตย. 3

ตย. 4

ตย. 5

รูปแบบการรายงานผล : กราฟ Now ระดับเขตสุขภาพ เปรียบเทียบรายจังหวัด ระดับประเทศเปรียบเทียบรายเขตสุขภาพ กราฟวงกลมแสดงรายละเอียด ระดับจังหวัดเปรียบเทียบรายอำเภอ

รูปแบบการรายงานผล : แผนที่ความเสี่ยง (Point Source) Now ประชาชนทั่วไปใช้ค้นหา ความเสี่ยงในพื้นที่อาศัยได้

จบแล้ว....สวัสดีค่ะ พาสนา ชมกลิ่น กองประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ กรมอนามัย 02 590 4202 pchomklin@hotmail.com Pasana.c@anamai.mail.go.th