บทที่ 3 แฟ้มข้อมูลและฐานข้อมูล

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ซอฟแวร์ SOFTWARE น า ง ส า ว ฐ ิ ติ ม า น า ม ว ง ศ์ เ ล ข ที่ 4 3 ชั้ น ม. 4 / 7.
Advertisements

การพัฒนาระบบทะเบียน ของ โรงเรียนเมโทรเทคโนโลยี จังหวัดเชียงใหม่
 เครือข่ายคอมพิวเตอร์  การที่ระบบเครือข่ายมีบทบาทและ ความสำคัญเพิ่มขึ้น เพราะไมโครคอมพิวเตอร์ได้รับ การใช้งานอย่างแพร่หลาย จึงเกิดความต้องการที่จะ.
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
จัดทำโดย น. ส. ดวงกมล งามอยู่เจริญ เลขที่ 8 น. ส. ณัชชา เชื้อตา เลขที่ 6 เตรียมบริหารธุรกิจปี 1.
การใช้งานระบบ MIS ความสำคัญและผลกระทบของระบบสารสนเทศที่มีต่อธุรกิจ
ซอฟต์แวร์ระบบที่รู้จักกันดี คือซอฟต์แวร์ควบคุมการปฏิบัติการ ของคอมพิวเตอร์ที่เรียกว่า ระบบปฏิบัติการ ระบบปฏิบัติการเป็นชุดคำสั่งที่ใช้ควบคุมระบบฮาร์ดแวร์และ.
บทที่ 6 การจัดการองค์การ.
จัดทำโดย ด. ญ. ดลยา มณีขัติย์ ชั้น ม.1/12 เลขที่ 18 ด. ญ. ณัฐธิดา วันเวียง ชั้น ม.1/12 เลขที่ 19 เสนอ อาจารย์ อรอุมา พงค์ธัญญะดิลก.
ซอฟต์แวร์และการเลือกใช้
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
ระบบจัดการพนักงาน E-Clocking. E-clocking Application คืออะไร E-clocking ย่อมาจากคำว่า Easy Clocking ก็คือทำงานและ ดูแลข้อมูลการบริหารบันทึกเวลาการทำงานของพนักงานแบบ.
การพัฒนาโปรแกรมระบบ รายงาน หน่วยงานเวชสารสนเทศ หน่วยงานเวชสารสนเทศ กลุ่มพัฒนาระบบบริการ สุขภาพโรงพยาบาลสุโขทัย.
CSIT-URU อ. กฤษณ์ ชัยวัณณคุปต์ Mathematics and Computer Program, URU บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ เทคโนโลยีสารสนเทศ Introduction to Information.
การจัดเก็บข้อมูลในแฟ้มข้อมูลธรรมดา นั้น อาจจำเป็นที่ใช้แต่ละคน จะต้องมีแฟ้มข้อมูลของตนไว้เป็นส่วนตัว จึง อาจเป็นเหตุให้มีการเก็บข้อมูล ชนิดเดียวกันไว้หลาย.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
บทที่ 3 นักวิเคราะห์ระบบและการ วิเคราะห์ระบบ. 1. นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) 1.1 ความหมายของนักวิเคราะห์ระบบ นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis:
หัวข้อเนื้อหา บทที่ 1 บทนำ (ระบบฐานข้อมูลเบื้องต้น) การนำฐานข้อมูลมาประยุกต์ใช้ ข้อมูลและสารสนเทศ ความสำคัญของระบบฐานข้อมูลต่อการบริหารและการตัดสินใจ.
ประเภทของ CRM. OPERATIONAL CRM เป็น CRM ที่ให้การสนับสนุนแก่กระบวนการธุรกิจ ที่เป็น “FRONT OFFICE” ต่างๆ อาทิ การขาย การตลาด และการ ให้บริการ SALES FORCE.
การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ ครูชาญณรงค์ ปานเลิศ โรงเรียนพระบางวิทยา ครูชาญณรงค์
ซอร์ฟแวร์ ( Software ). Microsoft excel Microsoft excel Microsoft power point.. Link Link.
Project Management by Gantt Chart & PERT Diagram
เรื่อง กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
นำเสนอวิธีปฏิบัติที่ดี ด้านกิจกรรมพัฒนานักศึกษา
ฐานข้อมูล.
Material requirements planning (MRP) systems
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
บทสรุป ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
บทที่ 1 สถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมูล (Database Architecture)
บทที่ 7 การวิเคราะห์และพัฒนาระบบ
แนวทางการออกแบบโปสเตอร์
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 5 ระบบจัดการฐานข้อมูล
Basic Input Output System
Presentation การจัดการข้อร้องเรียนในธุรกิจบริการ Customer Complaint Management for Service.
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ (Information System)
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
กรอบอัตรากำลังของบุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา 38 ค. (2)
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
บทที่ 4 ความรู้เกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
บทที่ 5 ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารทรัพยากรมนุษย์
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
การรายงานความคืบหน้าหรือสถานะ
บทที่ 8 การควบคุมระบบสารสนเทศทางการบัญชี : การควบคุมเฉพาะระบบงาน
การจัดการข้อมูล ดร. นพ. วรสิทธิ์ ศรศรีวิชัย
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
ขั้นตอนการออกแบบ ผังงาน (Flow Chart)
บทที่ 7 การวิเคราะห์และพัฒนาระบบ
บทที่ 3 ซอฟต์แวร์ประยุกต์
บทที่ 2 การประมวลผลข้อมูล
การบริหารโครงการซอฟต์แวร์
โครงการจัดทำระบบฐานข้อมูล วัตถุเสพติดของกลาง (ระยะที่1)
บริษัท พัฒนาวิชาการ (2535) จำกัด
บทสรุป ระดับของข้อมูล มีการจัดแบ่งระดับของข้อมูลเป็น 3 ระดับ
SMS News Distribute Service
ผลการเรียนรู้ 1. สามารถบอกความหมายของการสืบค้นข้อมูลได้ 2. สามารถบอกประเภทของการสืบค้นข้อมูลได้ 3. สามารถตรวจสอบความน่าเชื่อถือของข้อมูลได้
BASIC STATISTICS MEAN / MODE / MEDIAN / SD / CV.
บทที่ 9 การเรียงลำดับข้อมูล (Sorting)
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
สถาปัตยกรรมของฐานข้อมูล
การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี และข้อผิดพลาด
งานนำเสนอสำหรับโครงการ นิทรรศการวิทยาศาสตร์
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การกำหนดประเด็นปัญหา
บทที่ 10 วงจรรายได้.
ชัยพฤกษ์รัตนาธิเบศร์ - วงแหวน
แนวทางการออกแบบนิตยสาร
บทที่ 15 การติดตั้งระบบและการทบทวนระบบงาน.
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 3 แฟ้มข้อมูลและฐานข้อมูล มนุษย์มีความพยายามที่จะบันทึกข้อมูลลงในระบบคอมพิวเตอร์หรือสื่อบันทึกอิเล็กทรอนิกส์ต่างๆ ร่วมกับการบันทึกลงในเอกสารหรือเก็บไว้เป็นข้อมูลสำรองเพื่อรองรับความเสียหายที่มีโอกาสเกิดขึ้นได้จาการบันทึกลงในกระดาษ และช่วยลดค่าใช้จ่ายบางส่วนจาการใช้กระดาษ

1. แฟ้มข้อมูล มนุษย์มีความพยายามที่จะบันทึกข้อมูลลงในระบบคอมพิวเตอร์หรือสื่อบันทึกอิเล็กทรอนิกส์ต่างๆ ร่วมกับการบันทึกลงในเอกสารหรือเก็บไว้เป็นข้อมูลสำรองเพื่อรองรับความเสียหายที่มีโอกาสเกิดขึ้นได้จาการบันทึกลงในกระดาษ และช่วยลดค่าใช้จ่ายบางส่วนจาการใช้กระดาษ การจัดเก็บข้อมูลในรูปแบบของเอกสารยังคงมีความสำคัญเนื่องจากในแง่ของกฎหมาย ยังคงต้องข้อมูลในรูปแบบเอกสารต้นฉบับเป็นพยานหลักฐาน ดังนั้น องค์กรยังคงต้องมีการจัดเก็บข้อมูลในรูปแบบเอกสารควบคู่ไปกับการจัดเก็บข้อมูลลงในระบบคอมพิวเตอร์

1. แฟ้มข้อมูล แฟ้มข้อมูล(File) คือ การจัดเก็บข้อมูลทั้งหมดที่เกี่ยวข้องกับสิ่งๆหนึ่งที่น่าสนใจ เพื่อใช้อธิบายหรือบ่งชี้ถึงสิ่งนั้นๆ จัดเก็บในรูปแบบของเอกสารและแฟ้มข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ เช่น เอกสารประวัติส่วนตัว เอกสารการสมัครเข้าทำงาน และเอกสารประวัติผลงานของพนักงานแต่ละคร เป็นต้น สมัครเข้าทำงาน ประวัติส่วนตัว

ข้อจำกัดของแฟ้มข้อมูล 1 ความซ้ำซ้อนและความสับสนของข้อมูล (data redundancy and confusion) 2 ความขึ้นต่อกันของข้อมูลและโปรแกรมที่ใช้งาน (Program-data dependence) 3 ข้อมูลขาดความยืดหยุ่น (lack of flexibility) 4 ข้อมูลขาดความปลอดภัย (poor security) 5 ข้อมูลขาดความสะดวกในการใช้งานและแบ่งปันใช้งานร่วมกัน (lack of data sharing and availability)

การจัดรูปแบบโครงสร้างของแฟ้มข้อมูล 1 โครงสร้างของแฟ้มข้อมูลแบบเรียง (serial file) 2 โครงสร้างของแฟ้มข้อมูลแบบเรียงลำดับ (sequential file) 3 โครงสร้างของแฟ้มข้อมูลแบบตรงหรือแบบสุ่ม (direct or random file) 4 โครงสร้างของแฟ้มข้อมูลแบบเรียงลำดับดัชนี (indexed sequential file)

3 ข้อมูลในแฟ้มข้อมูลที่มีการสร้างขึ้นในแต่ละฝ่ายหรือแผนก ข้อจำกัดในการใช้งานแฟ้มข้อมูล 1 ข้อมูลมีการแยกเก็บออกจากกัน 2 ข้อมูลในแฟ้มข้อมูลจะผูกติดกับตัวซอฟต์แวร์ประยุกต์ 3 ข้อมูลในแฟ้มข้อมูลที่มีการสร้างขึ้นในแต่ละฝ่ายหรือแผนก 4 ขาดการควบคุมการใช้ระบบแฟ้มข้อมูลจากศูนย์กลาง

2. ฐานข้อมูล 1. ฐานข้อมูล (Database) คือ แหล่งที่ใช้จัดเก็บข้อมูลโดยรวบรวมข้อมูลที่มีความสัมพันธ์หรือเกี่ยวข้องกันในเรื่องใดเรื่องหนึ่งมาจัดเรียงรวมกันไว้ที่เดี่ยวกันอย่างเป็นระบบ เพื่อให้ง่ายต่อการค้นหาข้อมูลและการใช้งานข้อมูลร่วมกัน เช่น ฐานข้อมูลพนักงาน อาจประกอบด้วย -ตารางข้อมูลประวัติส่วนตัวพนักงาน -ตารางข้อมูลผลการปฎิบัติของพนักงาน -ตารางข้อมูลการลาของพนักงาน ในฐานข้อมูลจะมีการอธิบายโครงสร้างฐานข้อมูลและลักษณะข้อมูลที่เก็บไว้เป็นอย่างไร เช่น โครงสร้างของตารางข้อมูล คุณลักษณะของแต่ละเขตข้อมูล และความสัมพันธ์ของตารางข้อมูล ซึ่งคำอธิบายเกี่ยวกับโครงสร้างฐานข้อมูลเรียกว่า “พจนานุกรมข้อมูล ( Data dictionary)”

2. ฐานข้อมูล รูปแบบการจัดเก็บข้อมูลในลักษณะฐานข้อมูล ซึ่งขช้อมูลจะสัมพันธ์กันและกัน ดังนั้นจึงทำให้ผู้ใช้งานหรือผู้จัดการฐานข้อมูลสามารถค้นคืน (Retrieve) แก้ไข (Edit) ปรับปรุงหรือเปลี่ยนแปลงโครงสร้างข้อมูล (Update) และจัดเรียงข้อมูล (Sort) ได้สะดวกรวดเร็วมากขึ้น การจัดการดังกล่าวนั้นต้องใช้ซอฟต์แวร์สำหรับจัดการฐานข้อมูล เรียกว่า ระบบจัดการฐานข้อมูล(database management system; DBMS)

2. ฐานข้อมูล 2. ข้อดีในการจัดเก็บข้อมูลด้วยฐานข้อมูล 1.ลดความขัดแย้งของข้อมูลจากการจัดเก็บด้วยรูปแบบของแฟ้มข้อมูลแบบเดิม ซึ่งการเก็บข้อมูลเรื่องเดียวกันมีโอกาสที่จะอยู่หลายแฟ้มข้อมูลก่อให้เกิดความขัดแย้งของข้อมูล 2. ผู้ใช้งานในแต่ละฝ่ายสามารถใช้งานร่วมกันได้ เนื่องจากฐานข้อมูลมีการจัดเก็บที่รวบรวมหลายแฟ้มข้อมูลที่สัมพันธ์กันในเรื่องใดเรื่องหนึ่งไว้ที่เดียวกัน 3. ลดความซ่ำซ้อนของข้อมูลที่มีโอกาสเกิดขึ้นได้จากลักษณะของการจัดเก็บในรูปแบบแฟ้มข้อมูล โดยข้อมูลชุดเดียวกันอาจถูกเก็บไว้หลายๆแห่งที่จำเป็นต้องใช้งานเหมือนกัน ทำให้เกิดการจัดเก็บที่ซ้ำซ้อน 4. ฐานข้อมูลมีระบบการจัดการฐานข้อมูลที่สามารถควบคุมความผิดพลาดที่เกิดขึ้นในระหว่างการใช้งาน โดยสามารถระบุกฎเกณฑ์ในการควบคุมความผิดพลาด

2. ฐานข้อมูล 2. ข้อดีในการจัดเก็บข้อมูลด้วยฐานข้อมูล 5. ผู้บริหารฐานข้อมูลสามารถกำหนดสิทธิ์การเรียกใช้ข้อมูลผ่านระบบจัดการฐานข้อมูล ทำให้ผู้ใช้งานแต่ละคนได้รับสิทธิ์ที่แตกต่างกัน 6. สร้างความเป็นมาตรฐานเดียวกันในการจัดเก็บข้อมูล เนื่องจากการเก็บข้อมูลในฐานข้อมูลต้องกำหนดและควบคุมมาตรฐานของข้อมูลให้เป็นไปในลักษณะเดียวกันทั้งหมด โดยผู้บริหารฐานข้อมูลสามารถกำหนดมาตรฐานในการนำเข้าข้อมูล แสดงผลข้อมูล การจัดเก็บข้อมูล 7. มีความเป็นอิสระระหว่างข้อมูลและซอฟต์แวร์ประยุกต์ที่ใช้งาน ในฐานข้อมูลจะมีระบบจัดการฐานข้อมูลเป็นตัวจัดการควบคุมฐานข้อมูล ถ้ามีการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างข้อมูลใดก็จะแก้ไขเฉพาะซอฟต์แวร์ที่เรียกใช้โครงสร้างข้อมูลนั้น โดยไม่กระทบต่อซอฟต์แวร์ในส่วนอานๆ

2. ฐานข้อมูล 3. ข้อจำกัดในการจัดเก็บข้อมูลด้วยฐานข้อมูล 1.ต้นทุน เช่น ค่าใช้จ่ายในการจัดหาซอฟต์แวร์ ค่าใช้จ่ายการจัดหาบุคลากรเพื่อเข้ามาทำหน้าที่ในการบริหารฐานข้อมูล ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับฮาร์ดแวร์ที่ต้องจัดเตรียมให้มีประสิทธิภาพเพียงพอ 2.ความเสี่ยงต่อการสูญเสียข้อมูลที่จัดเก็บในฐานข้อมูล เนื่องเก็บไว้ที่เดียวกันหากมีปัญหาเกิดขี้นหรือชำรุดอาจทำให้ข้อมูลทั้งหมดสูญหายไปได้ ดังนั้นการจัดทำฐานข้อมูลที่ดีจำเป็นต้องสำรองข้อมูลไว้เสมอ

2. ฐานข้อมูล หมายเหตุ การสร้างฐานข้อมูล หมายเหตุ การสร้างฐานข้อมูล 1.ขั้นตอนแรกหน่วยงานต้องออกแบบฐานข้อมูล ได้แก่ การกำหนดวัตถุประสงค์ของการสร้างฐานข้อมูลให้ชัดเจน ได้แก่ -ฐานข้อมูลที่สร้างขึ้นมาเพื่อเก็บข้อมูลเรื่องใด - ฐานข้อมูลนำไปใช้เพื่ออะไร - สารสนเทศที่ต้องจากฐานข้อมูลที่สร้างขึ้นนี้มีอะไรบ้าง

รูปแบบของระบบฐานข้อมูล

1. ปัญหาของการจัดเก็บข้อมูลด้วยแฟ้มข้อมูลแบบเดมมีอะรบ้าง กิจกรรม 3 - 1. ปัญหาของการจัดเก็บข้อมูลด้วยแฟ้มข้อมูลแบบเดมมีอะรบ้าง 2. ในการจัดเก็บข้อมูลด้วยแฟ้มข้อมูล สามารถจัดรูปแบบโครงสร้างของแฟ้มข้อมูลได้กี่วิธีอะไรบ้าง 3. การจัดเก็บข้อมูลด้วยฐานข้อมูลมีความได้เปรียบว่าการจัดเก็บข้อมูลด้วยแฟ้มข้อมูลอย่างไร