ประชุมจัดทำงบประมาณรายจ่าย ๒๕๕๕ นายนรศักดิ์ สุขสมบูรณ์ หัวหน้ากลุ่มงานกฎหมายระเบียบและเรื่องร้องทุกข์ สำนักงานส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นจังหวัดลำปาง 4/8/2019 Norasak Suksomboon
วิเคราะห์ฐานะการคลังปลายปีงบประมาณ 2554 รัฐบาลคงราคาน้ำมันดีเซลไม่เกิน 30 บาท/ ภาษีสรรพสามิตลดลง + VAT ณ หัวจ่าย ลดลง ภาษีมูลค่าเพิ่มตามกม.แผน การโอนจากกรมสรรพากรล่าช้า(อาจไม่ทันภายในเดือนกย.) อปท.ตั้งงป.ปี54 โดยใช้ฐานรายรับจริงปี52 ไม่มีผลกระทบ แต่อปท.ที่ประมาณการรายรับสูงอันตราย/ วางแผนดูแลการใช้จ่ายเงิน 4/8/2019 Norasak Suksomboon
อปท.ควรปฏิบัติปลายปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๔ คาดหมายรายได้จะเข้า ๔ เดือนที่เหลือทำหนังสือขอเร่งจัดสรร / เร่งเก็บภาษีที่จัดเก็บเอง แผนการใช้จ่ายเงินจัดลำดับความสำคัญโครงการที่เหลือ เงินไม่เข้าระงับโครงการ/กันเงินรายจ่ายประจำให้พอกย. วางแผนใช้จ่ายเงินสะสม เพื่อให้มีรองรับการใช้จ่ายในปี๒๕๕๕ หากไม่มีเงินเข้า ต้องประหยัด 4/8/2019 Norasak Suksomboon
แนวโน้มงบประมาณแผ่นดิน รัฐบาลชุดใหม่/งบแผ่นดินล่าช้าอย่างน้อย ๕ เดือน ร่างพรบ.งบประมาณรายจ่ายปีพ.ศ.๒๕๕๕ คาดว่าจะประกาศใช้ประมาณเดือน มค.๒๕๕๕ การจัดสรรงบประมาณให้อปท.ล่าช้า อปท.ควรวางแผนรับมือ ควรมีเงินสะสมจ่ายเงินเดือนค่าจ้าง ค่าตอบแทน ไม่น้อยกว่า ๕- ๖ เดือน 4/8/2019 Norasak Suksomboon
ข้อแนะนำงบประมาณรายจ่ายประจำปี๒๕๕๕ อปท.ควรเร่งรัดประกาศใช้ก่อน ๑ ตุลาคม ๒๕๕๔ ให้ได้ จัดทำแผนการใช้จ่ายเงิน จัดลำดับความสำคัญโครงการรายได้เข้าก่อ หนี้ผูกพันตามลำดับ อปท.ควรบริหารการคลัง ไม่ใช่บริหารการเงิน /การหารายได้ /การใช้ จ่ายเงินอย่างคุ้มค่า เงินอุดหนุนทั่วไปล่าช้าแน่นอน ต้องวางแผนใช้เงินรายได้เก็บเอง หรือเงินสะสมทดรองจ่าย เช่น นม อาหารกลางวัน 4/8/2019 Norasak Suksomboon
การจัดทำงบประมาณรายจ่ายประจำปี ๒๕๕๕ น.มท ด่วนมาก ที่ ๐๘๐๘.๒/ว ๒๐๗๒ ลว. ๑๔ มิ.ย.๒๕๕๔ การจัดทำงบประมาณรายจ่ายตามระเบียบมท.ว่าด้วยวิธีการงบประมาณของอปท. พ.ศ.๒๕๔๑ หรือ จัดทำตามระบบบัญชีคอมพิวเตอร์ ก็ได้ หนังสือจังหวัดลำปาง ขอให้ใช้แบบเดิมตามระเบียบงบประมาณ เนื่องจากมีระเบียบมท.รองรับ แต่ให้ปรับหมวดรายจ่ายให้ตรงตามระบบบัญชีคอมพิวเตอร์ 4/8/2019 Norasak Suksomboon
การตั้งงบประมาณ เป็นการ ประมาณการ ยอดรวมขอให้ ลงท้ายด้วยจำนวนเต็มบาท และเลขกลมๆ เช่น x,xxx,xxx,000 บาท 4/8/2019 Norasak Suksomboon
ด้านรายรับ ให้ตั้งรับยอดเงินรวมทั้งปี ใกล้เคียงกับปีที่ผ่านมา(ปี ๒๕๕๓ เพราะขณะทำงป.ยังไม่ปิดงบปี ๒๕๕๔) ตั้งประมาณการรายรับทั้งปีให้ครบทุกหมวดรายรับ (รายได้+เงินอุดหนุนทั่วไป) 4/8/2019 Norasak Suksomboon
ประเภทรายได้อปท. 2552 2553 2554 ประมาณการ 1. รายได้สุทธิของรัฐบาล 1,604,640 1,350,000 1,650,000 2. รายได้รวมของ อปท. 414,382.23 340,995.18 431,255.00 2.1 รายได้ที่ อปท. จัดหาเอง 38,745.96 29,110.41 2.2 ภาษีอากรที่รัฐบาลเก็บให้และแบ่งให้ 140,679.00 126,589.59 18,109.04 2.3 ภาษีมูลค่าเพิ่มที่รัฐบาลแบ่งให้ 71,900.00 45,400.00 70,500.00 2.4 เงินอุดหนุน 163,057.00 139,895.18 173,900.00 3.สัดส่วนรายได้ อปท. 25.82 % 25.26 % 26.14 % หน่วย : ล้านบาท 4/8/2019 Norasak Suksomboon 9
คาดการณ์การจัดสรรเงินอุดหนุน พ.ศ.2555 งบประมาณแผ่นดิน2,250,000 ล้าน(ขาดดุล3.5แสนล้าน)เหลือ 1,900,000 ล้าน ถ้าสัดส่วนเท่าปี54=26.14% จะเป็นรายได้อปท. 496,660 ล้าน อปท.เก็บเอง เงินอุดหนุนให้อปท. รัฐเก็บจัดสรรให้ อบจ./เทศบาล/อบต.ควรจะได้รับ เงินอุดหนุนทั่วไป 104,875 ล้าน เงินอุดหนุนเฉพาะกิจ 80,000 ล้าน อำนาจหน้าที่ 76,875 ล้าน วัตถุประสงค์ 28,000 ล้าน 4/8/2019 Norasak Suksomboon
แนวโน้มการประมาณการรายรับ ให้ตั้งรับยอดเงินรวมทั้งปี ใกล้เคียงกับปีที่ผ่านมา(ปี ๒๕๕๓) ไม่ควรประมาณการรายรับสูงเกินกว่าปี๒๕๕๓ ปีพ.ศ.๒๕๕๕ ไม่ควรประมาณการรายรับเพิ่มมากขึ้น เพราะแนวโน้มรายได้มีแต่จะลดลง 4/8/2019 Norasak Suksomboon
ด้านรายจ่าย ใช้แผนเป็นแนวทางในการจัดทำงบประมาณรายจ่าย คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุด คดีหมายเลขแดงที่ อ.๑๗๐/๒๕๕๐ คณะผู้บริหารจัดทำงบประมาณไม่ถูกต้องและไม่ชอบด้วยกม.(ทำงป.ก่อนทำแผน/ไม่กำหนดรายจ่ายเพื่อการลงทุน) คำสั่งให้นายกฯพ้นตำแหน่งชอบแล้ว 4/8/2019 Norasak Suksomboon
แผนผังงบประมาณท้องถิ่น เงินงบประมาณ - ต้องตราเป็นข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่าย เงินนอกงบประมาณ -ไม่ต้องตราเป็นข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่าย เช่น เงินอุดหนุนเฉพาะกิจ,เงินสะสม,เงินอุทิศให้ รายจ่ายงบกลาง รายจ่ายตามแผนงาน อปท.อื่นอุดหนุน เงินสำรองจ่าย รายจ่ายตามข้อผูกพัน รายจ่ายประจำ รายจ่ายเพื่อการลงทุน เงินเดือนค่าจ้าง ค่าตอบแทนใช้สอยวัสดุ ค่าสาธารณูปโภค เงินอุดหนุน -รายจ่ายอื่น ค่าครุภัณฑ์ ที่ดินสิ่งก่อสร้าง หมายเหตุ 1.ผังงบประมาณข้างต้นใช้กับ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น.ทั้ง 3 แบบ อบจ./เทศบาล/อบต. 2.รายจ่ายงบกลาง ประเภทสำรองจ่าย – นายกองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น.เป็นผู้อนุมัติ 3.- การโอนงบประมาณ รายจ่ายประจำ – นายกองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น.เป็นผู้อนุมัติ /การโอนงบประมาณ รายจ่ายเพื่อการลงทุน – สภาท้องถิ่น เป็นผู้อนุมัติ 4. - การแก้ไขเปลี่ยนแปลงคำชี้แจงงบประมาณรายจ่าย รายจ่ายประจำ -นายกอปท.เป็นผู้อนุมัติ /การแก้ไขเปลี่ยนแปลงคำชี้แจงงบประมาณรายจ่าย รายจ่ายเพื่อการลงทุน สภาท้องถิ่น เป็นผู้อนุมัติ 4/8/2019 Norasak Suksomboon
เงินอุดหนุนเฉพาะกิจ อปท.ควรทำโครงการและประมาณการเก็บไว้ (Project Thank) ต้องสำรวจออกแบบพื้นที่จริง/ประมาณการ มีการอนุญาตใช้พื้นที่เอกชน/ราชการ ห้ามเปลี่ยนแปลงรายการโดยพลการ เช่น แบบแปลน คุณลักษณะ สถานที่ 4/8/2019 Norasak Suksomboon
การจัดซื้อจัดจ้างโครงการเงินอุดหนุนเฉพาะกิจ ต้องมีหนังสือแจ้งใบจัดสรรงบประมาณจึงเริ่มขั้นตอนจัดซื้อจัดจ้าง(ห้ามใช้หนังสือส่งโครงการของบประมาณมาประกาศสอบราคา) ให้ใช้คุณลักษณะ ขนาดตามที่กำหนดในใบจัดสรรงบประมาณเท่านั้น ห้ามเปลี่ยนแปลง ถ้ามีการแก้ไขเปลี่ยนแปลงต้องทำความตกลงสงป.หรือ อ.สถ.ตามระเบียบงบประมาณ(แก้คำชี้แจงงบประมาณ) แต่ถ้าทำสัญญาแล้ว มีการแก้ไขสัญญา(แบบแปลน)ให้ขออนุมัติต่อ ผวจ.ตามระเบียบพัสดุ 4/8/2019 Norasak Suksomboon
การจัดทำงบประมาณตามแผนงาน รายการจ่ายให้ระบุจ่ายจากเงินรายได้ หรือเงินอุดหนุนทั่วไปด้วย(ตามระเบียบงบประมาณ) แผนงานโครงการใด ตั้งตามแผนพัฒนา 3 ปี ให้ระบุ หน้าที่.. ของแผนด้วย ให้ระบุรายละเอียดรายจ่ายที่จำเป็นในการบริหารเฉพาะด้านการบริหารงานบุคคล 4/8/2019 Norasak Suksomboon
การตั้งงบประมาณ แก้ไขปัญหาความเดือดร้อนและปรับปรุงคุณภาพชีวิต การตั้งงบประมาณ แก้ไขปัญหาความเดือดร้อนและปรับปรุงคุณภาพชีวิต 4/8/2019 Norasak Suksomboon
การตั้งงบประมาณแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนและปรับปรุงคุณภาพชีวิต ๑.สาธารณภัย- เงินสำรองจ่ายเพียงพอเผชิญเหตุตลอดปี /ใช้กรณี ฉุกเฉินที่มีภัยหรือบรรเทาความเดือดร้อนเท่านั้น ๒.การตั้งงบประมาณ- แก้ไขปัญหาล่วงหน้า(โครงการ) /เผชิญเหตุ (เงินสำรองจ่าย) ๓.เบี้ยเลี้ยง - ข้าราชการหรือพนักงาน ไม่น้อย๑๒ ชม.เพิ่ม ๑ เท่า/ อาหาร ๑๐๐ บาท/มื้อ - อปพร./ภาคประชาชน - มีคำสั่ง-วันละ๑๒๐บาทและ เพิ่ม ๑ เท่า/อาหาร ๑๐๐ บาท/มื้อ 4/8/2019 Norasak Suksomboon
การตั้งงบประมาณแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนและปรับปรุงคุณภาพชีวิต(ต่อ) ๔.โครงการบ้านท้องถิ่นไทย เทิดไท้องค์ราชัน ๘๔ พรรษา ๕.การจัดทำแผนชุมชน - อปท.ทำเอง - อุดหนุนงป.ให้คณะกรรมการหมู่บ้าน หรือคณะกรรมการชุมชน 4/8/2019 Norasak Suksomboon
การตั้งงบประมาณ ตามนโยบายแห่งรัฐ การตั้งงบประมาณ ตามนโยบายแห่งรัฐ 4/8/2019 Norasak Suksomboon
การตั้งงบประมาณตามนโยบายแห่งรัฐ ๑.ยาเสพติด - นโยบายรัฐบาล - ศตส.อปท. - ยุทธศาสตร์ ๕ รั้วป้องกัน ๒.โครงการปกป้องสถาบันสำคัญของชาติ ๓โครงการ “ท้องถิ่นไทย รวมใจภักดิ์ รักษ์พื้นที่สีเขียว” ๑) สวนสาธารณะ-เขตเมือง ๒)ปลูกต้นไม้เพิ่มพื้นที่สีเขียว-เขตชนบท 4/8/2019 Norasak Suksomboon
การตั้งงบประมาณตามนโยบายแห่งรัฐ (ต่อ) ๔.ผังเมือง ๕.โครงการป้องกันและลดอุบัติเหตุทางถนน ช่วงเทศกาล ปีใหม่ สงกรานต์ – ตั้งให้พอเทศกาลทั้งปี ๖.กองทุนสวัสดิการสังคม มติครม. (ให้เป็นไปตามความสมัครใจของ อปท.แต่ละแห่ง) หลักการ - ประชาชนออม 1 ส่วน/อปท. 1 ส่วน/รัฐบาล 1 ส่วน - อปท.สมทบเท่าประชาชนและไม่เกิน ๓๖๕ บ./คน/ปี - งบกลาง ประเภทเงินสมทบกองทุนสวัสดิการชุมชน หรือหมวดเงินอุดหนุนให้คกก.กองทุนสวัสดิการชุมชน ๗.ปรัชญาเศรษฐกิจพอพียง 4/8/2019 Norasak Suksomboon
การตั้งงบประมาณ ตามแผนงาน/โครงการ ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น การตั้งงบประมาณ ตามแผนงาน/โครงการ ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 4/8/2019 Norasak Suksomboon
หมวดค่าครุภัณฑ์ ที่ดินสิ่งก่อสร้าง ค่าครุภัณฑ์ให้จัดซื้อตามบัญชีราคามาตรฐานครุภัณฑ์ของสำนักงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๓ หากไม่มีซื้อราคาท้องถิ่น รถยนต์นอกบัญชีครุภัณฑ์ ไม่ต้องขอผวจ. /แต่ให้ชี้แจงในงบประมาณรายจ่ายให้ชัดเจน ให้สืบราคาแนบแคทตาล๊อค /ราคา(เหมือน B.O.Q)เสนอนอ./ผวจ.ด้วย การก่อสร้าง จัดทำบัญชีประมาณการ ( B.O.Q) โดยใช้ราคาวัสดุของพาณิชย์ ค่าKให้ตั้งในประเภท ค่าก่อสร้างสิ่งสาธารณูปโภคฯ 4/8/2019 Norasak Suksomboon
ค่าKให้ตั้งในประเภท ค่าก่อสร้างสิ่งสาธารณูปโภคฯ มาตรการใช้จ่ายเงิน ค่าครุภัณฑ์ให้จัดซื้อตามบัญชีราคามาตรฐานครุภัณฑ์ของสำนักงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๔ หากไม่มีซื้อราคาท้องถิ่น รถยนต์นอกบัญชีครุภัณฑ์ ไม่ต้องขอผวจ. /แต่ให้ชี้แจงในงบประมาณรายจ่ายให้ชัดเจน ให้สืบราคาแนบแคทตาล๊อค /ราคา(เหมือน B.O.Q)เสนอนอ./ผวจ.ด้วย การก่อสร้าง จัดทำบัญชีประมาณการ ( B.O.Q) โดยใช้ราคาวัสดุของพาณิชย์จังหวัด ค่าKให้ตั้งในประเภท ค่าก่อสร้างสิ่งสาธารณูปโภคฯ 4/8/2019 Norasak Suksomboon
หมวดค่าตอบแทนใช้สอยและวัสดุ ค่าวัสดุ ตามระบบบัญชีคอมพิวเตอร์กำหนดนิยาม ราคาไม่เกิน ๕,๐๐๐ บาท(ถ้าคงทนและเกิน๕,๐๐๐ บาท/ ครุภัณฑ์) ไม่เกิน ๕,๐๐๐ บาท ค่าบำรุงรักษาและซ่อมแซม= ค่าใช้สอย ครั้งละเกินกว่า ๕,๐๐๐ บาท ถ้าเป็นบำรุงรักษาและซ่อมแซมครุภัณฑ์ = ค่าครุภัณฑ์ ครั้งละเกินกว่า ๕,๐๐๐ บาท ถ้าเป็นค่าบำรุงรักษาและปรับปรุงที่ดินฯ = ค่าที่ดินสิ่งก่อสร้าง 4/8/2019 Norasak Suksomboon
ค่าบำรุงรักษา เกิน ๕,๐๐๐ บาท ครุภัณฑ์/ที่ดินสิ่งก่อสร้าง ไม่เกิน ๕,๐๐๐ บาท เกิน ๕,๐๐๐ บาท ค่าใช้สอย 4/8/2019 Norasak Suksomboon
การตั้งงบประมาณเพื่อใช้จ่ายจากเงินอุดหนุนทั่วไป การบริการสาธาณสุข อาหารเสริมนม- หมวดค่าตอบแทนใช้สอยและวัสดุ (๗ บาท/สพฐ.กับอปท.๒๖๐วัน หรือศุนย์เด็ก ๒๘๐ วัน) ๓. อาหารกลางวัน - รร.สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น. หมวดค่าตอบแทนใช้สอยและวัสดุ - รร.สังกัดหน่วยอื่น หมวดเงินอุดหนุน - จัดสรรคนละ ๑๓ บาท ๒๐๐ วัน ๔. เบี้ยยังชีพผู้ป่วยเอดส์ ๕. ส่งเสริมศักยภาพสถานศึกษาในสังกัดอปท. –หมวดค่าใช้สอย ประเภทรายจ่ายไม่เกี่ยวเนื่องฯ 4/8/2019 Norasak Suksomboon
ค่าใช้จ่ายเพื่อการเลือกตั้ง การเลือกตั้งกรณีครบวาระ ตั้งให้เต็มทุกตำแหน่งและเพียงพอ เลือกแทนตำแหน่งที่ว่าง 4/8/2019 Norasak Suksomboon
หมวดเงินอุดหนุน (มท ๐๘๐๘.๒๑/ว ๗๔ ๘ ม.ค.๕๓) อุดหนุนส่วนราชการ/อุดหนุนภาคเอกชน ด้านการศึกษาและสาธารณสุข/ ด้านอื่นต้องขออนุกก.อำนวยการกระจายอำนาจระดับจังหวัด กำหนดอัตราการตั้งงบประมาณอุดหนุน - เทศบาลขนาดใหญ่ร้อยละ ๒/ขนาดเล็ก- กลาง ร้อยละ ๓ - องค์การบริหารส่วนตำบล ร้อยละ ๕ - องค์การบริหารส่วนจังหวัด ร้อยละ ๑๐ 4/8/2019 Norasak Suksomboon
ขั้นตอนการขอเงินอุดหนุน โครงการด้านการศึกษา/ด้านสาธารณสุข ส่วนราชการ อำนาจหน้าที่ แผนพัฒนาท้องถิ่น เสนอโครงการ โครงการด้านการศึกษา/ด้านสาธารณสุข โครงการด้านอื่น อปท. อบจ. 10% อบต. 5 % ทน. / ทม. 2% เทศบาลตำบล 3% อนุ กก.กระจายอำนาจฯจังหวัด งบประมาณรายจ่าย(๑๕ ส.ค.) รายงานอปท. ใบเสร็จรับเงิน ดำเนินการ 4/8/2019 Norasak Suksomboon
ค่าสาธารณูปโภคค้างจ่าย สิทธิใช้ไฟฟ้าสาธารณะ ๑๐ % 1ของหน่วยการใช้บ้านพักอาศัย เงื่อนไขการชำระหนี้ค้างค่ากระแสไฟฟ้าสาธารณะ ๑ – ๕ ปี 4/8/2019 Norasak Suksomboon
ตั้งงบฟุ่มเฟือย/ประชาสัมพันธ์ส่วนบุคคล โครงการแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนปชช. วัสดุสิ่งของไม่ระบุข้อความ รูปภาพ ชื่อ การให้ความช่วยเหลือ จำเป็นและประหยัด 4/8/2019 Norasak Suksomboon
การตั้งงบประมาณ เพื่อพัฒนาบุคลากรของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น การตั้งงบประมาณ เพื่อพัฒนาบุคลากรของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 4/8/2019 Norasak Suksomboon
เงินเดือน ค่าจ้าง ประโยชน์ตอบแทนอื่น เงินเดือน ค่าจ้าง ประโยชน์ตอบแทนอื่น คำนวณตั้งจ่ายให้ครบ ๑๒ เดือนหรือ ๑ ปี มิให้สูงเกิน ๔๐ % ของงบประมาณรายจ่าย การตั้งงบฝึกอบรมบุคลากรท้องถิ่น เหมาะสมและคำนึงถึงฐานะการคลัง Ex ทำบัญชีค่าใช้จ่ายด้านบุคลากรไว้ที่ ข้อ ๔ ส่วนที่ ๑ 4/8/2019 Norasak Suksomboon
หมวดเงินเดือนค่าตอบแทนการเมือง อัตราเงินเดือนค่าตอบแทนฝ่ายการเมืองตามระเบียบ มท. คำนวณโดยใช้ฐานเงินเดือนปีที่ผ่านมา (พ.ศ.๒๕๕๓) เป็นเกณฑ์คำนวณ หากรายรับจริง พ.ศ.๒๕๕๔ เพิ่มขึ้นทำให้อัตราเงินเดือนและค่าตอบแทนเปลี่ยน ก็ไม่ทำให้เงินเดือนฯในปี พ.ศ.๒๕๕๔ เปลี่ยนไป (ถือตามข้อเท็จจริง ณ เวลาพิจารณางบประมาณ) เงินตอบแทนประธานสภารองและสมาชิกอยู่ในหมวดเงินเดือน(ฝ่ายการเมือง) 4/8/2019 Norasak Suksomboon
เงินเดือน/ประโยชน์ตอบแทนอื่น × ๑๐๐ (เฉพาะจ่ายจากรายได้) เงินเดือน/ประโยชน์ตอบแทนอื่น × ๑๐๐ (เฉพาะจ่ายจากรายได้) ค่าใช้จ่าย =ด้านบุคคล งบประมาณรายจ่ายประจำปี (ทั้งจ่ายจากเงินอุดหนุนทั่วไป + รายได้) การคำนวณอัตราร้อยละ ๔๐ 4/8/2019 Norasak Suksomboon
เงินประโยชน์ตอบแทนอื่นเป็นกรณีพิเศษ (เงินรางวัลประจำปี) ต้องตั้งไว้ในงบประมาณรายจ่ายประจำปี /เพิ่มเติม หมวดค่าตอบแทนใช้สอยและวัสดุ ประเภทประโยชน์ตอบแทนอื่นสำหรับพนักงานส่วนท้องถิ่นเป็นกรณีพิเศษ (เงินรางวัลประจำปี) คำนวณรวมประโยชน์ตอบแทนอื่นไม่สูงกว่าร้อยละ ๔๐ ของงบประมาณรายจ่ายประจำปี ไม่สามารถจ่ายจากเงินสะสม ตาม ข้อ ๙๐ แห่งระเบียบ การรับเงิน การเบิกจ่ายเงินฯ (น.กระทรวงมท. ๐๘๐๘.๔/ว ๔๒๘๘ ลว ๒๔ ธค.๒๕๕๒) 4/8/2019 Norasak Suksomboon
การตั้งงบประมาณ ที่เป็นภาระผูกพัน การตั้งงบประมาณ ที่เป็นภาระผูกพัน 4/8/2019 Norasak Suksomboon
ให้ตั้งแยกเฉพาะต่างหากไม่ต้อง ตั้งอยู่ในส่วนราชการใด งบกลาง ให้ตั้งแยกเฉพาะต่างหากไม่ต้อง ตั้งอยู่ในส่วนราชการใด สมทบเงินประกันสังคม 4/8/2019 Norasak Suksomboon
การตั้งงบประมาณสมทบกองทุน กบท. อบจ.และอบต. ร้อยละ ๑ เทศบาล ร้อยละ ๒ คำนวณจากประมาณการรายรับ/ ประมาณการรายรับของงบเฉพาะการไม่ต้องนำมาคำนวณ/งบเพิ่มเติมให้ส่งสมทบด้วย 4/8/2019 Norasak Suksomboon
กองทุนหลักประกันสุขภาพ เงินสมทบ - เทศบาลและอบต.ขนาดใหญ่ ไม่น้อยกว่า ๕๐% - อบต.ขนาดกลาง ไม่น้อยกว่า๒๐% - อบต.ขนาดเล็ก ไม่น้อยกว่า๑๐% ๒. งบกลาง รายจ่ายตามข้อผูกพัน ๓. ค่าใช้จ่าย แก่หน่วยบริการ กลุ่มปชช. ค่าตอบแทนกก.ประชุม ๒๐๐ บ./ครั้ง /ซื้อครุภัณฑ์ ไม่เกิน ๒๐.๐๐๐บ. 4/8/2019 Norasak Suksomboon
ผู้รับทุนสัดส่วนเท่าๆกัน ทุนการศึกษา ผู้รับทุนสัดส่วนเท่าๆกัน ฝ่ายการเมือง เจ้าหน้าที่ท้องถิ่น บริหาร สมาชิกสภาท้องถิ่น ขรก./พนักงาน ลูกจ้าง/พนักงานจ้าง นายก/รองนายก/ที่ปรึกษา/เลขานายก คณะกรรมการคัดเลือก 4/8/2019 Norasak Suksomboon
การคิดคำนวณตั้งงบประมาณ - ไม่เกิน 5 ล้าน ตรี 12 โท 2 - เกิน 5 ล้าน ไม่เกิน 20 ล้าน ตรี 16 โท 3 - เกิน 20 ล้าน ไม่เกิน 50 ล้าน ตรี 20 โท 4 - เกิน 50 ล้าน ไม่เกิน 150 ล้าน ตรี 24 โท 5 - เกิน 150 ล้านขึ้นไป ตรี 28 โท 6 รายได้ทุกประเภทรวมเงินอุดหนุนทั่วไปของปีงบประมาณที่ผ่านมา 4/8/2019 Norasak Suksomboon
ทุนคนนอก/ นักเรียน นักศึกษา/ผู้ด้อยโอกาส น.มท ๐๘๐๘.๒/ว๑๓๖๕ ลว.๓๐เมย.๕๐ หลักสูตรสูงกว่าศึกษาพื้นฐาน ไม่สูงกว่าป.ตรี -การตั้งงบประมาณ ไม่เกิน ๕๐ ล้าน ร้อยละ ๓ ๕๐ – ๓๐๐ ล้าน ร้อยละ ๒.๕ เกิน ๓๐๐ ล้าน ร้อยละ ๒ 4/8/2019 Norasak Suksomboon
รายจ่ายเพื่อให้ได้มาซึ่งบริการ ค่าจ้างเหมาบริการ ๑.รักษาความปลอดภัย ๒.ทำความสะอาด ๓.ดูแลสวนหรือต้นไม้ ๔.จ้างเหมาอื่น เช่น เก็บขยะมูลฝอย ครูออกกำลังกาย 4/8/2019 Norasak Suksomboon
รายจ่ายอันเนื่องกับการปฏิบัติราชการที่ไม่เข้าลักษณะรายจ่ายหมวดอื่น โครงการอบรม โครงการจัดงานต่างๆ ให้ตั้งจ่าย ใน รายการเกี่ยวเนื่องกับการปฏิบัติราชการที่ไม่เข้าลักษณะ รายจ่ายหมวดอื่น การประมาณการโครงการต้องมีการคำนวณตามอัตราที่มีระเบียบและ หนังสือสั่งการกำหนดเช่น อัตราค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม ค่าอาการ ค่าเครื่องดื่มและอาหารว่าง ฯลฯ รวมเป็นค่าใช้จ่ายตามจำนวนที่ตั้งจ่าย ไม่ใช้กรณีตั้งจำนวนเงินไว้ เมื่อดำเนินการจึงคิดเนื้องานตามจำนวนเงิน 4/8/2019 Norasak Suksomboon
รายจ่ายที่ไม่เข้าลักษณะประเภทงบรายจ่ายใด รายจ่ายหนึ่ง หมวดรายจ่ายอื่น รายจ่ายที่ไม่เข้าลักษณะประเภทงบรายจ่ายใด รายจ่ายหนึ่ง ค่าจ้างที่ปรึกษาเพื่อศึกษาวิจัยซึ่งมิใช่จัดหาปรับปรุงครุภัณฑ์ที่ดินสิ่งก่อสร้าง 4/8/2019 Norasak Suksomboon
แนวทางบริหารจัดการของ อปท. เพิ่มรายได้ ลดรายจ่าย 4/8/2019 Norasak Suksomboon
เพิ่มรายได้ จากภาษีที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจัดเก็บเอง ใช้แผนที่ภาษี เก็บครบถ้วน /เป็นธรรม 4/8/2019 Norasak Suksomboon
ลดรายจ่าย บริหารจัดการเงินในกระเป๋าให้ดี ดูยอดประมาณการรายรับปี 2554 เทียบกับรับจริงปี 2553 -องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมักตั้งงบประมาณเพิ่มจากปีที่ผ่านมา 10-20 % 4/8/2019 Norasak Suksomboon
-เบี้ยยังชีพผู้ป่วยเอดส์ -เรียนฟรี 15 ปี -อสม.เชิงรุก 3) ดูยอดเงินอุดหนุนทั่วไปปี 2554 ลดลงในขณะที่เงินนี้ต้องจ่ายตามภารกิจถ่ายโอนมากขึ้น -เบี้ยยังชีพผู้ป่วยเอดส์ -เรียนฟรี 15 ปี -อสม.เชิงรุก - นม/อาหารกลางวัน ผล เงินที่จะพัฒนาลดลง 4/8/2019 Norasak Suksomboon
4) การตั้งจ่ายค่าเงินเดือน /ค่าจ้าง ประโยชน์ตอบแทนอื่นตาม มาตรา 35 พรบ 4) การตั้งจ่ายค่าเงินเดือน /ค่าจ้าง ประโยชน์ตอบแทนอื่นตาม มาตรา 35 พรบ.กถ.พ.ศ.2542 4.1) ให้จ่ายจากเงินรายได้ ไม่รวมเงินอุดหนุนไม่เกิน 40 % ของงบประมาณประจำปี 4/8/2019 Norasak Suksomboon
-ต้องอยู่ในยอด 40%ของเงินเดือนด้วย -จ่ายจากเงินสะสมไม่ได้ 4.2) จ่ายเงินโบนัส -ต้องอยู่ในยอด 40%ของเงินเดือนด้วย -จ่ายจากเงินสะสมไม่ได้ 4.3) เลี่ยงการจ่ายเงินค่าจ้างไปจ่ายค่าจ้าง เหมารายบุคคล กระทบยอดพัฒนา 4/8/2019 Norasak Suksomboon
5) ลดรายจ่ายประจำ /ประหยัด - ค่าตอบแทน ใช้สอย /วัสดุ - ลดอุดหนุนหน่วยงานอื่นๆ เพราะหน่วยงานอื่นตั้งงบประมาณไม่ได้หรือถูกตัดงบประมาณจึงมาขอ อปท. 4/8/2019 Norasak Suksomboon
สรุป อปท.จ่ายงบฯประจำมากกว่างบฯพัฒนา ประชาชนได้ประโยชน์อะไรจาก อปท. 4/8/2019 Norasak Suksomboon
การประชุมสภาท้องถิ่นพิจารณางบประมาณ 4/8/2019 Norasak Suksomboon
ขั้นตอนการจัดทำงบประมาณ เจ้าหน้าที่งบประมาณ - ตรวจสอบ - วิเคราะห์ - จัดทำงบประมาณ ส่วนราชการ/หน่วยงานต่าง ๆ ประมาณการรายรับ - รายจ่าย หน่วยงานคลัง - รายงานการคลัง/สถิติ ผู้บริหารท้องถิ่น -พิจารณาอนุมัติให้ ตั้งงบประมาณ แผนพัฒนาท้องถิ่น สภาท้องถิ่น -ให้ความเห็นชอบ นำเสนอต่อสภาท้องถิ่น (ภายในวันที่ 15 สิงหาคม ยกเว้น เทศบาลเพื่อทราบ) ประกาศโดยเปิดเผยให้ ประชาชนทราบ ผู้ว่าราชการจังหวัด/นายอำเภอ - เห็นชอบ/อนุมัติ 4/8/2019 Norasak Suksomboon
การนัดประชุม การเรียกประชุมสภาท้องถิ่น ล่วงหน้าไม่น้อยกว่า 3 วัน เว้นแต่ เหตุด่วนไม่น้อยกว่า24 ชม. แจ้งเป็นหนังสือ การนัดประชุม ทำเป็นหนังสือ ล่วงหน้าไม่น้อยกว่า 3 วัน 4/8/2019 Norasak Suksomboon
ระเบียบวาระการประชุม ๑. ผู้บริหารเป็นผู้เสนอญัตติร่างข้อบัญญัติ ๒.ส่งหนังสือนัดประชุม ระเบียบวาระพร้อมร่างข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่าย ๓.ประมาณการโครงการก่อสร้าง 4/8/2019 Norasak Suksomboon
การประชุมสภาเพื่อพิจารณาเทศบัญญัติงบประมาณ วาระ ๓ ให้ตราเป็นเทศบัญญัติ ๓ วาระรวดไม่ได้ วาระ ๓ ให้ตราเป็นเทศบัญญัติ วาระ ๒ แปรญัตติ วาระ ๑ รับหลักการ กก.แปรญัตติแจ้งกำหนด ประชุมให้ทราบล่วงหน้า ๒๔ ชม.(ข้อ ๑๑๕) ประธานสภาฯส่งรายงาน การแปรญัตติให้ สท.ก่อน ประชุม ๒๔ ชม.เว้นแต่ด่วน (ข้อ๕๐) ต้องตั้ง กก.แปรญัตติ ไม่รับหลักการ ประธานสภาแจ้งผวจ. กำหนดเวลาแปรญัตติ ๒๔ ชม.(ข้อ ๔๕ว.๓) ผู้ขอแปรญัตติยื่น ลงมติไม่มีอภิปราย 4/8/2019 Norasak Suksomboon
เพิ่มรายจ่ายขึ้นใหม่/เพิ่มเติมหรือเปลี่ยนแปลงความประสงค์ =นายกฯผู้แปร การแปรญัตติ ๑. ลดรายจ่าย ๒.ลดจำนวนเงิน เพิ่มรายจ่ายขึ้นใหม่/เพิ่มเติมหรือเปลี่ยนแปลงความประสงค์ =นายกฯผู้แปร 4/8/2019 Norasak Suksomboon
นายกฯเสนอ สภาเห็นชอบ นายกเทศมนตรี สภาเทศบาล ไม่เห็นชอบ เห็นชอบ ผวจ.ตั้ง กก.โดยการเสนอ สท.๗+นายก๗ ประธาน ๑ ผวจ./๑๕ วัน เห็นชอบ ไม่เห็นชอบ นายกฯเสนอ สภาเห็นชอบ สภายืนยัน๒/๓ ไม่เสนอพ้นตำแหน่ง ไม่เห็นชอบ ยุบสภา นายกฯลงนามประกาศใช้ 4/8/2019 Norasak Suksomboon
รายงานการประชุม ให้บันทึกรายงานการประชุมว่า“ที่ประชุมได้รับรองมติที่ประชุมเพื่อสามารถดำเนินการต่อได้โดยไม่ต้องรอรับรองรายงานการประชุม” ส่งพร้อมร่างข้อบัญญัติเพื่อตรวจสอบ 4/8/2019 Norasak Suksomboon