การผลักดันเชิงนโยบายในการสนับสนุน และส่งเสริมการบริหารจัดการถุงยางอนามัย ระดับประเทศ โดย แพทย์หญิงมณฑินี วสันติอุปโภคากร นายแพทย์ชำนาญการพิเศษ สำนักโรคเอดส์ วัณโรคและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
ความเป็นมา จากการจัดประชุมทิศทางและก้าวต่อไปในการบริหารจัดการถุงยางอนามัยและสารหล่อลื่น ตามการปรับโครงสร้างใหม่ของกระทรวงสาธารณสุข ณ วันที่ 18 มิถุนายน 2556 นั้น มีใจความสำคัญเพื่อจัดทำแผนการจัดการถุงยางอนามัยในระดับประเทศ โดยประเทศไทยถือเป็นตัวอย่างที่ดีในการทำงานที่ผ่านมาโดยมีชื่อเสียงในเรื่องการทำให้เกิดการใช้ถุงยางอนามัย 100% เพื่อรณรงค์ส่งเสริมการใช้ถุงยางอนามัยให้เกิดประสิทธิผลต่อการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีในทุกกลุ่มประชาการที่มีความเปาะบางและมีความเสี่ยงต่อการติดเชื้อเอชไอวีและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ นำไปสู่การจัดทำทบทวนองค์ความรู้ นโยบายและประเมินความต้องการถุงยางอนามัย ถุงอนามัยสตรี และสารหล่อลื่น เพื่อนำข้อมูลไปพัฒนาและต่อยอดเป็นยุทธศาสตร์ถุงยางอนามัยให้เกิดความยั่งยืน
วัตถุประสงค์ กลุ่มเป้าหมาย เพื่อสร้างความต้องการและการยอมรับถุงยางอนามัยในทุกภาคส่วน เพื่อให้ประชาชนทุกกลุ่มเข้าถึงและใช้ถุงยางอนามัยสม่ำเสมอถูกต้องและสอดคล้องกับความต้องการ เพื่อพัฒนาและต่อยอดสู่ยุทธศาสตร์ระดับชาติ กลุ่มเป้าหมาย พนักงานบริการ ชายมีเพศสัมพันธ์กับชาย เยาวชน ผู้มีพฤติกรรมเสี่ยงและไม่เปิดเผยสถานะ
เคารพสิทธิและละเอียดอ่อนเรื่องเพศ เอดส์ไม่ใช่เพียงโรคและความเจ็บป่วย Thailand Getting to Zero แผนยุทธศาสตร์ป้องกันและแก้ไขปัญหาเอดส์แห่งชาติ 2555-59 Zero New HIV Infections จำนวนผู้ติดเชื้อฯรายใหม่ลดลง ๒ ใน ๓ จากที่คาดประมาณ อัตราการติดเชื้อฯ เมื่อแรกเกิด น้อยกว่า ร้อยละ ๒ Zero AIDS-related Deaths ผู้ติดเชื้อฯ ทุกคนในแผ่นดินไทย เข้าถึงการดูแลรักษาที่มีคุณภาพอย่างเท่าเทียมกัน จำนวนผู้ติดเชื้อฯเสียชีวิต ลดลงมากกว่าร้อยละ ๕๐ จำนวนผู้ติดเชื้อฯเสียชีวิตเนื่องจากวัณโรค ลดลงมากกว่าร้อยละ ๕๐ Zero Discrimination กฎหมายและนโยบาย ที่เป็นอุปสรรคต่อการเข้าถึงบริการป้องกันดูแลรักษาได้รับการแก้ไข การทำงานเอดส์ทุกด้านมีประเด็นที่เกี่ยวเนื่องกับการเคารพสิทธิมนุษยชน และจำเพาะกับเพศสภาวะ จำนวนการถูกเลือกปฏิบัติหรือการละเมิดสิทธิ ลดลงไม่น้อยกว่าร้อยละ ๕๐ ประชากรเป้าหมายมีพฤติกรรมปลอดภัยจากการติดเชื้อและได้รับบริการป้องกัน (KPI: % เยาวชนใช้ถุงยางอนามัยในเพศสัมพันธ์ครั้งล่าสุด) ประชาชนทราบสถานะการติดเชื้อและผู้ติดเชื้อได้ยาแต่เนิ่นๆ (KPI: % ผู้ได้iรับการตรวจ HCT ) Innovations and Changes เร่งรัดขยายการป้องกันให้ครอบคลุมประชากรที่มีพฤติกรรมเสี่ยง และคาดว่าจะมีจำนวนการติดเชื้อฯ รายใหม่มากที่สุด (33 จังหวัด) ขยายการปกป้องทางสังคมและปรับเปลี่ยนสภาวะแวดล้อมทาง กฎหมายที่มีความสำคัญต่อการป้องกันและการรักษา เพิ่มความร่วมรับผิดชอบและเป็นเจ้าของร่วมในระดับประเทศ จังหวัด และท้องถิ่น พัฒนาระบบข้อมูลเชิงยุทธศาสตร์ Optimization and Consolidation ป้องกันการติดเชื้อฯ เมื่อแรกเกิด ป้องกันการติดเชื้อฯ ในกลุ่มเด็กและเยาวชน ส่งเสริมการใช้ถุงยางอนามัยแบบบูรณาการ บริการโลหิตปลอดภัย ดูแลรักษาและการให้ความช่วยเหลือแก่ผู้ติดเชื้อฯ ดูแลเด็กและครอบครัวที่ได้รับผลกระทบจากเอดส์ การลดการตีตราและการเลือกปฏิบัติ การสื่อสารสาธารณะ เคารพสิทธิและละเอียดอ่อนเรื่องเพศ เอดส์ไม่ใช่เพียงโรคและความเจ็บป่วย เสริมพลังอำนาจ มุ่งเน้นเป้าหมาย ภาวะผู้นำและเป็นเจ้าของ ภาคีเครือข่ายการทำงาน
ทิศทางและก้าวต่อไปในการบริหารจัดการถุงยางอนามัยและสารหล่อลื่น วันที่ 18 มิถุนายน 2556 ณ โรงแรมนารายณ์ สีลม กรุงเทพฯ
ข้อค้นพบ เรื่องการรณรงค์ถุงยางอนามัย 100% ที่ผ่านมาถือว่าได้ผลในด้านการป้องกัน แต่ยังไม่เพียงพอ การอุปโภคบริโภคสินค้ายังต่ำอยู่ ยังต้องสร้างทัศนคติต่อการพกพาและการใช้ถุงยางให้มากขึ้น การสนับสนุนเงินทุนยังมีความจำเป็น ราคาการผลิตสูงขึ้น ต้องการการสนับสนุนจากกองทุนต่าง ๆ อยู่ ต้องเพิ่มความยั่งยืนของโครงการฯ ระบบงานยังมีความล่าช้า การรายงานการใช้และอื่นๆ ยังไม่ครอบคลุม การคำนวณความต้องการเป็นไปได้ยาก เนื่องจากมีความต้องการมากกว่าที่ได้รับการสนับสนุน
ยุทธศาสตร์ชาติ "ถุงยางอนามัย" 1. เป็นบริการที่รัฐจัดหาให้ฟรีเพื่อลดจำนวนการติดเชื้อรายใหม่ รัฐต้องจัดหาในปริมาณที่เพียงพอ รัฐส่วนกลางต้องประสานรัฐท้องถิ่นในการจัดหา ใครตั้งงบ วิธีการระดมทุน 2. กำหนดจำนวนต้องการใช้ที่เพียงพอ เช่น ครอบคลุมคน 10 ล้านคน คนละ 60 ชิ้น/ปี รวมเป็น 160 ล้านชิ้น/ปี 3. กำหนดกลุ่มเป้าหมายที่ต้องสนับสนุนเป็นพิเศษ กลุ่มพนักงานบริการหญิง/ชาย เยาวชน MSM ร่วมมือกับเครือข่ายที่ทำงาน ประสานคนที่พร้อมส่งถึงมือไปทางไปรษณีย์ ประสานกับแหล่งบริการที่ไปใช้บริการแจกฟรี ประสานกับตำรวจ สร้างความเข้าใจไม่ใช้เป็นหลักฐานในการจับกุม ผลิตถุงยางจูงใจใช้เฉพาะในกลุ่ม MSM Social Marketing 4. สร้างช่องทางการกระจาย ช่องทางเดิมจาก สคร. สสจ. รพช. รพท. รพสต. ส่งถึงบ้าน ถึงมืออย่างรวดเร็ว ประชาสัมพันธ์ให้ใครที่ต้องการทราบช่องทางอย่างสม่ำเสมอ ติดต่อขอที่อยู่ทางไปรณีย์ ร่วมมือกับชุมชน ส่งถึงกลุ่มเป้าหมายในแต่ละชุมชน ร่วมมือกับกองทุนสุขภาพตำบล ให้ร่วมมือแก้ปัญหา STIs , AIDS/HIV , ท้องไม่พร้อม โดยการแจกให้ตามกลุ่มต่างๆ ในชุมชนและการสมทบซื้อแจก ประสานงานกับโรงแรมทุกแห่งทั่วประเทศเป็นจุดแจกฟรี ร่วมมือกับชุมชนในรูปแบบของเครือข่าย เช่น ข่ายเยาวชน , ข่ายคนพิการ , ข่ายผู้หญิง , ข่ายเกษตรกรรม ฯลฯ เพื่อแจกไปในสมาชิกของตนเอง ร่วมมือกับโรงงาน , กลุ่มคนงาน , สหภาพแรงงาน แจกจ่ายในสมาชิกของตน วางแจกใน สถานที่ที่กลุ่มเป้าหมายไปใช้บริการ 5. ทำให้ถุงยางราคาถูกมากๆ ผลิตถุงยางที่จูงใจเฉพาะในบางกลุ่มและมีความหลากหลาย ทั้งขนาด สีสรร และราคา 6. มีการโฆษณาอย่างสม่ำเสมอ 7. สร้างความเข้าใจกับเจ้าหน้าที่รัฐที่เกี่ยวข้อง เช่น ตำรวจ ครู เจ้าหน้าที่ รพสต. 8. ปรับปรุงกฏหมายที่เป็นอุปสรรค
แผนงานหลัก และเฉพาะกลุ่ม **ความเพียงพอของถุงยางอนามัยแก่กลุ่มเป้าหมาย** **ทำอย่างไร(จุดวางถุงยางอนามัยให้หยิบใช้ง่าย) ให้กลุ่มเป้าหมายใช้ถุงยางอนามัย** พนักงานบริการ สร้างการเข้าถึงถุงยางอนามัย ที่เพียงพอและต่อเนื่อง โดยภาครัฐสนับสนุน การเข้าถึง มีเครือข่ายภาคประชาสังคมทำงานเพื่อเข้าถึงกลุ่มนี้ การรณรงค์ การสร้างความรู้ การประชาสัมพันธ์ สร้างความเข้าใจ ระดับพื้นที่ด้านส่งเสริมการใช้ถุงยางอนามัย
ชายมีเพศสัมพันธ์กับชาย การเข้าถึง : แหล่งชุมนุม เช่น สปา เซาว์น่า ฟิตเนส และ Internet เข้าใจบริบทการใช้ชีวิตของกลุ่มเป้าหมาย สร้างกระแสในหลายๆรูปแบบ Social media, Website เช่น Adam’s love ของสภากาชาดไทย ขนาดถุงยางอนามัยที่หลากหลาย การทำงานผ่านเครือข่าย ภาคประชาสังคม การใช้ Social Media, Internet, Application ลดข้อจำกัดทางกฎหมาย เยาวชน ให้ความรู้ แจกถุงยางอนามัยในกลุ่มที่อยู่นิ่ง เช่น ในค่ายทหาร ปรับทัศนคติบุคคลรอบข้างเยาวชน (ครู ผู้ปกครอง ชุมชน) นำเรื่อง“ท้องไม่พร้อม” นำ
การพัฒนาระบบบริหารจัดการ การระดมทรัพยากร และ การพัฒนาระบบบริหารจัดการ
การเตรียมการของส่วนกลาง นำข้อมูลที่ได้จากการสำรวจความต้องการมาวิเคราะห์และต่อยอดโครงการ เตรียมข้อมูลสนับสนุนเชิงนโยบาย โดยศึกษาความคุ้มค่าในการลงทุน ด้านการป้องกันเรื่องถุงยางอนามัย เปรียบเทียบกับการดูแลรักษาผู้ป่วย กรมควบคุมโรคทำ MOUร่วมกับกรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น โดย จัดหาถุงยางอนามัย และสนับสนุนด้านงบประมาณ จัดประชุมผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกภาคส่วนรวมถึงกรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น และสำนักงบประมาณ จัดลำดับความสำคัญของกลุ่มเป้าหมายที่ควรสนับสนุน ในภาวะที่มีงบประมาณจำกัด ประสานกับองค์กรเอกชน ภาคธุรกิจ ให้มีส่วนร่วมในการสนับสนุนถุงยางอนามัย
ช่องทางการระดมทรัพยากร สสจ.ของบประมาณผ่านไปที่ อปท. แต่ละพื้นที่ ทำ CSR กับภาคธุรกิจ เรื่องกองทุนถุงยางอนามัย ให้ GPO จ้างผลิตถุงยางอนามัย และจำหน่ายในราคาถูก ระดมงบประมาณถุงยางอนามัยจาก สปสช. ระดับเขต โดยผ่านคณะ อปสข. (คณะอนุกรรมการหลักประกันสุขภาพเขต) เสนอให้มีการทำ benefit package ของบ PP ที่รวมงบค่าถุงยางอนามัย
การพัฒนาระบบบริหารจัดการ หน่วยงานรับผิดชอบในระดับพื้นที่ ได้แก่ สสจ. การพัฒนาศักยภาพ ส่วนกลาง/สคร. จัดการอบรมรวมถึงการทำแนวทางฯ เรื่อง การสำรวจ/ ค้นหา / คาดประมาณจำนวนกลุ่มเป้าหมาย วิธีการคำนวณความต้องการถุงยางอนามัยและสารหล่อลื่น จัดทำระบบบริหารจัดการถุงยางอนามัยให้หน่วยงานในพื้นที่ เรื่องสถานที่จัดเก็บถุงยางอนามัยที่มีคุณภาพ กำหนดมาตรฐานการจัดเก็บถุงยางอนามัย
การพัฒนาระบบบริหารจัดการ (ต่อ) การกระจายถุงยางอนามัย สสจ.ทำแผนการจัดซื้อ กระจาย และระบบคลังจัดเก็บถุงยางอนามัย จำหน่ายถุงยางอนามัย โดยแกนนำในสถานประกอบการ จัดตั้งเป็นกองทุนหมุนเวียน แจกให้กลุ่มเป้าหมายโดยตรง โดยการทำงานเชิงรุกของเจ้าหน้าที่ภาครัฐ อาสาสมัคร มีระบบติดตามประเมินผลการบริหารจัดการ/สถานที่จัดเก็บของพื้นที่ โดยหน่วยงานส่วนกลางและ สคร. ระบบควบคุมคุณภาพ และการสุ่มตรวจ สสจ. สุ่มและส่งตรวจคุณภาพที่ศูนย์เขตของกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
การติดตามประเมินผล การบริหารจัดการถุงยางอนามัย
วัตถุประสงค์เพื่อติดตามประเด็นดังต่อไปนี้ Supply : การมีถุงยางอนามัยอย่างเพียงพอ โดย จัดหาถุงยางอนามัยอย่างเพียงพอ ให้กับประชากรกลุ่มเป้าหมาย คุณภาพถุงยางอนามัย กระจายถุงยางอนามัยถึงประชากรเป้าหมาย Demand ประชากรกลุ่มเป้าหมาย อยากใช้ ถุงยางอนามัย หรือไม่ การเข้าถึงถุงยางอนามัย มีใช้ ได้ใช้ ถุงยางอนามัยหรือไม่ ใช้ถุงยางอนามัยอย่าง ถูกต้อง หรือไม่
ตัวชี้วัด กลุ่มเป้าหมาย : FSW MSM Youth IDU คู่ผลเลือดต่าง และ PLHIV เชิงปริมาณ : กลุ่มเป้าหมายหลักได้ถุงยางอนามัยอย่างเพียงพอ เชิงคุณภาพ : มีถุงยางอนามัยสนับสนุนอย่างสม่ำเสมอตลอดปี หรือ ช่วงที่ต้องการ เทศกาลรณรงค์
ตัวชี้วัด Supply: เชิงปริมาณ ข้อมูล แหล่งข้อมูล จำนวนประชากรเป้าหมายหลัก FSW MSM Youth IDU การสำรวจแหล่งแพร่ ภาคประชาสังคมดำเนินการสำรวจ ฐานประชากรกลางปี กระทรวงมหาดไทย ข้อมูลจากการเข้ารับการรักษาใน รพ. อัตราการใช้ถุงยางอนามัยของ ประชากรกลุ่มเป้าหมาย ต่อคน ต่อปี จำนวนถุงยางอนามัยที่ต้องการ
ตัวชี้วัด Supply: เชิงคุณภาพ วิธี ผู้รับผิดชอบ ส่วนกลางและจังหวัดมีการตรวจสอบ คุณภาพ ถุงยางอนามัยตามมาตรฐาน สุ่มตรวจระดับ จังหวัด ตำบล ชุมชน ส่วนกลาง : สอวพ. พื้นที่ : สคร. สสจ. ส่วนกลางและจังหวัด มีการจัดเก็บ ถุงยางอนามัย ได้ตามมาตรฐาน การกระจาย ร้อยละของถุงยางอนามัยที่จ่ายไป ในระดับจังหวัด/ สคร./สสจ./หน่วยบริการ ประชาสังคม เช่น รพ. รพสต.
ตัวชี้วัด Demand: อยากใช้ อัตราการใช้ถุงยางอนามัยครั้งล่าสุด FSW/MSW MSM IDU/Youth/PLHI V การใช้ถุงยางอนามัยกับลูกค้า ครั้งล่าสุด การใช้ถุงยางอนามัยกับ คู่ (สามี คู่อยู่กิน) ครั้งล่าสุด การใช้ถุงยางอนามัยทาง ทวารหนัก ครั้งล่าสุด การใช้ถุงยางอนามัยเมื่อมีเพศสัมพันธ์ครั้งล่าสุด
ขอบคุณค่ะ