AIDs/ STI/ TB/ Leprosy/ Hepatitis

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ผลการดำเนินงานวัณโรค ปี 2552 ชื่อ ……… นามสกุล ……… สถานบริการ ………………
Advertisements

ตำบลจัดการสุขภาพ5กลุ่มวัยแบบบูรณาการ
Maesai Hospital GREE N. บริบทของพื้นที่และ ผู้รับบริการ.
งานข้อมูลสารสนเทศ กลุ่มยุทธศาสตร์และงานวิชาการ
ความก้าวหน้าการพัฒนากฎหมาย ที่อยู่ในความรับผิดชอบของกรมอนามัย
การนำเสนอผลการจัดทำแผนและคำของบประมาณ
แผนยุทธศาสตร์วัณโรคระดับชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐-๒๕๖๔
โครงการพัฒนารูปแบบการจัดบริการเชิงรุกเพื่อค้นหาโรคเอดส์ วัณโรค และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ในเรือนจำ นพ.สุเมธ องค์วรรณดี ผู้อำนวยการสำนักโรคเอดส์ วัณโรคและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
โครงการ PrEP PACKAGE ปี 2561
โดย ... ทีมนิเทศงานสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดน่าน
พรทิพย์ เข็มเงิน ศูนย์อำนวยการบริหารจัดการปัญหาเอดส์แห่งชาติ
การพัฒนาความเข้มแข็งของระบบบริการ RRTTR
การดำเนินงานมาตรฐานศูนย์บริการชุมชน สมาคมฟ้าสีรุ้งแห่งประเทศไทย
กรมบัญชีกลาง กองการพัสดุภาครัฐ
HON’s activities Care and Support Program
ความสำคัญของการบันทึกข้อมูลที่ถูกต้อง และการนำไปใช้ประโยชน์
แผนปฏิบัติการ เร่งรัดการยุติปัญหาเอดส์ ประเทศไทย พ.ศ
แนวทางการเฝ้าระวังคุณภาพน้ำดื่ม และน้ำแข็งบริโภค ในสถานประกอบการ
Effective Child Development สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดแพร่
การควบคุมและตรวจสอบภายใน รองผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดิน
บูรณาการ“เข้าใจ เข้าถึง”
สรุปรายงานสถานการณ์วัณโรค จังหวัดปทุมธานี ปี
วันชนา จีนด้วง ศูนย์อนามัยที่ 2 พิษณุโลก
กลุ่มงานควบคุมโรค (งานโรคติดต่อ).
วิระวรรณ ตันติพิวัฒนสกุล
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตรัง
สิทธิประโยชน์การเป็นสมาชิกกองทุน สำรองเลี้ยงชีพ
TB HIV ประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อขยายผลแนวทาง การให้บริการ IPT
สถานการณ์วัณโรค จังหวัดมหาสารคาม
เป้าหมาย มาตรการ และชุดกิจกรรม แผนงานควบคุมวัณโรค สำนักวัณโรค กรมควบคุมโรค 4/4/2019
ความก้าวหน้าการดำเนินงานตามนโยบายตัวชี้วัดวัณโรค
4.8 พัฒนาการเด็กวัยเรียน
ผลการดำเนินงานวัณโรค ปีงบประมาณ 2561
หนังสือคณะกรรมการว่าด้วยการพัสดุ ด่วนที่สุด ที่ กค (กวพ) 0405
(ร่าง) กรอบยุทธศาสตร์ 20 ปี กรมควบคุมโรค
นโยบายการดำเนินงาน PrEP กับการยุติปัญหาเอดส์
การพัฒนาคุณภาพข้อมูลสุขภาพ จังหวัดสระแก้ว
ก้าวทันโรค - - ก้าวต่อไปในการดำเนินโครงการ
สรุปประเมินผลการดำเนินงาน สาธารณสุขจังหวัดสระบุรี รอบ 10 เดือน (ต. ค
การดำเนินงานด้านเอชไอวี MSM/TG สมาคมฟ้าสีรุ้งแห่งประเทศไทย
ความเป็นมาของโครงการ และแนวคิดของรูปแบบการจัดบริการปรึกษาและตรวจเอชไอวีโดยเน้นชุมชนเป็นศูนย์กลาง (community-centered service model) พญ.นิตยา ภานุภาค พึ่งพาพงศ์
การจัดระบบบริการสุขภาพสำหรับผู้ต้องขังในเรือนจำ
สถานการณ์และการดำเนินงานวัณโรค จังหวัดเชียงใหม่
กรมควบคุมโรค 59 นพ.อำนวย กาจีนะ รก.อธิบดีกรมควบคุมโรค 15 ต.ค. 58.
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan)
พระพุทธศาสนา.
การประเมินผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ตัวชี้วัดที่ 4 ร้อยละของเด็ก 0-5 ปี สูงดีสมส่วน ” สำนักโภชนาการ.
รายงานความก้าวหน้า การพัฒนาศักยภาพบุคลากรและโจทย์วิจัย Cluster SALTH
สถานการณ์วัณโรค นางสาวภัทรา ทองสุข นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ
ทิศทาง นโยบาย และเป้าหมายการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ กรมควบคุมโรค ปีงบประมาณ พ.ศ นายแพทย์ภาณุมาศ ญาณเวทย์สกุล รองอธิบดีกรมควบคุมโรค.
อัตราความสำเร็จการรักษา ผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่ (≥ 85 %)
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
สำนักงานเกษตรอำเภอเมืองสมุทรสงคราม
สถานการณ์ นโยบาย และการดำเนินงาน
ตัวชี้วัดกรมตรวจบัญชีสหกรณ์ ปี 2549
สำนักโรคเอดส์ วัณโรค และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
สำนักโรคเอดส์ วัณโรคและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 23 เมษายน 2557
กลุ่มพัฒนาสุขภาพสัตว์
โครงการปรับระบบการเลี้ยงสุกรเพื่อป้องกันโรคและประเมินสถานภาพโรค PRRS ของกลุ่มผู้เลี้ยงสุกรรายย่อยปี 2559.
แนวทางการปฏิบัติเมื่อบุคลากรสัมผัสเลือด หรือสิ่งคัดหลั่งขณะปฏิบัติงาน
แบบฟอร์มการนำเสนอหลักสูตร มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย
Real Time Cohort Monitoring RTCM
การดำเนินงานการจัดบริการเอชไอวี/เอดส์ โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์และวัณโรค สำหรับภาคีเครือข่ายศูนย์บริการชุมชน (DIC- Cluster) ในระดับ อำเภอ/องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ.
ประเภทที่ 1 วิจัยในชั้นเรียน
การเขียนรายงานเชิงวิชาการ
เข้าใจและสามารถปฏิบัติตนตามหลักธรรม ที่เกี่ยวเนื่องกับอริยสัจ 4
จัดสวัสดิการผู้สูงอายุตามวิถีแว้ง
งานการเงินนักศึกษา ส่วนการเงินและบัญชี
การจัดทำและการบริหาร งบประมาณรายจ่ายประจำปี นางดรงค์รัตน์ กล้าหาญ
มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

AIDs/ STI/ TB/ Leprosy/ Hepatitis เป้าหมายและแนวทางการดำเนินงาน ด้านการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ระยะปฏิรูป (พ.ศ.2560 - 2564) AIDs/ STI/ TB/ Leprosy/ Hepatitis นายแพทย์ภาณุมาศ ญาณเวทย์สกุล 1 มิถุนายน 2560

เป้าหมาย 5 ปี (2564) : ประชาชนสุขภาพดี (ลดเสี่ยง ลดป่วย ลดตาย) เป้าหมาย 5 ปี (2564) : ประชาชนสุขภาพดี (ลดเสี่ยง ลดป่วย ลดตาย) SALTH โรค มาตรการ เป้าหมาย ปี 2564 1. เอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ เร่งรัดดำเนินงานตามกรอบRRTTR:Reach-Recruit-Test-Treat-Retain (การดำเนินงาน ที่มุ่งเน้นความต่อเนื่องของการเข้าถึง -การเข้าสู่บริการ-การตรวจเอชไอวี-การรักษา-การคงอยู่ในระบบ) - ร้อยละของกลุ่มประชากรหลักที่เข้าถึงบริการป้องกันโรคเอดส์และโรคติดต่อ ทางเพศสัมพันธ์เชิงรุก (ร้อยละ 94) - Baseline ปี 57/58/59 = 61/65/55.43 (ณ 28 เม.ย. 60) 2. โรคเรื้อน เร่งรัดค้นหาผู้ป่วยรายใหม่ - ผู้ป่วยโรคเรื้อนรายใหม่ไม่น้อยกว่าหรือเท่ากับ 98 ราย - Baseline ปี 57/58/59 = 208/187/163 3. วัณโรค ค้นให้พบ จบด้วยหาย พัฒนาระบบและเครือข่าย นโยบายมุ่งมั่น สร้างสรรค์นวัตกรรม - อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่และกลับเป็นซ้ำ (ร้อยละ 90) - Baseline ปี 57/58/59 = 81.4/80.4/81.1 4. โรคไวรัสตับอักเสบ กำจัดการแพร่ระบาด ป้องกันและควบคุมการติดเชื้อไวรัส ตับอักเสบบี และซี - ผู้ป่วยโรคไวรัสตับอักเสบเรื้อรังเข้าถึง การรักษาเพิ่มขึ้นอย่างน้อยร้อยละ 50

AIDs และ STI 1. การติดเชื้อเอชไอวีใหม่ และ STI ลดลง (ไม่ติด) 1.1 ร้อยละการติดเชื้อเอชไอวีในหญิงรับบริการฝากครรภ์อายุ 15-24 ปี ลดลง (แจกเป้าให้ สคร. ) ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 ≤ 0.27 1.2 อัตราป่วยโรคหนองใน ในกลุ่มอายุ 15-24 ปี ลดลง (แจกเป้าให้ สคร. และจังหวัด โดยค่าเป้าหมาย มาจากค่ามัธยฐานระดับประเทศ) - 75 ต่อแสนประชากร 1.3 อัตราป่วยโรคซิฟิลิส ในกลุ่มอายุ 15-24 ปี ลดลง (แจกเป้าให้ สคร.โดยค่าเป้าหมายมาจากค่ามัธยฐานระดับประเทศ) 25 ต่อแสน ประชากร ** รายละเอียดการแจกเป้าให้ สคร. และจังหวัดอยู่ในเอกสารประกอบการประชุมฯ

AIDs และ STI 2. ผู้ติดเชื้อเอชไอวีเสียชีวิตลดลง (ไม่ตาย) 2.1 ร้อยละของผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่ทราบสถานะติดเชื้อฯ ตนเอง (แจกเป้าให้ สคร. และจังหวัด) ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 95.5 96 96.5 97.0 97.5 2.2 ร้อยละของผู้รับการวินิจฉัยว่าติดเชื้อเอชไอวีได้รับยาต้านไวรัสฯ (แจกเป้าให้ สคร. และจังหวัด) 80 85 88 90 92 2.3 ร้อยละของผู้ที่รับยาต้านไวรัสกดไวรัสสำเร็จ (แจกเป้าให้ สคร.และจังหวัด) 3. ไม่มีการรังเกียจและเลือกปฏิบัติ (ไม่ตีตรา) 3.1. ร้อยละของประชาชนในสังคม ชุมชน ที่มีทัศนคติเลือกปฏิบัติต่อประเด็นที่เกี่ยวเนื่องจากเอชไอวี เอดส์ (Discriminatory attitude taward HIV) N/A 24 ** รายละเอียดการแจกเป้าให้ สคร. และจังหวัดอยู่ในเอกสารประกอบการประชุมฯ

กลยุทธ์/มาตรการสำคัญและตัวชี้วัด ปี 2561 1. ขับเคลื่อนการยุติเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ด้วยกระบวนการ RRTTR * ร้อยละ 87 ของกลุ่มประชากรหลักที่เข้าถึงบริการป้องกันโรคเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 2. เร่งรัดการลดการตีตราและเลือกปฏิบัติและจัดการสภาพแวดล้อมให้เอื้อ ต่อการดำเนินงาน *ทุกจังหวัด มีองค์กรใหม่สมัครเข้าร่วมโครงการ “ดูแล ห่วงใย ใส่ใจป้องกันเอดส์ในสถานที่ทำงาน” ในแต่ละปี 3. พัฒนาระบบข้อมูลเชิงยุทธศาสตร์ ส่งเสริมการเป็นเจ้าของร่วมและการระดมทรัพยากรในการยุติเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ *ทุกจังหวัดมีและใช้ข้อมูลยุทธศาสตร์เพื่อจัดทำแผน ยุติปัญหาเอดส์จังหวัดและการระดมทรัพยากร (ระยะที่ 1)

TB เร่งรัดการค้นหา วินิจฉัย และรายงานให้มีความครอบคลุมการรักษา (Treatment Coverage) 1.1 ร้อยละความครอบคลุมการรักษาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่และกลับเป็นซ้ำ ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 ร้อยละ 80 (90,443 ราย) ร้อยละ 82.5 (93,269 ราย) ร้อยละ 85 (96,096 ราย) ร้อยละ 87.5 (98,922 ราย) ร้อยละ 90 (101,748 ราย) 2. รักษาผู้ป่วยวัณโรคที่ตรวจพบทุกรายด้วยแนวทางการดูแลผู้ป่วย เป็นศูนย์กลาง (Treatment Success) 2.1 อัตราความสำเร็จการรักษาวัณโรคผู้ป่วยวัณโรครายใหม่และกลับเป็นซ้ำ (แจกเป้าให้ สคร. และจังหวัด) ≥ 85 86 87 88 90 ** รายละเอียดการแจกเป้าให้ สคร. และจังหวัดอยู่ในเอกสารประกอบการประชุมฯ

กลยุทธ์/มาตรการสำคัญ ปี 2561 1. เร่งรัดการค้นหาผู้ติดเชื้อวัณโรคและผู้ป่วย ในกลุ่มเสี่ยงเป้าหมาย (Q-Finding) * จำนวนประชากรกลุ่มเสี่ยงเป้าหมายที่ได้รับ การคัดกรองเชิงรุกด้วยการถ่ายภาพรังสีทรวงอก ผู้สัมผัส (103,371 ราย)/ HIV (481,241 ราย)/ DM (280,951 ราย )/ เรือนจำ (313,562 ราย)/ แรงงานข้ามชาติ (1,437,716 ราย)/ ผู้สูงอายุ>65 ปี (9,455,777 ราย)/บุคลากรทางการแพทย์ (205,136 ราย) * ร้อยละผู้ป่วยที่มีประวัติการรักษาวัณโรคมาก่อน มีผลตรวจทดสอบความไวต่อยาวัณโรค (> ร้อยละ 60) 2. ป้องกันการแพร่เชื้อ วัณโรค (Q-Preventing) * ร้อยละของเด็กอายุต่ำกว่า 5 ปีซึ่งอยู่ร่วมบ้านกับผู้ป่วยวัณโรค ได้รับยารักษาการติดเชื้อวัณโรคระยะแฝง ตามแนวทางการรักษาวัณโรคในเด็กของประเทศไทย (> ร้อยละ 60) * ร้อยละของผู้ต้องขังในเรือนจำที่ติดเชื้อ HIV ได้รับ ยารักษาวัณโรคระยะแฝง (> ร้อยละ 20) 3. ดูแลรักษาผู้ติดเชื้อ วัณโรคและผู้ป่วยตามมาตรฐานให้หายและ กินยาครบ (Q-Caring) * ร้อยละของผู้ป่วยวัณโรคมีอัตราการตายลดลง (≤ ร้อยละ 5)

การติดตามผลการดำเนินงานผ่านโปรแกรม TBCM

Leprosy 1. เร่งรัดค้นหาผู้ป่วยโรคเรื้อนในพื้นที่ที่มีข้อบ่งชี้ทางระบาดวิทยาและในผู้สัมผัสโรค 1.1 จำนวนผู้ป่วยโรคเรื้อนรายใหม่ไม่น้อยกว่าหรือเท่ากับจำนวนที่กำหนด (แจกเป้าให้ สคร.) ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 160 140 120 100 98 2. พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้ประสบปัญหาจากโรคเรื้อน 1.2 ร้อยละของจังหวัดเป้าหมายที่สามารถลดการตีตราของชุมชนที่มีต่อโรคเรื้อน (3/5 จังหวัด) - สคร.2 พิษณุโลก (จังหวัดเพชรบูรณ์) - สคร.4 สระบุรี (จังหวัดนครนายก) - สคร.6 ชลบุรี (จังหวัดจันทบุรี) - สคร.10 อุบลราชธานี (จังหวัดศรีสะเกษ) - สคร.12 สงขลา (จังหวัดสตูล) - 50 (proxy) ร้อยละของผู้ประสบปัญหาจากโรคเรื้อนที่ได้รับการฟื้นฟูสภาพตามความจำเป็น มีคุณภาพชีวิตที่ดี 55 60 65 70 ** รายละเอียดการแจกเป้าให้ สคร. และจังหวัดอยู่ในเอกสารประกอบการประชุมฯ

กลยุทธ์/มาตรการสำคัญ ปี 2561 *ร้อยละ 50 ของผู้ป่วยโรคเรื้อนรายใหม่ที่มีระยะเวลาตั้งแต่เริ่มมีอาการของโรคเรื้อน จนได้รับการวินิจฉัยและรักษาโรคเรื้อน ตามมาตรฐาน (since of onset : SOS) ไม่เกิน 12 เดือน 1. เร่งรัดค้นหาผู้ป่วยโรคเรื้อนในพื้นที่ที่มีข้อบ่งชี้ทางระบาดวิทยาและในผู้สัมผัสโรค 2. พัฒนาคุณภาพชีวิต ผู้ประสบปัญหาจากโรคเรื้อน * ร้อยละ 55 ของผู้ประสบปัญหาจาก โรคเรื้อนที่ได้รับการฟื้นฟูสภาพ ตามความจำเป็น มีคุณภาพชีวิตที่ดี

Hepatitis B & C 1. การเกิดภาวะแทรกซ้อนในผู้ติดเชื้อไวรัสตับอักเสบ บี เรื้อรัง ลดลง 1.1 อัตราการเกิดภาวะแทรกซ้อนในผู้ติดเชื้อ HBV เรื้อรัง ลดลง (baseline ปี 2559 = 13.10 ต่อแสนประชากร) ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 - 13.10 2. การติดเชื้อ HCV ลดลง 2.1 อัตราป่วย HCV ลดลง (baseline ปี 2559 = 32.98 ต่อแสนประชากร) 32.98

กลยุทธ์/มาตรการสำคัญและตัวชี้วัด ปี 2561 1. ป้องกัน ควบคุมโรคไวรัสตับอักเสบบีและซี * ทุกจังหวัดดำเนินกิจกรรมการป้องกัน ควบคุมโรค HBV และ HCV 2. ค้นหาและดูแลผู้ป่วย * จำนวนหน่วยบริการที่มีระบบตรวจคัดกรองฯ (≥ 154 แห่ง) 3. พัฒนาระบบข้อมูลโรคไวรัสตับอักเสบ * ทุกจังหวัดพัฒนาระบบข้อมูลโรค HBV และ HCV และนำมาใช้ประโยชน์ในการจัดทำแผนฯ

THANK YOU