การคิดค่าภาระงานทางการพยาบาล

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Comparative advantage and the gains from trade (cont.)
Advertisements

นพ.ขวัญประชา เชียงไชยสกุลไทย
กายภาพบำบัด ในผู้ป่วยภาวะวิกฤต รศ.สมชาย รัตนทองคำ
การใช้โปรแกรม Hospital Cost Analysis (พัฒนาโดย รศ.นพ.กำจร ตติยกวี)
Workshop การวิเคราะห์ภาระงานกลุ่มการพยาบาลจักษุ โสตฯ
การคำนวณต้นทุนผลผลิต
เข็มมุ่ง บุคลากรทุกคนทุกระดับในกลุ่มการพยาบาลใช้หลัก Standard precautions (การปฏิบัติขั้นพื้นฐานเพื่อป้องกันการติดเชื้อ)ในการปฏิบัติงาน ผู้ป่วยที่สามารถแพร่กระจายเชื้อหรือมีความไวต่อการรับเชื้อได้รับการดูแลตามหลัก.
หลักการ วิเคราะห์ คำนวณภาระงาน และคำนวณ FTE ของบุคลากรแต่ละกลุ่ม
คู่มือการบันทึกข้อมูล 43+7แฟ้ม กลุ่ม 04. ข้อมูลบริการผู้ป่วยนอก
สรุปผลการตรวจราชการและนิเทศงาน รอบที่ 2 ปี 2558 คณะที่ 3 พัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุน การจัดบริการ วันที่ 5 สิงหาคม 2558 วันที่ 5 สิงหาคม 2558 ณ.
กรอบการวิเคราะห์การพัฒนา ปี 2559 รพ.เชียงรายประชานุเคราะห์ กลุ่มงานโยบายและ แผน รพ. ชร.
คณะกรรมการบริหารการเงินการคลังเขตสุขภาพที่ 10 9 กันยายน 2558 สรุปผลการดำเนินงานปี 2558 และทิศทางปี 2559 Project Manager CFO Project Manager CFO เขตสุขภาพที่
นายรังสรรค์ ศรีล้วน สรุปผลการดำเนินงานระบบสุขภาพอำเภอ 2558 ระบบสุขภาพอำเภอจังหวัดอุบลราชธานี
บทบาทของผู้บริหารรัฐวิสาหกิจที่มีต่อ
และการรับแจ้งข้อมูลลิขสิทธิ์ กรมทรัพย์สินทางปัญญา
แนวทางการดำเนินงาน โครงการสนับสนุนค่าใช้จ่าย ในการจัดการศึกษา ตั้งแต่ระดับอนุบาล จนจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีงบประมาณ 2560.
การเพิ่มผลผลิต.
ประเด็น สิ่งที่ชื่นชม แนวทางการพัฒนา
การขับเคลื่อน แผนยุทธศาสตร์ โรงพยาบาลนครพิงค์ ปีงบประมาณ 2561สู่ MOPH 4.0.
แผนการลงทุนด้านสุขภาพระยะ 5 ปี (Long Term Invesment Plan)
SP Palliative เขต 3 พญ.กมลทิพย์ ประสพสุข.
ความเป็นมาและความสำคัญ ของการเพิ่มผลผลิต
Control Charts for Count of Non-conformities
งบแสดงสถานะการเงิน รายการ ปีงบ 61 ณ 28 ก.พ. 61
เปรียบเทียบต้นทุนต่อหน่วย โรงพยาบาลในเขตบริการสุขภาพที่ 1 ปี 2556
ระบบการดูแลระยะยาว (Long Term Care: LTC) เขต 9
ฝ่ายการเจ้าหน้าที่ ฝ่ายพัฒนาบุคลากร ฝ่ายประเมินผลงาน
“ระบบการจัดเก็บข้อมูลบริการ เพื่อเชื่อมโยงกับระบบบัญชี”
การประเมินสมรรถนะออนไลน์ e-Competency
บทที่ 2 แนวคิดทางด้านต้นทุน ชนิดต้นทุน
Service Plan สาขาโรคมะเร็ง.
กลุ่มงานเทคโนโลยีสารสนเทศทางการพยาบาล กองการพยาบาลสาธารณสุข
การสร้างการเรียนรู้การใช้ SPA in Action เพื่อจุดประกายการพัฒนาคุณภาพ
บทที่ 4 การจัดการสินค้าคงคลัง
การพัฒนางานเภสัชกรรม
คณะที่ 3 : พัฒนาระบบบริหารจัดการ การบริหารการเงินการคลัง
สรุปผลการนิเทศ คปสอ.สามโก้ รอบที่ 1 ปี 2561 วันที่ 12 มกราคม 2561
ตรวจราชการ รอบ 2 จังหวัดนครนายก วันที่ 4 – 6 กรกฎาคม 2561
1 ภารกิจด้าน อำนวยการ โรงพยาบาลศูนย์/โรงพยาบาล ทั่วไป
“ เผชิญความตายอย่างสงบ ”
แนวทางการตรวจนิเทศงานสาธารณสุขผสมผสาน การประเมินผล การปฏิบัติราชการRanking นำสู่ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๐.
NUR4238 ประเด็นและการพัฒนาวิชาชีพการพยาบาล
หมู่บ้านอาสาพัฒนาและป้องกันตนเอง
14 กรกฎาคม 2560 ห้องประชุมพลับพลึง ชั้น5 อาคารผู้ป่วยนอก รพพ.
การจัดการทางการพยาบาล Management in Nursing
บทที่ 2 แนวคิดทางด้านต้นทุน ชนิดต้นทุน
รัชนีย์ วงค์แสน งานป้องกันและควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาล
โรงพยาบาลคุณธรรม โรงพยาบาลชะอำ
โดยคุณอัมพวัน คุลภ์อนันต์
คณะ 3 การพัฒนาระบบบริหารจัดการ เพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
NCD W E C A N D O Long term care (LTC) Watbot Health Team.
เครือข่ายบริการสุขภาพอำเภอแม่ทา
Public Health Nursing/Community Health Nursing
กายภาพบำบัดใน ผู้ป่วยภาวะวิกฤต รศ.สมชาย รัตนทองคำ
การจัดการความเจ็บปวด
สรุปตัวชี้วัด ของหน่วยตรวจพิเศษ ปี 57.
คณะตรวจราชการและนิเทศงาน
ผลการดำเนินงานระบบการแพทย์ฉุกเฉินครบวงจรและระบบส่งต่อ
สร้างเครือข่ายในชุมชน
ข้อมูลทั่วไป สถานะสุขภาพ ทรัพยากรสาธารณสุข การบริหารจัดการ.
เขตสุขภาพที่ 10 สรุปผลการตรวจราชการ รอบที่ 1 ปี 61
ผลการดำเนินงาน ER คุณภาพ
การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (service Plan) แผนงานที่ 3 การพัฒนาระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินครบวงจรและระบบการส่งต่อ โรงพยาบาลมหาสารคาม.
ยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุน การบริการ.
ทบทวนกฎหมายรัฐธรรมนูญ บทบัญญัติที่สำคัญซี่งมีมิติในเชิงคดี
การวางแผนการจำหน่ายผู้ป่วยใน (IPD)แบบประคับประคอง จังหวัดสกลนคร Discharge planning in Palliative care รายการ Assessment Planning/ผู้บันทึก D: Disease.
Click to edit Master subtitle style
Service Profile :บริการหอผู้ป่วยศัลยกรรมหญิง รพร.เดชอุดม
การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ
ระดับบริหารทางการพยาบาล จุฑารัตน์ เพ็ญเขตต์วิทย์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การคิดค่าภาระงานทางการพยาบาล 23 ธันวาคม 2552 รวีวรรณ เล็กวิลัย พยาบาลวิชาชีพ 7

ประเด็นการพูดคุย เนื้อหาการบริหารอัตรากำลังประจำวัน, การคิดค่าภาระงาน, แนวทางการเก็บข้อมูล ประชุมกลุ่ม 1) กลุ่มงานผู้ป่วยนอก/หน่วยตรวจพิเศษ, กลุ่มงานผู้ป่วยใน/หนัก :เพื่อหาค่า K1 (productivity) 2) กลุ่มงานสนับสนุน: IC, ผู้ช่วยหัวหน้าพยาบาล :เพื่อหาค่า K2 (การปฏิบัติหน้าที่ที่มีภาระงานที่หนัก/รับผิดชอบสูง) 3) คณะฯบริหารบุคลากรทางการพยาบาล, คณะฯ สารสนเทศ,เวชระเบียน, ICT, สำนักยุทธฯ, ศูนย์สารสนเทศข้อมูล :เพื่อหาแนวทางการเก็บรวบรวมข้อมูล

ความสำคัญ Budgeting รพ. มี Treat-งบประมาณจำกัด = ควบคุมรายจ่าย, เพิ่มรายได้ รายจ่าย (Costs) = LC(~40%)1 + MC + CC Nursing Personal = Largest (~30%*)1,2 single operating cost *direct inpt care cost = 44%2 1 Http://www.nursing2015.files 2 Welton,J.M.,Dismuke,E.C. Testing an inpt Nursing Intensity Billing Model. Policy,Politics.

Budgeting3 กำหนดเป้าหมาย productivity (90-110%) คาดการณ์ภาระงาน = จน. unit of service (Total unit of service x Unit cost = ~รายได้โดยรวม) กำหนดงบประมาณรายจ่ายชม.การพยาบาลต่อ1unit of service ;~ 30- 44% รายได้ = Total nursing care (direct + indirect)cost/วันทำการ/total unit of service = งบประมาณ ค่าแรงทางการพยาบาลต่อหนึ่งunit of service วางแผนชม.ที่ไม่ได้งาน : 14% of productive hrs. ประมาณการณ์ต้นทุนวัสดุ +ลงทุน 3 Swansburg, R.C. (1997). Budgeting and Financial Management for Nurse Managers. Jones and Bartlett Publishers: Massachusetts.

การบริหารอัตรากำลังประจำวัน สรุปผลการศึกษาภาระงานกลุ่มการพยาบาลปีงบ 52 โครงการวิจัยเรื่องผลการใช้รูปแบบการจัดสรรอัตรากำลัง ประจำวันแบบยึดหยุ่นต่อประสิทธิผลของหน่วยบริการ

เกณฑ์การกำหนดตำแหน่งในสายงานพยาบาล 8 กำหนดขนาดหอผู้ป่วยมาตรฐานเพื่อนับปริมาณงาน = unit of service Unit of service ผู้ป่วยนอก = visit ของผู้ป่วย + ผู้รับบริการไม่จำแนกสาขา และมีหน่วยตรวจเฉพาะทาง ≥ 6 สาขาขึ้นไป สูตร: ผู้รับบริการเฉลี่ยต่อวัน = จำนวนผู้ป่วยนอกต่อปี/260 = เฉลี่ย 800 รายขึ้นไป/วัน ผู้ป่วยอุบัติเหตุและฉุกเฉิน สูตร: ผู้ป่วยอุบัติฉุกเฉินเฉลี่ยต่อวัน = ผู้ป่วยอุบัติเหตุ (ราย/ปี) + ผู้ป่วยฉุกเฉิน (ราย/ปี)/365 = เฉลี่ย 45 ราย/วัน และถ้ามีผู้ป่วยอุบัติเหตุฉุกเฉินเฉลี่ย 90 รายขึ้นไป อาจกำหนดได้อีก 1 ตำแหน่ง เกณฑ์การจำแนก Emergent ผู้ป่วยวิกฤต มีภาวะคุกคามชีวิต ต้องรับการรักษาพยาบาลทันที : Nsg Care hr 3.2 hr/case Urgent ผู้ป่วยวิกฤต แต่ไม่มีภาวะคุกคามชีวิต ต้องรับการรักษาพยาบาลภายใน 30 นาที Nsg Care hr 2.5 hr/case Non-Urgent ผู้ป่วยมีการเจ็บป่วยเฉียบพลัน แต่ไม่เร่งด่วน (Acut Illness' Non urgent) รอรับการรักษาได้ในระยะ 1-2 ชม. โดยมีการเฝ้าสังเกตอาการอย่างสม่ำเสมอ Nsg Care hr 1.0 hr/case Non Acute-Non Urgent ผู้ป่วยไม่มี่ภาวะเจ็บป่วยเฉียบพลันไม่เร่งด่วน Nsg Care hr 0.5 hr/case

เกณฑ์การกำหนดตำแหน่งในสายงานพยาบาล 8 (ต่อ) ผู้ป่วยผ่าตัด สูตร: ผู้ป่วยผ่าตัดใหญ่เฉลี่ย/วัน = ผู้ป่วยผ่าตัดใหญ่รายต่อปี/260 = เฉลี่ย 10 ราย/วัน และต่อผู้ป่วยผ่าตัดใหญ่ทุก ๆ 20 ราย วิสัญญีพยาบาล สูตร: ผู้ป่วยผ่าตัดใหญ่ Under GA ราย/ปี/260 = เฉลี่ย 10 ราย/วัน และต่อผู้ป่วยผ่าตัดใหญ่ Under GA ทุก ๆ 20 ราย ผู้ป่วยหนัก: เตียงที่ใช้รับผู้ป่วยหนักแต่ละเตียงต้องมีอุปกรณ์เครื่องช่วยหายใจครบทุกเตียง และภายใน ห้องต้องมีอุปกรณ์เครื่องช่วยชีวิตอย่างน้อย 4 ชนิด (Ventilator, Portable suction, Monitor or Portable EKG, Defibrillator, Hypo or Hyperthemia มีอัตราครองเตียง 8 เตียงไม่น้อยกว่า 80% (6 ราย/วัน) สูตร: ผู้ป่วยหนักเฉลี่ย/วัน = จน.วันนอนผู้ป่วยหนักใน 1 ปี /365

เกณฑ์การกำหนดตำแหน่งในสายงานพยาบาล 8 (ต่อ) ผู้ป่วยใน: การกำหนดขนาดหอผู้ป่วย ward สามัญจน.เตียงไม่น้อยกว่า 30 เตียง และมีผู้ป่วยเฉลี่ย 24 ราย/วัน (80% ครองเตียง) = 1 หอ ward พิเศษ จน.ห้องไม่น้อยกว่า 12 เตียง และมีผู้ป่วยเฉลี่ย 10 ราย/วัน = 1 หอ ward พิเศษรวม จัดให้มี 4-5 เตียง/ห้อง จน. 6 ห้อง (30 เตียง) และมีผู้ป่วยเฉลี่ย 24 ราย/วัน = 1 หอ *มีผู้ป่วยในเฉลี่ยในแต่ละสาขาเฉพาะทางไม่น้อยกว่า 72 ราย/วัน กำหนด RN8 1 ตน.* สูตร: จน.วันนอนผู้ป่วยในแต่ละสาขาใน 1 ปี /365

การคิดค่า K1 - กำหนดหน่วยของบริการ = unit of service เป็นหน่วยนับปริมาณงานของแต่ละ หน่วยบริการ - ตกลงเกณฑ์การจำแนกประเภทผู้ป่วย - เก็บข้อมูลภาระงานและอัตรากำลังที่ขึ้นปฏิบัติงาน - วิเคราะห์ข้อมูล productivity (Output/input) และจ่ายค่าตอบแทน วิธีการเก็บข้อมูล กรณีนับจำนวนราย visit OPD ให้นับ ณ เวลาที่สิ้นสุดบริการในแต่ละวันรวมกัน กรณีนับจำนวนวันนอน IPD ให้นับ ณ เวลา 24.00 น. เวรบ่ายของแต่ละวันรวมกัน สูตร: ค่า K = จน. คนที่ต้องการ + 1 (Head)/ จน.คนที่มีอยู่จริง IPD = (ADC *NHPPD*1.4*1.2) /7 OPD = ADC/50 *1.2

การกำหนด K2 ระดับ 1 (K=0.5) : หัวหน้าหอผู้ป่วย/หัวหน้าหน่วยงาน ICN และพยาบาลที่ทำหน้าที่ควบคุม และพัฒนาคุณภาพหรือผู้ที่ได้รับมอบหมายให้เป็นแกนหลักของคณะกรรมการสำคัญของโรงพยาบาล ระดับ 2 (K=0.75) : หัวหน้างานเฉพาะทาง/ผู้ช่วยหัวหน้างานเฉพาะสาขา ระดับ 3 (K=1) : หัวหน้าพยาบาล

สรุปผลการประชุม จำนวนผู้เข้าอบรม 46 ท่าน ทุกฝ่ายได้พูดคุยทำความเข้าใจประเด็นการบริหารอัตรากำลังทางการพยาบาลประจำวันและปัญหาการจัดเก็บข้อมูลภาระงาน

การบ้าน จัดประชุมครั้งหน้า 13 มกราคม 2553 เวลา 13.30-16.30 น. ณ ห้องประชุมพงษ์ศักดิ์ เทียมสะอาด เพื่อหาข้อสรุปค่า K1, K2 และการจัดเก็บข้อมูลการบริหารอัตรากำลังทางการพยาบาลรายเวร รายวัน