โซโรอัสเตอร์ (Zoroastrianism) 1. โซโรอัสเตอร์ เรียกตามชื่อศาสดาท่านหนึ่งที่มีบทบาทสำคัญมากที่สุด ต่อศาสนานี้ 2. โซโรอัสเตอร์ เพี้ยนมาจากคำว่า Zarathustra แปลว่า รวยอูฐ 3. บางครั้งก็เรียกศาสนานี้ว่า เปอร์เซีย หรือปาร์ซี ตามชื่อเดิมของประเทศ 4. ทวิเทวนิยม = ถ้ามองในแง่เทพเจ้าแห่งความดี และเทพเจ้าแห่งความชั่ว (อหุรมัสดากับอังคระไมนยุ) เอกเทวนิยม = ถ้ามองในแง่ที่ว่าผลสุดท้ายเทพเจ้าแห่งความดี (อหุรมัสดา) ก็กำชัยชนะในจักรวาล
ศาสดาโซโรอัสเตอร์
5. ความเกี่ยวกับศาสนาอื่น : 1) ศาสนาพราหมณ์กับโซโรอัสเตอร์ - มีบรรพบุรุษรวมกันมาในอดีต ต่างสืบสายมาจากเผ่าอารยันเหมือนกัน - คัมภีร์อเวสตะกับพระเวท เดิมมีลักษณะเป็นพหุเทวนิยม และเชื่อเทพเจ้าหลายองค์เหมือนกัน - ความแตกต่างจากภูมิศาสตร์ สังคม การเมืองเมื่อนานวันมากขึ้นจึงเป็นเหตุให้ความคิดความเชื่อทางศาสนาต่างกันไปด้วย
2) ศาสนายิวกับโซโรอัสเตอร์ - ชาวกรีกโบราณเชื่อว่าเป็นต้นทัศนคติในเรื่องทวินิยมของโลกและจุดหมายปลายทางของมนุษย์ - ยังเชื่ออีกว่า ท่านโซโรอัสเตอร์เป็นผู้สอนพิธาโกรัส (Pythagorus) ในบาบิโลน - นักค้นคว้าทางประวัติศาสตร์พบว่า มีอิทธิพลต่อพัฒนาการของศาสนายิว และการเกิดของศาสนาคริสต์ ด้วย ท่านโซโรอัสเตอร์ เป็น = Mesiah หรือ Christ
มีความคล้ายคลึงกันหลายอย่างระหว่างคัมภีร์ไอไซอาห์ (Isaiah) ของยิวกับคัมภีร์คาถา (Catha) ของโซโรอัสเตอร์ เช่น = พระเจ้าเป็นผู้สร้างมนุษย์คู่แรกของโลก = แสงสว่างกับความมืดหรือเทพเจ้าฝ่ายดีกับฝ่ายชั่ว - เหตุที่ศาสนายิวและคริสต์ได้รับอิทธิพลจากโซโรอัสเตอร์ เพราะมีการติดต่อเริ่มตั้งแต่ในศตวรรษที่ 2 ก่อน ค.ศ. และมากที่สุดในช่วงกลางศตวรรษแรกก่อนคริสตศก - ส่วนศาสนาอิสลามกับศาสนานี้เป็นไปในลักษณะผลกระทบต่อกัน เพราะเดิมเป็นศัตรูกันอย่างรุนแรง จนในคัมภีร์ของศาสนาอิสลามเพิ่มนรกอีกขุมหนึ่งสำหรับพวกโซโรอัสเตอร์โดยเฉพาะเรียกว่า ปาร์ซี
6. คัมภีร์ อเวสตะ - แปลว่า ความรู้ตรงกับคำว่า เวทะ ในคัมภีร์พระเวทของ - คัมภีร์ในศาสนานี้เรียกว่า อเวสตะ (Avesta) หรือ เซนด์ อเวสตะ - แปลว่า ความรู้ตรงกับคำว่า เวทะ ในคัมภีร์พระเวทของ ศาสนาพราหมณ์ - คัมภีร์อเวสตะแบ่งออกเป็น 5 หมวดใหญ่ ๆ คือ 1) ยัสนา (Yasna) เป็นบทสวด ลักษณะคล้ายกับทำนองเพลงขับในคัมภีร์พระเวท 2) วิสเปร์ท (Visperad) มีลักษณะคล้ายเวทางคศาสตร์ของศาสนาพราหมณ์
4) ยัธส์(Yaths)บทสวดบูชาทูตสวรรค์ 21 องค์ 3) เวทิทัท(Vedidad) เป็นคู่มือสวดสำหรับนักพรต 4) ยัธส์(Yaths)บทสวดบูชาทูตสวรรค์ 21 องค์ 5) โขร์ทะ-อเวสตะ(Khorda-Avesta) เป็นหนังสือหรือ บทสวดคู่มืออย่างย่อสำหรับศาสนิกชนทั่วไป - คัมภีร์อเวสตะได้รวบรวมขึ้นหลายสมัยอย่างต่อเนื่องมาสำเร็จ สมบูรณ์ในสมัยกษัตริย์ราชวงศ์สาสาเนีย (Sasania) - ปัจจุบันเหลืออยู่ 1 ใน 4 ส่วนเท่านั้น เพราะถูกศาสนาอิสลาม ทำลาย ระหว่างแย่งความเป็นใหญ่ในประเทศอิหร่าน
7. จริยศาสตร์ พอสรุปได้ดังนี้ 1) ความสมบูรณ์แห่งความดีก็คือ 1.1 ความคิดที่ดี 1.2 การพูดที่ดี 1.3 การกระทำที่ดี 2) ให้ดีต่อคนที่ดี ถ้าเป็นคนชั่วให้ร้ายตอบด้วยใจที่ยุติธรรม “จงต่อต้านศัตรูแม้ด้วยอาวุธ แต่จงต่อสู้อย่างยุติธรรม ถ้าเป็นเพื่อน จงดำเนินการไปในฐานะเป็นเพื่อน”
3) สร้างความดีกับความชั่วให้เห็นภาพตัวแทนหรือบุคคลาธิษฐาน คือ เทพเจ้าอหุรมัส-ดากับเทพเจ้าอังคระไมนยุ 4) ชีวิตหลังตายแล้วจะถูกกำหนดด้วยความดีและความชั่วในการกระทำไว้ในขณะมีชีวิต แต่เพราะความอ่อนแอของมนุษย์ ความผิดทั้งมวลอาจจะช่วยลบล้างได้บ้าง คือ - การสารภาพบาปและไม่กลับมาทำอีก
สัญลักษณ์ หรือศาสนาเปอร์เซียแล้ว ยังเรียกว่า ศาสนาของ - ศาสนานี้นอกจากที่จะเรียกว่า โซโรอัสเตอร์ หรือศาสนาเปอร์เซียแล้ว ยังเรียกว่า ศาสนาของ ผู้บูชาไฟ (Religion of Fire worshipper) - ไฟ เป็นสัญลักษณ์ทางความเชื่อของศาสนานี้ เนื่องคติของศาสนิกชนทุกครัวเรือนจะมีสถานที่ บูชาไฟ เพราะเชื่อว่ากันว่า แสงไฟเป็นเครื่อง หมายแสดงอำนาจของมหาเทพ(อหุรมัสดา)ว่า ยังคงอยู่ชั่วนิรันดร
อหุรมัสดา นิกาย 1) เป้าหมายสูงสุด คือสวรรค์ 2) มรรควิธีไปสู่เป้าหมายสูงสุด คือ ดำเนินชีวิตอยู่ ในคุณธรรม/จริยธรรม 3) ชีวิตนี้มีครั้งเดียว นิกาย 1) Old Sect - อนุรักษ์นิยม 2) New Sect - พวกหัวก้าวหน้า อหุรมัสดา
ศาสนากิจ การเข้าพิธีนวโชติ - ชายและหญิง เมื่ออายุ 15-17 ปี จะต้องเข้าพิธีด้วยการสวมด้ายมงคล - ผู้ชายสวมด้ายสีขาวเรียกว่า กุสติ ผู้หญิงสวมเสื้อขาวที่ทำด้วยผ้าลินินเรียกว่า สุทรา พิธีนวโชติ เหมือนกับพิธียัชโญปวีต ในศาสนาพราหมณ์
สรุปลักษณะพื้อฐานศาสนาโซโรอัสเตอร์ 1. เป็นได้ทั้งทวิเทวนิยม และเอกเทวนิยม 2. พระอหุระ มาซดะ เป็นพระเจ้าสูงสุดเพียงองค์เดียว 3. โลกมนุษย์ เป็นสมรภูมิระหว่างความดีกับความชั่ว 4. เชื่อว่าตายแล้วเกิดในโลกวิญญาณ 5. เน้นเรื่องการปฏิบัติที่จะทำให้กาย วาจา ใจ บริสุทธิ์ 6. ให้ความสำคัญต่อเพศฆราวาสมากกว่านักบวช 7. เป็นศาสนาที่ให้ศาสนิกตามไฟมิให้ดับ
ศาสนายิว ก. ความหมาย ๑. ยูดาร์ ภาษาอังกฤษว่า Judalism กรีกว่า Judai ก. ความหมาย ๑. ยูดาร์ ภาษาอังกฤษว่า Judalism กรีกว่า Judai ๒. หมายถึง ชาวยิว หรืออิสราเอล ซึ่งสืบเชื้อสายมาจากแคว้นยูดาห์ โบราณ ๓. บรรพบุรุษของชาวยิวเคยได้ฮีบรู ๔. ชาวโรมันเรียกว่า ยูเดอา-Judea อังกฤษเรียกเพี้ยนเสียงเป็นยูเดียและยิวในที่สุด
๕. ดังนั้นมักเรียกศาสนานี้ว่า ยูดาห์, ยิว หรือ ฮิบรู ส่วนคำว่าศาสนา อิสราเอลใช้เรียกน้อยจะใช้เรียกประเทศมากกว่า (ในปัจจุบันนี้) ๖. ศาสนาคริสต์และอิสลามมีเนื้อหาในคัมภีร์ใกล้เคียงกันมาก เพราะทั้งสองศาสนานี้ได้รับอิทธิพลจากศาสนายิวไป ๗. ศาสนายิว เป็นสัญลักษณ์ของคนยิวเพราะเป็นทุกอย่างของยิว : ประเพณี, คำสอน, ประวัติศาสตร์ กฎหมาย เป็นต้น ๘. ส่วนศาสนาอิสลามปรับปรุงให้เหมาะสมกับชาวอาหรับ ส่วน ศาสนาคริสต์เพียงขยายความเท่านั้นเอง
๙. ศาสนายูดาห์เป็นศาสนาแห่งประวัติศาสตร์และกฏหมาย - ประวัติศาสตร์ = เพราะพัฒนามาจากศาสนาดั้งเดิมรอพัฒนาให้สมบูรณ์ต่อไป เพราะหวังผู้แทนของพระเจ้าหรือ Messiah = christ - กฎหมาย = เป็นข้อปฏิบัติสำหรับชาวอิสราเอลโดยเฉพาะ ๑๐. เกิดขึ้นเพราะต้องการแผ่นดิน สัญญา หรือรวมเป็นชนชาติของตนด้วยบัญญัติเดียวกัน เช่น บัญญัติ ๑๐ ประการ
คัมภีร์ ๑. ตานัค = พันธะสัญญาเดิม ๒. แบ่งเป็น ๓ ภาค ๑. ตานัค = พันธะสัญญาเดิม ๒. แบ่งเป็น ๓ ภาค ๑) โตราห์ = บัญญัติ ๒) โปรเฟต = ศาสดาพยากรณ์ ๓) ไร้ติ้งส์ = บทกวี ๓. คัมภีร์ทัลมุค เป็นคัมภีร์ขยายความมี ๒ ตอน - Mishnah = เกี่ยวกับกฏหมายต่าง ๆ - Gemara = บทเรียน ๔. เดิมเขียนด้วยภาษาฮิบบรูต่อมาเขียนภาษาอาราบิค ๕. สรุปคำสอนในคัมภีร์ คือ พระยาห์เว ทรงดูแลและทรง กระทำการช่วยเหลือชาติยิวเป็นพิเศษ TORAH
พระเจ้า ๒. Elohim ๓. El ผู้แข็งแรง ๔. Iloit ผู้สร้างทุกสิ่ง ๑. Jahweh = ฉันเป็นอย่างที่ฉันเป็น ๒. Elohim ๓. El ผู้แข็งแรง ๔. Iloit ผู้สร้างทุกสิ่ง Ila - เมโสโปเตเมีย Ba - al - ชาวฮิต, อูการิต El - เฟนิเซีย Allah - อาหรับ มีความหมายเหมือนกันทั้งหมด
หลักจริยศาสตร์ ๑. ความเข้มข้นอยู่ที่ศรัทธาในพระเจ้าเพื่อความอยู่รอด ๑. ความเข้มข้นอยู่ที่ศรัทธาในพระเจ้าเพื่อความอยู่รอด ของชนชาติ – แผ่นดิน ๒. กฏเกณฑ์ต่าง ๆ สำหรับปฏิบัติในชีวิตอยู่ในคัมภีร์ - เลวีนิติ - เฉลยธรรมบัญญัติ ๓. กฏปฏิบัติที่สำคัญที่สุดคือบัญญัติ ๑๐ ประการ ๔. ย่อเป็นได้ ๓ - จงมีความยุติธรรม - จงรักความกรุณา - จงดำเนินไปกับพระเจ้าอย่างอ่อนน้อม ๕. ย่อเป็นข้อเดียวและเป็นพื้นฐานของจริยศาสตร์ทั้งปวง คือ “จงมีความเชื่อในพระเจ้า”
สัญลักษณ์ นิกาย ๒. ซาคูซูส - เปลี่ยนแปลงตามยุค ๓. เอสเซเนส - ชอบสันโดษ ๑. ฟาริซี - ตายแล้วฟื้น ๒. ซาคูซูส - เปลี่ยนแปลงตามยุค ๓. เอสเซเนส - ชอบสันโดษ สัญลักษณ์ ราวเทียน หรือ กิ่งเทียน