งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ทุนทางวัฒนธรรมและ กระบวนการเข้าสู่วัฒนธรรมใหม่และการ ปรับตัว

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ทุนทางวัฒนธรรมและ กระบวนการเข้าสู่วัฒนธรรมใหม่และการ ปรับตัว"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ทุนทางวัฒนธรรมและ กระบวนการเข้าสู่วัฒนธรรมใหม่และการ ปรับตัว

2 วัฒนธรรมในฐานะทุนของการท่องเที่ยว

3 ทุนทางประวัติศาสตร์ สังคม วัฒนธรรม และประเพณี
Nelson H.H.Graburn ทุนทางธรรมชาติ ทุนทางประวัติศาสตร์ สังคม วัฒนธรรม และประเพณี

4 การท่องเที่ยวเชิงธรรมชาติ
ทุนธรรมชาติ ทุนสิ่งแวดล้อม เชิงนิเวศ เชิงสิ่งแวดล้อม

5 การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม
ทุนประวัติศาสตร์ แหล่ง มรดก ทุนสังคม ทุนวัฒนธรรมและ ประเพณี การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม เชิงชาติพันธุ์ เชิงประวัติศาสตร์ เชิงสุขภาพ เชิงเทศกาล เชิงเกษตร เชิงอาหาร เชิงด้านมืด เชิงศาสนา

6 ช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 ประวัติศาสตร์ สังคม วัฒนธรรม และประเพณี ได้กลายเป็นทุนสำคัญ เนื่องจากการกำหนดสภาพ ภูมิรัฐศาสตร์ของโลกยุคใหม่ (Modern Political Geographies)ของลัทธิล่าอาณานิคม คริสต์ศตวรรษที่ 20 เกิดกระแสโลกาภิวัตน์ และกระแสภูมิภาค นิยม (Regionalism) ของแต่ละประเทศ ที่พยายามสร้างอัต ลักษณ์ทางวัฒนธรรมของตน เพื่อสถาปนาความเป็นชาตินิยม ให้กับประเทศของตน และเป็นการตอบโต้อิทธิพลทางวัฒนธรรม ของประเทศเจ้าอาณานิคม นำไปสู่ “นโยบายการท่องเที่ยว ผ่านอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรม เสมือนเป็นตราสินค้า (Brand) เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยว”

7 “สยามเมืองยิ้ม” ทุนวัฒนธรรม : การยิ้มแย้ม => อัตลักษณ์ของคนไทย

8 พม่า

9 ลาว

10 เวียดนาม สิงคโปร์

11 กัมพูชา

12 บูรไน อินโดนีเซีย มาเลเซีย

13 ฟิลิปปินส์

14 การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมกับการเป็นสินค้าวัฒนธรรม
การท่องเที่ยวแบบมวลชน มีการสร้างสีสันของท้องถิ่น (Local Color) เช่น การสร้างใหม่ ประดิษฐ์ แต่งเติม เพื่อให้ทุนทางประวัติศาสตร์ สังคม วัฒนธรรม และ ประเพณี มีความงดงาม (Picturesque) สามารถเติมเต็มความทรงจำของนักท่องเที่ยวที่หายไป โดยไม่ต้องไปชมในแหล่งท่องเที่ยวแท้จริง

15 กระบวนการเข้าสู่วัฒนธรรมใหม่และการปรับตัว
คนเราทุกคนจะต้องผ่านกระบวนการขัดเกลาทางสังคม (Socialization) : เป็นการเรียนรู้สิ่งต่างๆรอบตัว เรียนรู้ที่จะอยู่ใน สังคมหรือวัฒนธรรมที่ตนเกิด นำไปสู่การเข้าสู่วัฒนธรรมของตน (Enculturation) : วัฒนธรรมที่คุ้นเคย จึงเปรียบเสมือนบ้าน ส่วนวัฒนธรรมที่ต่างออกไป จะทำให้ไม่เข้าใจ

16 และเมื่อเราต้องเข้าไปสู่วัฒนธรรมใหม่ที่ต่างไปจากเดิม และต้องมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมใหม่ เป็นระยะเวลายาวนาน ทำให้กระบวนการขัดเกลาทางสังคมเกิดขึ้นอีกครั้ง เพื่อเรียนรู้ ปรับตัวให้เข้ากับวัฒนธรรมใหม่ เรียกว่า Acculturation วัฒนธรรมเก่า(old Culture) วัฒนธรรมใหม่(New Culture) Deculturation Socialization (Enculturation) Resocialization (Acculturation) ออกจากวัฒนธรรมเดิม

17 กระบวนการออกจากวัฒนธรรมเดิม เพื่อก้าวสู่วัฒนธรรมใหม่
Enculturation = การซึมซับ เรียนรู้วัฒนธรรม ตนเอง Deculturation = การละทิ้งสิ่งที่เคยเรียนรู้มาจาก วัฒนธรรมเก่าของตน Acculturation = การเรียนรู้ ปรับตัวเพื่อเข้าสู่ วัฒนธรรมใหม่ เป็นการเรียนรู้วิธีคิด รู้สึก และวิธีแสดง พฤติกรรมในแบบแผนใหม่ เพื่อให้เข้ากับวัฒนธรรมเจ้า บ้าน

18 ดังนั้น แก่นหลักของการปรับตัวทางวัฒนธรรมคือ การเปลี่ยนแปลง
ดังนั้น แก่นหลักของการปรับตัวทางวัฒนธรรมคือ การเปลี่ยนแปลง ทั้งพฤติกรรมส่วนบุคคล+พฤติกรรมทางสังคม การเข้าสู่วัฒนธรรมใหม่ จึงต้องอาศัยการปรับตัว และในการปรับตัวของผู้ที่เข้าไปอยู่ในสังคมที่มีวัฒนธรรมต่างไปจากวัฒนธรรมเดิมของตนนั้น มักเกิดความวิตกกังวล ความเครียด ความเหงา ความไม่แน่ใจในการสื่อสาร และความตระหนกทางวัฒนธรรม

19 Culture Shock Culture Shock = ความตระหนกทางวัฒนธรรม มักเกิดขึ้นอย่างฉับพลัน หรืออาจเข้าไปสัมผัสสักพัก เป็น ความรู้สึกกังวลใจ เป็นผลมาจากสิ่งที่เรา คาดคิด ใน วัฒนธรรมหนึ่งๆ ไม่ตรงกับสิ่งที่พบเห็นจริงๆ

20

21

22

23 การมอบภรรยาของตนให้แขกที่มาเยือน-เอสกิโม

24 บำบัดโรคด้วยรางรถไฟ วัฒนธรรมแปลก แห่งอินโดนีเซีย

25 ที่นี่...อินเดีย

26 การสร้างความสัมพันธ์และการสื่อความหมายกับคนต่างวัฒนธรรม
ความสัมพันธ์แบ่งได้ 2 ระดับ ผิวเผิน สนิทสนม

27 การพัฒนาความสัมพันธ์กับคนต่างชาติ ต่างวัฒนธรรมในระยะแรก หรือ ผิวเผิน ต้องผ่าน อย่างน้อย 2 กระบวนการ
1.การพยายามสร้างจุดร่วมหรือมองหาความคล้ายคลึงกัน (Perceived Similarity) เพื่อพัฒนาการสร้างความสัมพันธ์ ต้องอาศัยพฤติกรรมการสื่อสาร 4 ประการ - การรับรู้และให้ความสนใจต่อกันและกัน - การที่ต่างฝ่ายต่างตอบสนองกันและกัน - การแสดงลักษณะที่ลงรอยกันหรือสอดคล้องกัน - การมีจุดสนใจหรือจุดเน้นร่วมกัน 2.การลดความไม่แน่ใจต่างๆ (Uncertainty Reduction) ผ่านการสอบถาม การเปิดเผยตนเอง การแอบสังเกต การทดสอบ

28 อุปสรรคและประสิทธิภาพของการสื่อสารข้ามวัฒนธรรม
ปัญหาของการสื่อสารระหว่างบุคคลที่มาจากคนละวัฒนธรรม ก็คือ วัฒนธรรมที่แตกต่างกัน ที่มีผลต่อ - ความแตกต่างในการรับรู้ - การตีความสารที่ได้รับ - การขาดประสบการณ์ร่วมกัน (Shared experience) - มีกรอบอ้างอิงที่ต่างกัน (Frame of reference) เหล่านี้อาจเป็นอุปสรรคและก่อให้เกิดปัญหาในการสื่อสารกับบุคคล ต่างวัฒนธรรม

29 อุปสรรคที่สำคัญด้านต่างๆ
1.อุปสรรคด้านความรู้และความคิด (Cognitive) การไม่เข้าใจหรือไม่รู้ภาษาที่ใช้กัน เช่น คนต่างชาติพูด ภาษาไทยไม่ได้เมื่อมาอยู่เมืองไทย , คนไข้ไม่เข้าใจศัพท์ ทางการแพทย์ที่หมอใช้ การขาดความรู้วัฒนธรรมนั้นๆ เช่น “การไหว้” ต่างชาติรู้ว่าคือการทักทาย เคารพ แต่ไม่รู้ถึงความ ซับซ้อน จึงมัก ไหว้ คนไทยทุกคนในทุกโอกาส เช่น ไหว้ คนขายของ ไหว้เด็ก

30

31

32 2.อุปสรรคด้านทัศนคติและความรู้สึก
การรับรู้ที่ขาดประสิทธิภาพ เช่น ไม่ยอมเปลี่ยนแปลงวิธี คิด เช่น คิดว่าจีนแผ่นดินใหญ่ล้าสมัย พม่าเป็นศัตรูของ ไทย , การมองแบบเหมารวม เช่น นิโกรไม่มีการศึกษา สาวเหนือใจง่าย คนอิตาลีมือไว , การรับรู้แบบขาวหรือ ดำ มองว่าสังคมไม่ดีทั้งหมด ทัศนคติที่เป็นอุปสรรค เช่น อคติ การต่อต้านคนนอก กลุ่ม การเอาวัฒนธรรมเราเป็นศูนย์กลางแล้วมองว่าเรา เหนือกว่าคนอื่น การขาดอารมณ์ความรู้สึกที่เกื้อหนุน ดังนั้น เพื่อให้การ สื่อสารราบรื่น ควรแสดงความรัก ความใส่ใจ การเอาใจ เขามาใส่ใจเรา

33

34 3.อุปสรรคด้านพฤติกรรม ลักษณะพฤติกรรมบางอย่าง เป็นอุปสรรคต่อการสร้างความเข้าใจ ร่วมกัน - การไม่ใส่ใจที่จะเรียนรู้วัฒนธรรมและสิ่งต่างๆรอบตัว - การหลบเลี่ยงที่จะพบปะกับคนแปลกหน้าหรือคนที่มีความแตกต่าง จากตนเอง - การไม่พยายามปรับตัวให้สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้ในวัฒนธรรมใหม่ - การยึดติดกับความคิดความเชื่อ และกรอบที่เคยประพฤติปฏิบัติ ขาด การยืดหยุ่น และปรับเปลี่ยนตนเองตามความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น - การไม่เคารพในวัฒนธรรมอื่น - การประเมินค่าความแตกต่างทางวัฒนธรรมไปในทางลบ - การขาดทักษะในการใช้ภาษาและการสื่อสาร


ดาวน์โหลด ppt ทุนทางวัฒนธรรมและ กระบวนการเข้าสู่วัฒนธรรมใหม่และการ ปรับตัว

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google