บริษัท โกลบัล คอนเซิร์น จำกัด 1 ธันวาคม 2553

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
จิบน้ำชา สายวิชาการ 13 กรกฎาคม 2553.
Advertisements

Performance Management and appraisal systems
Yamaha Electrics Co.,Ltd.
การสัมมนาเชิงปฏิบัติการ การพัฒนาสมรรถนะด้านเทคนิค (Competency Development for Best Practices) กรมควบคุมโรค ดร.เกริกเกียรติ ศรีเสริมโภค บริษัท โกลบัล.
ผู้บริหารทรัพยากรบุคคล / ผู้ที่ทำงานในหน่วยงาน บริหารทรัพยากรบุคคล ต้องมีความสามารถเกี่ยวกับ ความรู้ ความเข้าใจ และทักษะ ในการให้คำแนะนำ คำปรึกษา และแก้ไข.
การจัดการทรัพยากรมนุษย์ ด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
Company LOGO Effective Human Resource Management in Practice.
ประเด็น 1. ที่มาและความสำคัญของสมรรถนะ 2. ประโยชน์และการประยุกต์ใช้
กองวิทยาการ กรมการขนส่ง ทหารเรือ. ภารกิจ มีหน้าที่ อำนวยการ ประสานงาน และดำเนินการ เกี่ยวกับการศึกษา ค้นคว้าวิจัย และพัฒนาเผยแพร่ให้คำแนะนำ ด้านวิทยาการขนส่ง.
PMQA Organization เอกสารประกอบการชี้แจงตัวชี้วัดการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ สำหรับส่วนราชการระดับกรม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ วันที่ 28 ตุลาคม.
การบริหารผลการปฏิบัติงาน (Performance Management).
ระบบการบริหารผลการปฏิบัติราชการ ขั้นที่ 1 ออกแบบ โครงสร้างการ ประเมิน ผลสัมฤทธิ์ ขั้นที่ 2 ประเมินผลการ ปฏิบัติราชการ รายบุคคล (Performance Management.
1. การแนะแนวและระบบช่วยเหลือ
พันธกิจที่ 4 สร้างกลไกการพัฒนางานสุขภาพจิต นายแพทย์บุญชัย นวมงคลวัฒนา ประธานพันธกิจที่ 4.
การบูรณาการยุทธศาสตร์ ด้านพัฒนาระบบการคุ้มครองผู้บริโภค ด้านบริการ อาหาร และผลิตภัณฑ์สุขภาพ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ วันที่ 25 กันยายน 2558 ณ โรงแรมอีสเทิร์น.
องค์ประกอบที่ 1 หลักสูตร องค์ประกอบที่ 1 หลักสูตร “หลักสูตรผลิตครู 5 ปี ให้เป็นวิชาชีพชั้นสูง เป็นหลักสูตรที่ได้ มาตรฐานวิชาการ และมาตรฐานวิชาชีพครู
การจัดทำแผนพัฒนารายบุคคล (Individual Development Plan - IDP
การจัดทำแผนกลยุทธ์การบริหารทรัพยากรบุคคล
บทบาทของผู้บริหารรัฐวิสาหกิจที่มีต่อ
วิชา การพัฒนางานด้วยระบบคุณภาพและเพิ่ม ผลผลิต (Work Development with Quality Management.
กำหนดทิศทางของสถานศึกษา
การประเมินศักยภาพองค์กรลุ่มน้ำ ( Self-Assessment and Reporting : SAR)
บทที่ 2 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ และระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศในหน่วยธุรกิจ
การประเมินผลการปฏิบัติงานระดับบุคคล
การจัดการทรัพยากรมนุษย์
แนวทางการตรวจประเมินองค์กรด้วยตนเอง (Self-Assessment)
ระบบสารสนเทศในงานบริหารงานบุคคล และการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ดร.เกริกเกียรติ ศรีเสริมโภค 30 มกราคม
ดร.เกริกเกียรติ ศรีเสริมโภค กุมภาพันธ์ 2554
ระบบจำแนกตำแหน่งและค่าตอบแทนใหม่
การพัฒนาการบริหารจัดการภาครัฐPMQA สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดลำพูน
หลักการและแนวคิดเกี่ยวกับ การจัดการกระบวนการ
การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี (Good Governance)
วัฒนธรรมองค์กร กรมอนามัย
การอบรมเชิงปฏิบัติการ
ดร.ณัฐวัฒน์ นิปกากร, DMS. Excellence Training Institution
Individual Scorecard ระดับความสำเร็จของการถ่ายทอดตัวชี้วัดและเป้าหมายของระดับองค์กรสู่ระดับบุคคล
ประสบการณ์การทำงาน ชื่อ – ชื่อสกุล นายมานะ ครุธาโรจน์
ขั้นตอนการร้องเรียน.
ระบบฐานข้อมูลอนามัยสิ่งแวดล้อมประเทศไทย
การบริหารผลการปฏิบัติงาน
และ สสอ. ร้อยละ 20 (3 แห่ง) (จังหวัดกำแพงเพชร เป้าหมาย ร้อยละ100)
มิถุนายน 2548 การประชุมเชิงปฏิบัติการครั้งที่ 2
การจัดทำ KEY PERFORMANCE INDICATORS (KPIs) COMPETENCY
Database ฐานข้อมูล.
แนวทางการพัฒนาระบบข้อมูลกรมอนามัย ปีงบประมาณ 2561
นายแพทย์สุพรรณ ศรีธรรมมา ที่ปรึกษากระทรวงด้านพัฒนาระบบบริการสาธารณสุข
การเตรียมความพร้อม สหกิจศึกษา
องค์ความรู้ การจัดทำดัชนีชี้วัดและการกำหนดค่าเป้าหมายผลสัมฤทธิ์ของงาน (Key Performance Indication : KPI) สำนักวิเคราะห์ วิจัยและพัฒนา.
Techniques Administration
หมู่บ้านอาสาพัฒนาและป้องกันตนเอง
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๔ อิศรญาณภาษิต By Pratchanee P. 2/2015.
การบริหารการปฏิบัติงานของทรู (Cycle of Performance Management System)
การบริหารโครงการ ด้วยระบบปฏิทินกิจกรรมแบบเบ็ดเสร็จ Project management with integrated calendar system โดย ... ธนาภรณ์ ฉิมแพ / ประจักษ์ สุขอร่าม / จารุวรรณ.
คณะ 3 การพัฒนาระบบบริหารจัดการ
โดยสำนักอนามัย สิ่งแวดล้อมกรมอนามัย
กลยุทธ์ด้านทรัพยากรมนุษย์และการฝึกอบรม
แนวทางการประเมิน กองทุนหลักประกันสุขภาพ
โดย นพ.วชิระ เพ็งจันทร์
ร่างแผนปฏิรูปองค์การ สำนักงานปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
วันที่ 29 สิงหาคม 2562 นายบรรเจิด เดชาศิลปชัยกุล เภสัชกรเชี่ยวชาญ
วิสัยทัศน์ (Vision) โรงพยาบาลชลบุรี มุ่งสู่ความเป็นเลิศทางการแพทย์ และสถาบันวิชาการชั้นนำระดับชาติ
รายงานความก้าวหน้า คณะทำงานธรรมาภิบาล (CGO) เขตสุขภาพที่ ธันวาคม 2561
การกำหนดโครงสร้าง ตาม ว 108 (ว 1)
สรุปผลการดำเนินงานประจำปี 2558 กองทุนหลักประกันสุขภาพ
การประชุมสรุปงานสภาอาจารย์ วิทยาเขตปัตตานี ประจำปีงบประมาณ 2561
พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540
Introduction to Structured System Analysis and Design
ระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บริษัท โกลบัล คอนเซิร์น จำกัด 1 ธันวาคม 2553 โครงการพัฒนาระบบบริหารผลการปฏิบัติงาน การบริหารผลการปฏิบัติงานแบบบูรณาการ (Integrated Performance Management System) กรมชลประทาน บริษัท โกลบัล คอนเซิร์น จำกัด 1 ธันวาคม 2553

ประเด็น โครงการและขอบเขตงาน ความท้าทายของการบริหารผลการปฏิบัติงานภาครัฐ การบริหารผลการปฏิบัติงานแบบบูรณาการ เทคโนโลยีการบริหารผลการปฏิบัติงาน (EPP+) การสำรวจความรู้ ทักษะ สมรรถนะเฉพาะตามลักษณะงานที่ปฏิบัติ ผ่านระบบ E-Survey

ประเด็น โครงการและขอบเขตงาน ความท้าทายของการบริหารผลการปฏิบัติงานภาครัฐ การบริหารผลการปฏิบัติงานแบบบูรณาการ เทคโนโลยีการบริหารผลการปฏิบัติงาน (EPP+) การสำรวจความรู้ ทักษะ สมรรถนะเฉพาะตามลักษณะงานที่ปฏิบัติ ผ่านระบบ E-Survey

โครงการและขอบเขตงาน การดำเนินการตามการพัฒนาระบบบริหารทรัพยากรบุคคลให้สอดคล้องกับเกณฑ์การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) ของสำนักงาน กพร. หมวด 2 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ ซึ่งกำหนดให้ส่วนราชการจะต้องมีการถ่ายทอด (Cascading) ตัวชี้วัดและเป้าหมายระดับองค์กรลงสู่ระดับหน่วยงาน และระดับบุคคล สำนักงาน ก.พ. ได้มีการกำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผลการปฏิบัติราชการของข้าราชการพลเรือนสามัญ ที่มาของโครงการ

วัตถุประสงค์โครงการ วัตถุประสงค์ เพื่อกำหนดรายละเอียดความรู้ ความสามารถ และระดับความรู้ความสามารถที่จำเป็นสำหรับการปฏิบัติงานในตำแหน่งของประเภททั่วไป วิชาการ อำนวยการทุกสายงาน (58 สายงาน) และระดับตำแหน่งในกรมชลประทาน กำหนดรายละเอียดทักษะ และระดับของทักษะที่จำเป็นสำหรับการปฏิบัติงานในตำแหน่งประเภททั่วไป วิชาการ และอำนวยการทุกสายงาน (58 สายงาน) และระดับตำแหน่งในกรมชลประทาน กำหนดรายละเอียดสมรรถนะและระดับสมรรถนะเฉพาะตามลักษณะงานที่ปฏิบัติอย่างน้อย 3 สมรรถนะ ให้เหมาะสมกับหน้าที่และความรับผิดชอบของตำแหน่งประเภททั่วไป วิชาการ อำนวยการ ทุกสายงาน (58 สายงาน) และระดับตำแหน่งในกรมชลประทาน วัตถุประสงค์

วัตถุประสงค์โครงการ (ต่อ) เพื่อให้ความรู้และคำปรึกษา แนะนำแก่ผู้แทนสำนัก กองและกลุ่มต่างๆ เกี่ยวกับการกำหนดดัชนีชี้วัดผลการปฏิบัติงานรายบุคคล (Individual Key Performance Indicators) ให้สอดคล้องกับภารกิจและผลสัมฤทธิ์ของงาน เพื่อพัฒนาระบบ Web-based Employee Performance Portfolio (EPP+) และติดตั้งระบบ (Installation) สำหรับการบริหารผลการปฏิบัติงานโดยเชื่อมโยงกับฐานข้อมูลด้านทรัพยากรบุคคลขององค์กร และระบบการเลื่อนเงินเดือนของข้าราชการ วัตถุประสงค์

ขอบเขตการดำเนินงาน ขอบเขตงาน อบรมเรื่อง การบริหารผลการปฏิบัติงานแบบบูรณาการ (Integrated Performance Management System) ให้บุคลากร ทบทวนและกำหนดมาตรฐานความรู้ความสามารถ ทักษะ และสมรรถนะที่จำเป็นสำหรับตำแหน่งข้าราชการกรมชลประทานประเภททั่วไป วิชาการ และอำนวยการทุกสายงานและระดับตำแหน่ง กับคณะทำงานของกรมชลประทาน เพื่อให้สอดคล้องกับภารกิจ เป้าหมาย และสภาพแวดล้อมขององค์กร ให้ความรู้ผู้แทนหน่วยงานย่อยของกรมชลประทานในการทบทวนการกำหนดดัชนีชี้วัดผลการปฏิบัติงานรายบุคคล (Individual Key Performance Indicators) ให้สอดคล้องกับระบบการประเมินผลการปฏิบัติราชการของกรมชลประทาน จัดทำหลักสูตรฝึกอบรมที่สอดคล้องกับมาตรฐานความรู้ ความสามารถ ทักษะ สมรรถนะหลักและสมรรถนะที่จำเป็นสำหรับตำแหน่งข้าราชการกรมชลประทาน ร่วมกับคณะทำงานของกรมชลประทาน ขอบเขตงาน

ขอบเขตการดำเนินงาน (ต่อ) ออกแบบ และติดตั้งระบบ Employee Performance Portfolio (Web-based EPP Application) เพื่อใช้ในการบริหารผลการปฏิบัติงาน และสามารถเชื่อมโยงกับฐานข้อมูลด้านบริหารทรัพยากรบุคคลขององค์กร และระบบการเลื่อนเงินเดือนข้าราชการ พร้อมจัดทำคู่มือการใช้ระบบเพื่อเป็นคู่มือการปฏิบัติงานของกรมฯ ให้เป็นไปตามมาตรฐานการจัดทำคู่มือการปฏิบัติงานของกรมชลประทาน จัดฝึกอบรมการใช้ระบบ Employee Performance Portfolio (EPP Application) ในการบริหารผลการปฏิบัติงานให้เจ้าหน้าที่ในหน่วยงานที่รับผิดชอบการบริหารงานทรัพยากรบุคคล และผู้แทนหน่วยงาน เพื่อให้สามารถนำไปใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ และประเมินผลการเรียนรู้ จัดฝึกอบรมเพื่อเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจระบบบริหารผลการปฏิบัติงานใหม่ที่ได้ดำเนินการพัฒนาแล้วให้ผู้บริหารกรมฯ และผู้บังคับบัญชา ระดับต่ำกว่าสำนัก/กอง 1 ระดับของทุกหน่วยงานของกรม ขอบเขตงาน

วิธีดำเนินการ ส่วนที่ 1 การทบทวนตัวแบบสมรรถนะ ส่วนที่ 2 การทบทวนดัชนีชี้วัดผลการปฏิบัติงานรายบุคคล ส่วนที่ 3 การจัดทำหลักสูตรการพัฒนาบุคลากร การออกแบบ และติดตั้งระบบ EPP+ ส่วนที่ 4 ส่วนที่ 5 การอบรมการใช้งาน และสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับระบบ EPP+

ผลผลิตของโครงการ มาตรฐานความรู้ ความสามารถ ทักษะ และสมรรถนะที่จำเป็นสำหรับตำแหน่งประเภททั่วไป วิชาการ และอำนวยการทุกสายงาน (58 สายงาน) และระดับตำแหน่งของข้าราชการกรมชลประทาน ข้าราชการกรมชลประทานมีความรู้ความเข้าใจ และสามารถกำหนดดัชนีชี้วัดผลการปฏิบัติงานรายบุคคล (Individual KPI) หลักสูตรฝึกอบรมที่สอดคล้องกับตัวแบบสมรรถนะของกรมชลประทาน ระบบ Employee Performance Portfolio (EPP+) ที่ใช้ในการบริหารผลการปฏิบัติงาน สามารถเชื่อมโยงระบบ EPP+ เข้ากับฐานข้อมูลด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล และระบบการเลื่อนเงินเดือนของข้าราชการ

ประเด็น โครงการและขอบเขตงาน ความท้าทายของการบริหารผลการปฏิบัติงานในภาครัฐ การบริหารผลการปฏิบัติงานแบบบูรณาการ เทคโนโลยีการบริหารผลการปฏิบัติงาน (EPP+) การสำรวจความรู้ ทักษะ สมรรถนะเฉพาะตามลักษณะงานที่ปฏิบัติ ผ่านระบบ E-Survey

ความท้าทายของการบริหารผลการปฏิบัติงานในภาครัฐ ตัวชี้วัดผลงาน (KPI) ความเข้าใจในการกำหนดตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายที่เหมาะสม ตัวชี้วัดที่กำหนดมีความเหลื่อมล้ำ หรือมีมาตรฐานไม่เท่ากัน ความสับสนในการกำหนดตัวชี้วัดระหว่างแนวทางของสำนักงาน ก.พ.ร. และของสำนักงาน ก.พ. ผู้บริหารและ/หรือผู้บังคับบัญชาให้ความสนใจน้อย ตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายไม่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ของส่วนราชการ ส่วนราชการและข้าราชการให้คะแนนแบบไม่ยอมให้ใครเสียเปรียบกัน/มีธงในการประเมิน

ความท้าทายของการบริหารผลการปฏิบัติงานในภาครัฐ สมรรถนะ (Competency) ความรู้/ความเข้าใจในการประเมินสมรรถนะ ข้อคำถามในเชิงพฤติกรรมตีความไม่ตรงกัน/อ่านแล้วไม่เข้าใจ จำนวนข้อคำถามที่มากเกินไป ส่วนราชการไม่กำหนดหลักสมรรถนะเพิ่มเติมนอกเหนือจากที่สำนักงาน ก.พ. กำหนด วิธีการและเครื่องมือในการประเมินที่ยังไม่มีประสิทธิภาพเพียงพอ ผู้บริหารและ/หรือผู้บังคับบัญชายังเข้าใจวิธีการประเมินไม่ตรงกัน

ประเด็น โครงการและขอบเขตงาน ความท้าทายของการบริหารผลการปฏิบัติงานในภาครัฐ การบริหารผลการปฏิบัติงานแบบบูรณาการ เทคโนโลยีการบริหารผลการปฏิบัติงาน (EPP+) การสำรวจความรู้ ทักษะ สมรรถนะเฉพาะตามลักษณะงานที่ปฏิบัติ ผ่านระบบ E-Survey 14

Copyright 2008 by Global Concerns Co., Ltd. โครงสร้างระบบบริหารผลงานแบบบูรณาการ (Integrated Performance Management Systems) Copyright 2008 by Global Concerns Co., Ltd.

ระบบบริหารทรัพยากรบุคคลแบบบูรณาการ

Performance + Competency

โครงสร้างการประเมินทรัพยากรบุคคล Competency Assessment Performance Appraisal การประเมินบุคลากร ทักษะ/ความรู้ พฤติกรรมการปฏิบัติงาน ผลการปฏิบัติงาน

People Grid ผลการปฏิบัติงาน สมรรถนะ ???

เครื่องมือ เป้าหมาย แบบทดสอบ แบบสัมภาษณ์ ทักษะ / ความรู้ ผลสัมฤทธิ์ มีทักษะความรู้ระดับใด พฤติกรรมการปฏิบัติงาน นำทักษะความรู้สู่การปฏิบัติ แบบมาตรวัด BARS งานบรรลุตามเป้าหมาย ผลสัมฤทธิ์ Personal KPIs Goal Setting - 20 -

ดร.เกริกเกียรติ ศรีเสริมโภค ตัวอย่างคำอธิบายมาตรวัดการประเมินพฤติกรรมการปฏิบัติงานการมุ่งผลสัมฤทธิ์ รายการพฤติกรรม 4 3 2 1 สามารถทำงานในหน้าที่ได้ดี และถูกต้อง ไม่มีความผิดพลาดในการปฏิบัติงาน (Zero Defect) งานไม่มีข้อผิดพลาดระหว่างร้อยละ 75 – 85 งานไม่มีข้อผิดพลาดระหว่างร้อยละ 60 – 74 งานไม่มีข้อผิดพลาดต่ำกว่าร้อยละ 60 มีความมานะอดทน ขยันหมั่นเพียรในการทำงาน และตรงต่อเวลา ตรงต่อเวลาในการปฏิบัติงาน (ไม่มาสาย และกลับก่อน) ตรงต่อเวลาในการปฏิบัติงาน (ไม่มาสาย และกลับก่อน ระหว่างร้อยละ 75 – 85) ตรงต่อเวลาในการปฏิบัติงาน (ไม่มาสาย และกลับก่อน ระหว่างร้อยละ 60 – 74) ตรงต่อเวลาในการปฏิบัติงาน (ไม่มาสาย และกลับก่อน ต่ำกว่าร้อยละ 60) มีความรับผิดชอบในงาน สามารถส่งงานได้ตามกำหนดเวลา ส่งมอบงานตรงต่อเวลามากกว่าร้อยละ 85 ส่งมอบงานตรงต่อเวลาระหว่างร้อยละ 75 – 85 ส่งมอบงานตรงต่อเวลาระหว่างร้อยละ 60 – 74 ส่งมอบงานตรงต่อเวลาต่ำกว่าร้อยละ 60 ดร.เกริกเกียรติ ศรีเสริมโภค

วิธีการ (Approach) วิธีการในการประเมินผลการปฏิบัติงาน แบบที่ 1 การประเมินแบบทางเดียวคือ การประเมินโดยผู้บังคับบัญชา หรือ ตนเอง แบบที่ 2 การประเมินแบบ 90 องศา คือ การประเมินโดยผู้บังคับบัญชา และ ตนเอง แบบที่ 3 การประเมินแบบ 180 องศา คือ การประเมินโดยผู้บังคับบัญชา ตนเอง และผู้ใต้บังคับบัญชา หรือผู้ร่วมงาน แบบที่ 4 การประเมินแบบ 270 องศา คือ การประเมินโดยผู้บังคับบัญชา ตนเอง ผู้ใต้บังคับบัญชา และผู้ร่วมงาน แบบที่ 5 การประเมินแบบ 360 องศา คือ การประเมินโดยผู้บังคับบัญชา ตนเอง ผู้ใต้บังคับบัญชา ผู้ร่วมงาน และลูกค้า

ทฤษฎีขนมชั้น ความสำเร็จที่องค์กรคาดหวัง เช่น กำไร รายได้ การบริการ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจากกระบวนการปฏิบัติงานเช่น รายงาน ผลงานวิจัย มาตรฐานในการปฏิบัติงานให้บรรลุผลสำเร็จ เช่น คุณภาพ และเวลาเป็นต้น ความสามารถหลักและลักษณะงานที่จะส่งผลต่อ ความสำเร็จของงาน Copyright 2009 by Global Concerns Co., Ltd. - 23 -

การประเมินที่ดีที่สุดคือการไม่ประเมิน ดร.เกริกเกียรติ ศรีเสริมโภค

ประเด็น โครงการและขอบเขตงาน ความท้าทายของการบริหารผลการปฏิบัติงานในภาครัฐ การบริหารผลการปฏิบัติงานแบบบูรณาการ เทคโนโลยีการบริหารผลการปฏิบัติงาน (EPP+) การสำรวจความรู้ ทักษะ สมรรถนะเฉพาะตามลักษณะงานที่ปฏิบัติ ผ่านระบบ E-Survey

EPP+ Application

Application Data Server Server “EPP+” ระบบงาน การดำรงตำแหน่ง เงินเดือน   ประวัติการศึกษา   ประวัติการอบรม/ดูงาน/สัมมนา  ความสามารถพิเศษ   ข้อมูลบุคลากร ระบบงาน ด้านสวัสดิการและเงินเดือน (Welfare & Payroll) ระบบงานพัฒนา และฝึกอบรมบุคลากร (Training and Development) ระบบงาน การพัฒนาเส้นทางอาชีพ หรือสายความก้าวหน้า (Career Development) ระบบสรรหาบุคลากร (Recruitment)

Internet

The Structure of EPP Application ผลการปฏิบัติงาน (Performance) สมรรถนะ (Competency) Personal KPI Core & Technical Competency แบบบันทึกผลการปฏิบัติงานบุคลากร (Employee Performance Portfolio) 29

สรุปผลการประเมิน ผลการปฏิบัติงาน รายบุคคล

รายงานผล สมรรถนะ รายบุคคล

รายงานผลตัวชี้วัดรายบุคคล ………………….

People Performance Dashboard

ประเด็น โครงการและขอบเขตงาน ความท้าทายของการบริหารผลการปฏิบัติงานในภาครัฐ การบริหารผลการปฏิบัติงานแบบบูรณาการ เทคโนโลยีการบริหารผลการปฏิบัติงาน (EPP+) การสำรวจความรู้ ทักษะ สมรรถนะเฉพาะตามลักษณะงานที่ ปฏิบัติ ผ่านระบบ E-Survey

วัตถุประสงค์การสำรวจ เพื่อทบทวนความรู้ ทักษะ สมรรถนะเฉพาะตามลักษณะงานที่ปฏิบัติ ให้สอดคล้องกับการปฏิบัติงาน

วิธีการเข้าสู่การสำรวจ เข้า Website ของสำนักพัฒนาโครงสร้างและระบบบริหารงานบุคคล http://kromchol.rid.go.th/person/

ขอบคุณ !