การค้นคว้าด้านสมุนไพรและการให้ความสำคัญกับภูมิปัญญาท้องถิ่น 2

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บทที่ 5 การดำรงชีวิตของพืช
Advertisements

เฉลย (เฉพาะข้อแสดงวิธีทำ)
ส่วนประกอบในร่างกาย หัว ใบหน้า ร่างกาย ปาก.
เป็นการนำความรู้ด้าน Microsoft Excel ที่มีความพิเศษตรงที่สามารถ กำหนดสูตรการคำนวณในแต่ละเซลล์ ของ Sheet งานนั้นๆได้ โดยอาศัย ความแม่นยำในการคีย์ข้อมูลเข้าไป.
จัดทำโดย น. ส. ดวงกมล งามอยู่เจริญ เลขที่ 8 น. ส. ณัชชา เชื้อตา เลขที่ 6 เตรียมบริหารธุรกิจปี 1.
การใช้งานโปรแกรม SPSS
บทที่2 การวางแผนการผลิตและกำลังการผลิต
ประเภทของโครงงาน ครูกตัญชลี เอกวุธ.
การใช้งาน Microsoft Excel
ประเภทโครงงาน พัฒนาระบบ (System Development)
พระเครื่องเมืองกำแพงเพชร
ครั้งที่ 7 รีจิสเตอร์ (REGISTER). รีจิสเตอร์ (Register) รีจิสเตอร์เป็นวงจรความจำที่ใช้ในการเก็บค่า ทางไบนารี่ ใช้ในการเก็บค่าในระหว่างการ ประมวลผลโดยใช้ฟลิป.
Intro Excel 2010 ข้อมูลจาก... ellession1.htm.
Microsof t Office Word เตรียมความ พร้อม Microsoft Office Word 2007 แดงเขียวน้ำเงิน ม่วงดำเขียว เหลืองส้มน้ำตาล น้ำเงินดำแดง.
แบบทดสอบ MICROSOFT EXCEL มีข้อมูลในแผ่นงานตั้งแต่แถวที่ 1 ถึงแถว 500 และคอลัมน์ A จนถึงคอลัมน์ M วิธีการเลือกช่วง ข้อมูลวิธีใด อย่างไร ที่อำนวยความสะดวกได้ดีและให้ผลรวดเร็ว.
เทคนิคการใช้ Microsoft Excel. 1. การตีตารางในรูปแบบต่าง ๆ 2. การแทรกภาพในตาราง 3. การตกแต่งข้อมูลด้วย Format Cells 4. การคำนวณ บวก ลบ คูณ หาร 5. การย่อ.
LOGO ภาษาซี 1.1 อ. กฤติเดช จินดาภัทร์. LOGO ตัวอย่างโค้ดภาษาซี
การเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาคอมพิวเตอร์ เพื่อการออกแบบของ นักเรียนประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 3 สาขางาน คอมพิวเตอร์กราฟิค วิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ.
การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ ครูชาญณรงค์ ปานเลิศ โรงเรียนพระบางวิทยา ครูชาญณรงค์
Project Management by Gantt Chart & PERT Diagram
ง21101 การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม. 1 เจตคติต่อการประกอบอาชีพ
ALLPPT.com _ Free PowerPoint Templates, Diagrams and Charts.
กระบวนการ สังเคราะห์ด้วยแสง
เคมีอุตสาหกรรม 1. อุตสาหกรรมขั้นพื้นฐาน: อุตสาหกรรมปิโตรเคมี
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
stack #2 ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
ความเค้นและความเครียด
แล้วทำการเรียงลำดับข้อมูลใหม่โดยเรียงจากน้อยไปหามาก
สารอินทรีย์ สารประกอบอินทรีย์ที่มีธาตุออกซิเจนเป็นองค์ประกอบ ได้แก่
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 4 : สื่อกลางส่งข้อมูลและการมัลติเพล็กซ์ (Transmission Media and Multiplexing) Part3 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ.
Visual Communication for Advertising Week2-4
นางสาวอิศกฤตา โลหพรหม ผู้นำเสนอ นางสาวปาริชาด สุริยะวงศ์
การอนุรักษ์พลังงานในระบบอัดอากาศ
การวิเคราะห์ ต้นทุน ปริมาณ กำไร
คำสั่ง Create , Insert, Delete, Update
ขอแนะนำ PowerPoint 2007 การแนะนำคุณลักษณะใหม่ๆ.
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสุรา
ยินดีต้อนรับ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน (พลเอก สุรศักดิ์ กาญจนรัตน์) และคณะ ในโอกาสตรวจเยี่ยมจังหวัดตาก วันที่ กรกฎาคม 2558.
ขอต้อนรับสู่ PowerPoint
การหาปริมาณของบอแรกซ์ และกรดบอริคในสารตัวอย่าง
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 4 มกราคม 2562
SMS News Distribute Service
บทที่7 ทฤษฎีกราฟเบื้องต้น
การแตกตัวของกรดอ่อน กรดอ่อน จัดเป็นอิเล็กโทรไลต์อ่อน เนื่องจากกรดอ่อนแตกตัวเป็นไอออนได้เพียงบางส่วน การแตกตัวของกรดอ่อนเป็นการเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับได้
โปรตีน กรดอะมิโนหลายโมเลกุล จะยึดเหนี่ยวกันด้วยพันธะเพปไทด์
การทดลองหาค่าความแน่นของดินที่มีเม็ดผ่านตะแกรงขนาด 19.0 มม. 1 เติมทรายลงในขวดซึ่งประกอบเข้ากับกรวยเรียบร้อย แล้วให้มีปริมาณเพียงพอสำหรับการใช้งาน.
Biochemical Oxygen Demand
ตัวอย่างการจัดทำรายงานการผลิต และงบการเงิน
รายวิชา งานไฟฟ้าเบื้องต้นสำหรับครูอุตสาหกรรมศิลป์
การคำนวณสารตามที่กฎหมายประกาศกำหนด
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
ความเข้มข้นของสารละลาย
โครงการประหยัดพลังงาน ฝ่ายการพยาบาล 2559
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไตล์ (Projectile Motion) จัดทำโดย ครูศุภกิจ
โมล และ ความสัมพันธ์ของโมล
2 โครงสร้างข้อมูลแบบสแตก (STACK).
กิจกรรมที่ 7 นายปรีชา ขอวางกลาง
นโยบายของรัฐด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม สมุดปกขาว BCG in Action การพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมของประเทศไทย เพื่อเศรษฐกิจชีวภาพ.
02/08/62 การศึกษาพลังงานทางเลือกจากมูลช้างทำถ่านอัดแท่ง สู่ชุมชนท้องถิ่นในเขตจังหวัดสุรินทร์ The Study of Alternative Fuel From Elephant Dung Made Bar.
รูปนิสิต บทคัดย่อ ผลการทดลอง วัตถุประสงค์ วิธีการที่นำเสนอ บทนำ
Polymer พอลิเมอร์ (Polymer) คือ สารประกอบที่มีโมเลกุลขนาดใหญ่ และมีมวลโมเลกุลมากประกอบด้วยหน่วยย่อยที่เรียกว่า มอนอเมอร์มาเชื่อมต่อกันด้วยพันธะโคเวเลนต์
ปฏิกิริยาเคมีในเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
ระบบการส่งต่อข้อมูลอาการไม่พึงประสงค์จากการแพ้ยา
Electrical Instruments and Measurements
สื่อการเรียนรู้เรื่อง ความงามของศิลปะด้าน จิตรกรรม โดย นายกิตติพงษ์ คงโต โรงเรียนหนองกรดพิทยาคม.
เครื่องขุดหลุมปลูกยาสูบ
วัฏจักรของน้ำ + พายุหมุนเขตร้อน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การค้นคว้าด้านสมุนไพรและการให้ความสำคัญกับภูมิปัญญาท้องถิ่น 2 วท 102 การพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี การค้นคว้าด้านสมุนไพรและการให้ความสำคัญกับภูมิปัญญาท้องถิ่น 2

วิเคราะห์สารต้านอนุมูลอิสระ ด้วยวิธี DPPH assay สาร Trolox (โทรลอกซ์) โครงสร้างแสดงดังรูป Trolox (โทรลอกซ์)

วิเคราะห์สารต้านอนุมูลอิสระ ด้วยวิธี DPPH assay การเตรียมสารมาตรฐาน โทรลอกซ์ (Trolox) 1. เตรียมสารละลายมาตรฐานโทรลอกซ์ที่ความเข้มข้นต่างๆ (0.0-0.2 มิลลิโมล) โดยเจือจางด้วยน้ำกลั่น (ความเข้มข้นต้องอยู่ในช่วงร้อยละ 20 – 100 ของการยับยั้ง (% inhibition)) 2. ปิเปตสารละลาย DPPH 0.1 mM ปริมาตร 1.5 มิลลิลิตร ลงในหลอดทดลอง 10 อัน เติมสารละลายมาตรฐานโทรลอกซ์แต่ละความเข้มข้น ปริมาตร 0.5 มิลลิลิตร ผสมให้เข้ากันด้วยเครื่อง vortex mixture ตั้งทิ้งไว้ในที่มืดที่อุณหภูมิห้องเป็นเวลา 30 นาที แล้วนำไปวัดค่าการดุดกลืนแสงที่ความยาวคลื่น 517 นาโนเมตร (ทำการทดลองซ้ำ 3 ครั้ง)

วิเคราะห์สารต้านอนุมูลอิสระ ด้วยวิธี DPPH assay การเตรียมสารมาตรฐาน โทรลอกซ์ (Trolox) 3. สำหรับหลอดควบคุมใช้เมทานอลปริมาตร 0.5 มิลลิลิตร แทนสารละลายมาตรฐานโทรลอกซ์ ส่วนหลอดแบลงค์ใช้เมทานอล 4. คำนวณหาร้อยละของการยับยั้ง (% inhibition) จากสูตรต่อไปนี้ ร้อยละของการยับยั้ง = [ A517control – A517 test sample ] x 100 A517control

วิเคราะห์สารต้านอนุมูลอิสระ ด้วยวิธี DPPH assay การเตรียมสารมาตรฐาน โทรลอกซ์ (Trolox) 5. นำร้อยละของการยับยั้งคำนวณได้ของแต่ละความเข้มข้นไปเขียนกราฟมาตรฐานต่อไปนี้ ดังตัวอย่าง

วิเคราะห์สารต้านอนุมูลอิสระ ด้วยวิธี DPPH assay การวิเคราะห์สารตัวอย่าง 1. เจือจางตัวอย่างด้วยเมทานอลให้ได้ความเข้มข้น 0.1-1.0 มิลลิกรัม/มิลลิลิตร 2. ทำการวิเคราะห์เหมือนสารละลายมาตรฐานโทรลอกซ์ (ข้อ 2-6) โดยใช้ตัวอย่างแทนสารละลายมาตรฐานโทรลอกซ์ จะได้ค่า IC50 ของตัวอย่างที่วิเคราะห์

วิเคราะห์สารต้านอนุมูลอิสระ ด้วยวิธี DPPH assay การวิเคราะห์สารตัวอย่าง 3. คำนวณหาความสามารถในการต้านอนุมูลอิสระของตัวอย่างที่วิเคราะห์เทียบกับสารละลายมาตรฐานโทรลอกซ์ เรียกว่า TEAC (Trolox Equivalent Antioxidant Capacity; mM Trolox/g smaple) ซึ่งค่านี้แสดงถึงความเข้มข้นของโทรลอกซ์ที่มีความสามารถต้านอนุมูลอิสระเท่ากับสารที่ทดสอบ 1.0 มิลลิกรัม ดังสูตรต่อไปนี้ Antioxidant activity (TE mmol/g ของตัวอย่าง) คำนวณจาก = IC50 ของ trolox (mmol/L) IC50 ของตัวอย่างที่วิเคราะห์(mg/ml)

วิเคราะห์ปริมาณสารประกอบฟีนอลิกทั้งหมด total phenolic contents เริ่มจากการเตรียมสารมาตรฐาน คือ แกลลิค เอซิด (gallic acid) 1. เตรียมสารละลายกรดแกลลิคความเข้มข้น 1000 ppm โดยชั่งกรดแกลลิค 100 มิลลิกรัม ละลายในเอธานอล ร้อยละ 95 ปริมาตร 100 มิลลิลิตร

วิเคราะห์ปริมาณสารประกอบฟีนอลิกทั้งหมด การเตรียมสารมาตรฐาน (ต่อ) 2. ทำการ dilution สารละลายที่ได้ในข้อ 1 โดยการปิเปตมา 0.5, 1, 1.5, 2, 4, 6 และ 8 มิลลิลิตร ลงในหลอดทดลอง แล้วปรับปริมาตรด้วยน้ำกลั่นให้ครบ 8 มิลลิลิตร จะได้ความเข้มข้นของสารละลายกรดแกลลิคเป็น 50, 100, 150, 200, 400, 600, 800 ppm ตามลำดับ

วิเคราะห์ปริมาณสารประกอบฟีนอลิกทั้งหมด การเตรียมสารมาตรฐาน (ต่อ) 3. ปิเปตสารละลายแต่ละความเข้มข้นในข้อ 1) และ 2) มา 0.25 มิลลิลิตร เติมน้ำกลั่น 3 มิลลิลิตร เติมสาร Folin-Ciocalteu' s phenol 0.25 มิลลิลิตร และเติมสารละลายโซเดียมคาร์บอเนตร้อยละ 7 อีก 2.5 มิลลิลิตร ผสมให้เข้ากันด้วยเครื่อง Vortex mixture

วิเคราะห์ปริมาณสารประกอบฟีนอลิกทั้งหมด การเตรียมสารมาตรฐาน (ต่อ) 4. ตั้งทิ้งไว้ที่อุณหภูมิห้อง 30 นาที แล้วนำไปวัดค่าการดูดกลืนแสงที่ 760 นาโนเมตร โดยใช้เอธานอล ร้อยละ 95 เป็นแบลงค์ (blank) 5. นำค่าการดูดกลืนแสงที่ได้ในแต่ละความเข้มข้นไปเขียนกราฟมาตรฐานต่อไป

การสร้างกราฟมาตรฐานกรดแกลลิค สร้างกราฟมาตรฐานจากข้อมูลที่วัดค่าการดูดกลืนแสดงได้ เมื่อได้กราฟแล้ว คลิกที่ linear คลิกที่ option คลิกเครื่องหมายถูกที่ display equation on chart และ display R-squared แล้วคลิกที่ OK ก็จะได้กราฟพร้อมสมการ และค่า R2

กราฟมาตรฐานกรดแกลลิค ค่าการดูดกลืนแสงที่ 760 nm ความเข้มข้นกรดแกลลิค (ppm)

วิเคราะห์ปริมาณสารประกอบฟีนอลิกทั้งหมด วิธีการวิเคราะห์ตัวอย่าง 1. นำตัวอย่าง (กรณีของเหลว) นำมา 10 มิลลิลิตร นำไปปรับปริมาตรด้วยเอธานอล ร้อยละ 95 ให้ครบ 50 มิลลิลิตร แล้วนำไปหมุนเหวี่ยงที่ 5,000 rpm เป็นเวลา 10 นาที แยกเอาเฉพาะสารละลายใสไปวิเคราะห์ต่อไป 2. ปิเปตสารละลายใสที่ได้ 0.25 มิลลิลิตร ลงในหลอดทดลอง เติมน้ำกลั่น 3 มิลลิลิตร เติมสาร Folin-Ciocalteu’s phenol 0.25 มิลลิลิตร และเติมสารละลายโซเดียมคาร์บอเนต ร้อยละ 7 อีก 2.5 มิลลิลิตร ผสมให้เข้ากันด้วยเครื่อง Vortex mixture

วิเคราะห์ปริมาณสารประกอบฟีนอลิกทั้งหมด วิธีการวิเคราะห์ตัวอย่าง (ต่อ) 3.ตั้งทิ้งไว้ที่อุณหภูมิห้อง 30 นาที แล้วนำไปวัดค่าดูดกลืนแสงที่ 760 นาโนเมตร โดยใช้เอธานอล ร้อยละ 95 เป็นแบลงค์ นำค่าดูดกลืนแสงที่ได้ไปแทนค่า Y ในสมการกราฟ มาตรฐาน เพื่อหาค่า X แล้วนำค่า X คูณด้วยค่า dilution factor ก็จะได้ค่าความเข้มข้นของสารประกอบฟีนอลทั้งหมดในตัวอย่าง มีหน่วยเป็น ppm หรือไมโครกรัมต่อกรัม (as gallic acid)