แนวทางการดำเนินกิจกรรมและการสนับสนุนงบประมาณของ กองทุนโลกด้านวัณโรค “โครงการยุติปัญหา วัณโรคและเอดส์ด้วยชุดบริการ RRTTR: STAR-NFM” ของจังหวัดสระบุรี”

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประเด็นในการพัฒนา DHS-PCA
Advertisements

กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการสหกรณ์
เชื่อมโยงนโยบายแต่ละระดับ
เขมกร เที่ยงทางธรรม สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ ๑ กรุงเทพฯ
การพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
การอบรมทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว(SRRT) เครือข่ายอำเภอเมืองนครปฐม วันที่ 27 มิถุนายน 2557 ณ ห้องประชุมอำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม ดรุณี โพธิ์ศรี
แนวทางการบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ปีงบประมาณ 2558
การดูแลผู้ติดเชื้อเอชไอวีและผู้ป่วยวัณโรค โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ์
โรงพยาบาลอ่างทอง ชื่อผู้ติดต่อ นางรัตนา งิ้ววิจิตร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ กลุ่มงาน เวชกรรมสังคม โทรศัพท์ อีเมล์
โรงพยาบาลเขาชัยสน ขนาด 30 เตียง จังหวัดพัทลุง
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพฯ กลุ่มเด็กวัยเรียน มาตรการ เป้าหมาย วิธีการวัด เป้าหมาย/KPI 1.นโยบายร่วมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ/วาระสุขภาพแห่งชาติ
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
สำนักงานพัฒนาระบบสาธารณสุข
นโยบายด้านโรคติดต่อ ศ. คลินิกเกียรติคุณ นพ. ปิยะสกล สกลสัตยาทร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข.
ผลการดำเนินงาน ปีงบ ๒๕๕๘ ( ร่าง ) แผนปฏิบัติการฯ ปี งบ ๒๕๕๙ กลุ่มงานบริหารทั่วไป สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดตราด.
แผนงานยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุขด้านพัฒนาสุขภาพ กลุ่มผู้สูงอายุ กระทรวงสาธารณสุข สถานการณ์ปัญหา : ด้าน โครงสร้างประชากร ปัจจุบันประเทศไทย : ( ข้อมูล ณ.
เป้าหมายงานวัณโรค ปี 2559 ระดับความสำเร็จของการควบคุมวัณโรค 1. การค้นหาและรายงานผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ เพิ่มขึ้น 10% ( ของปี 56) 2. รพ. ผ่านมาตรฐานรพ. คุณภาพการดูแลรักษาวัณ.
โครงการ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ “ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ
กลุ่มวัยผู้สูงอายุ
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ(PMQA)
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
โครงการส่งเสริมป้องกันโรคในช่องปากผู้สูงอายุ
การดำเนินงานควบคุมวัณโรค จังหวัดพิจิตร ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2560 – 26 มีนาคม /01/62.
สถานการณ์และสภาพปัญหาวัณโรค จังหวัดสระบุรี
งาน Road Map ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตรปี 2560
ประสบการณ์การ การใช้ระบบติดตามผลการดำเนินงานในกลุ่มผู้ใช้ยา/สารเสพติด
สรุปแนวทางการดำเนินงานตามกลุ่มวัย
งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรคและภัยสุขภาพ
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
การติดตามผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๐
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ ข้อสั่งการ/ข้อเสนอแนะ
กระบวนงานการให้บริการ
“การดูแลหญิงหลังคลอด และ ครอบครัวที่ติดเชื้อ เอช ไอ วี”
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
วันที่ ๒๔-๒๕ สิงหาคม ๒๕๕๙ ณ โรงแรมพูลแมน จังหวัดขอนแก่น
โครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลท่าดินแดง
SERVICE PLAN สาขาโรคไม่ติดต่อ.
สำนักพัฒนาระบบและรับรองมาตรฐานสินค้าปศุสัตว์ กรมปศุสัตว์
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
โครงการกำจัดปัญหาโรคพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี ถวายเป็นพระราชกุศลฯ
สรุปผลการดำเนินงานวิจัย สวส. ปี 2559
เพื่อการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ทศวรรษ
อดีต ปัจจุบัน อนาคต ของเอชไอวี ในประเทศไทย
การพัฒนาระบบการดูแลผู้รับบริการเพื่อตรวจรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
สรุปแนวทางการดำเนินงานวัณโรค ปี ๒๕๖๑
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่ (≥ 85 %)
คำสำคัญ : ความชุกวัณโรค, ผู้ต้องขังในเรือนจำ
ชาลิณี ปิยะประสิทธิ์ สปสช.เขต 10 อุบลราชธานี 21 กันยายน 2560
ระเบียบวาระที่ 4 : เรื่องเพื่อทราบ
กำหนดการประชุมเชิงปฏิบัติการ
ขั้นตอนการให้บริการ ด้านโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
ข้อมูลการป้องกัน การถ่ายทอดเชื้อเอชไอวีจากแม่สู่ลูก (PMTCT)
คลินิกโรคติดเชื้อเด็ก โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์
กองทุนฟื้นฟูสมรรถภาพที่จำเป็นต่อสุขภาพ จังหวัดน่าน
ผลการดำเนินงานวัณโรค ปีงบประมาณ 2560
ศูนย์ปฏิบัติการยุติวัณโรค NOC TB อำเภอบรบือ จังหวัดมหาสารคาม
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
การป้องกันควบคุมโรค NCDs
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดฉะเชิงเทรา
พัฒนาแผนงาน / ยุทธศาสตร์
ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี
ประเด็น ที่ 4 อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่
โรงพยาบาลยางตลาด 87 ม.20 ต.ยางตลาด อ.ยางตลาด จ.กาฬสินธุ์
การดูแลรักษาผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่เป็นวัณโรคแบบบูรณาการ
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แนวทางการดำเนินกิจกรรมและการสนับสนุนงบประมาณของ กองทุนโลกด้านวัณโรค “โครงการยุติปัญหา วัณโรคและเอดส์ด้วยชุดบริการ RRTTR: STAR-NFM” ของจังหวัดสระบุรี”

วัตถุประสงค์โครงการ 1 เพื่อป้องกันการระบาดของเอชไอวี และวัณโรค โดยการจัดกิจกรรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมแบบเข้มข้น รวมทั้งการป้องกันโดยใช้ยาต้านไวรัสอย่างเหมาะสม ซึ่งหมายถึงการใช้การรักษาเพื่อการป้องกัน (Prophylaxis) และยุทธศาสตร์การรักษาด้วยยาต้านไวรัส (ART) 2 เพื่อค้นหาผู้ติดเชื้อเอชไอวีและผู้ป่วยวัณโรคในชุมชน และในสถานบริการสุขภาพ โดยการเข้าถึงประชากร กลุ่มเปราะบางและที่มีพฤติกรรมเสี่ยงต่อการรับเชื้อ ให้ได้รับการตรวจหาการติดเชื้อเอชไอวี และการคัดกรองวัณโรค 3 เพื่อพัฒนาศักยภาพการตรวจวินิจฉัยการติดเขื้อเอชไอวีและการป่วยวัณโรคได้อย่างถูกต้อง โดยการเพิ่มความสามารถในการตรวจวินิจฉัย และลดระยะเวลาในการฟังผลเลือด (การตรวจหาภาวะการติดเชื้อเอชไอวีโดยใช้ชุดตรวจที่ทราบผลภายในวันเดียว และเทคนิคการตรวจวินิจฉัยในระดับโมเลกุลของวัณโรค ด้วยเครื่อง Gene Xpert) 4 เพื่อสนับสนุนให้เกิดการรักษาที่รวดเร็วและการดูแลที่ต่อเนื่อง สำหรับผู้ที่ได้รับการวินิจฉัยการติดเชื้อเอชไอวีและ/หรือเป็นวัณโรคทุกคน 5 เพื่อทำให้เกิดการเชื่อมประสานงานระหว่างหน่วยงานที่ทำงานด้านเอชไอวีและวัณโรคทั้งในระดับประเทศ และระดับพื้นที่ เพื่อให้เกิดความยั่งยืนโดยการเชื่อมต่อระหว่างการดูแลสุขภาพในชุมชนและระบบสุขภาพของประเทศ 6 เพื่อให้การติดเชื้อเอชไอวีและวัณโรคเป็นโรคปกติ โดยการลดการตีตราและการเลือกปฏิบัติ

เป้าหมายและกลยุทธ์ เป้าหมาย เพื่อลดอัตราความชุกวัณโรค 159 ต่อแสนประชากร เป็น 120 ต่อแสนประชากร (พ.ศ.2558-2562) กลยุทธ์ เข้าถึง ตรวจหา รักษา และคงอยู่ RRTTR (Reach-Recruit-Test-Treat-Retain)

กิจกรรมหลัก การดูแลรักษา และป้องกันวัณโรค รวมไปถึงการจัดซื้อเครื่อง GeneXpert มีความไวสูง ในการตรวจวินิจฉัยวัณโรค สามารถทำได้อย่างสมบูรณ์ และทันท่วงที การรักษาวัณโรคดื้อยา (MDR – TB treatment) ดูแลและให้การช่วยเหลือแรงงานข้ามชาติที่ไม่มีประกัน และผู้ต้องขังในเรือนจำ สนับสนุนยารักษาวัณโรคดื้อยา MDR-TB สำหรับผู้ป่วยที่ไม่มีประกันหรือสิทธิในการรักษา และยารักษาวัณโรคชนิดรุนแรง XDR-TB ในผู้ป่วยทั้งคนไทยและแรงงานข้ามชาติ การประสานการดำเนินงาน และการสนับสนุนช่วยเหลือกันระหว่างวัณโรคและโรคเอดส์ (TB&HIV) โดยเฉพาะอย่างยิ่งการอบรม และการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ในกลุ่มผู้ทำงานด้านคลินิก และกลุ่มผู้ทำงานส่งเสริมการรักษาผู้ป่วย ในจังหวัดที่มีอัตราการป่วยสูงการจัดอบรมในการควบคุมโรค และการร่วมมือระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับเอชไอวีและวัณโรค ส่งเสริมการจัดระบบข้อมูลสุขภาพและการติดตามประเมินผลเอชไอวีและวัณโรค

การสนับสนุนงบประมาณโดยแบ่งหมวด

หมวดที่ 1. Human Resources 170 ค่าตอบแทนเจ้าหน้าที่ เพื่อใช้จ่ายในการทำหน้าที่กำกับการกินยาผู้ป่วยวัณโรคดื้อยา X/MDT-TB RR+ (DOT-MDR) ค่าตอบแทนรายเดือนสำหรับผู้ได้รับมอบหมายให้เป็น ผู้กำกับการกินยา (คำสั่งฯ) 300 บาท x 20 เดือน 161.1.2 ค่าตอบแทนการทำงานไม่เต็มเวลาสำหรับเจ้าหน้าที่โรงพยาบาล MDR-TB Center ค่าตอบแทนรายเดือน เพื่อดำเนินงานและติดตามกำกับงานวัณโรค MDR • 1,000 บาท / เดือน

หมวดที่ 1. Human Resources 172 การกำกับการดูแลการกินยาทุกวันสำหรับผู้ป่วยวัณโรครายใหม่เสมหะพบเชื้อ ในกลุ่มผู้สูงอายุ และผู้ป่วย TB/HIV ทุกกลุ่มอายุ (เริ่ม ม.ค. 58 ที่มีผู้ป่วยอยู่ในความดูแลกำกับการกินยา จะเบิกเป็น รายไตรมาส ) @โควต้า 90 คน@ ค่าเหมาจ่ายค่าเดินทางสำหรับการกำกับการกินยาโดยเจ้าหน้าที่ โดยใช้ชุดเบิก คนละ 200 บาทx 6 เดือน

หมวดที่ 2. Travel related costs(TRC) 183 ประชุมเครือข่ายเจ้าหน้าที่รับผิดชอบงานวัณโรคภายในจังหวัด เพื่อติดตามความก้าวหน้า รับทราบปัญหาอุปสรรค และผลการดำเนินงาน 188 การนิเทศ กำกับการดำเนินงานโครงการ โดยสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด

หมวดที่ 2. Travel related costs(TRC) 180.1 การดูแลรักษาผู้ป่วยวัณโรคดื้อยาฯ เป็นรายบุคคล โดยทีมโรงพยาบาล(แพทย์ พยาบาล เภสัชฯ นักสังคมฯ ผู้ให้คำปรึกษา ฯลฯ) ร่วมกับสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด ลงเยี่ยมพื้นที่ส่งต่อและสอน/แนะนำการดูแลผู้ป่วยให้ทีมสุขภาพ(รพ.สต.) ในชุมชน 182 จัดประชุมเชิงปฏิบัติการชี้แจงโครงการฯ และแนวทางดำเนินกิจกรรมต่างๆ TB/MDR management, TB/HIV, ICF, IC สำหรับ รพ.ทุกแห่ง จัดโดยสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด

หมวดที่ 12. Living support to client/target population(LSCTP) 306 ค่าเดินทางในการกำกับการกินยาต่อหน้าเจ้าหน้าที่ทุกวัน (DOT) สำหรับผู้ป่วยวัณโรคดื้อยา X/MDR-TB RR+ *1500 บาท/เดือน *20 เดือน 307 ค่าใช้จ่ายในการทำหน้าที่กำกับการกินยาผู้ป่วยวัณโรคดื้อยา X/MDR-TB RR+ *300 บาท/เดือน *20 เดือน หมายเหตุ : ผู้ป่วย MDR-TB ต่อเนื่องจากโครงการรอบ SSF 1.รพ.สต.พระพุทธบาท อำเภอพระพุทธบาท 1 ราย (ถึงเดือน สค.58) 2.รพ.สต. หินลับ อำเภอมวกเหล็ก 1 ราย (ถึง เดือน ธค.58)

หมวดที่ 12. Living support to client/target population(LSCTP) 219 ค่าเดินทางในการกำกับการกินยาต่อหน้าเจ้าหน้าที่ทุกวัน (DOT) สำหรับผู้ป่วยวัณโรคดื้อยา X/MDR-TB RR+ *1500 บาท/เดือน *20 เดือน 169 ค่าตอบแทนเจ้าหน้าที่สาธารณสุข/เจ้าหน้าที่ภาคสนาม ในการทำกิจกรรมเยี่ยมบ้านผู้ป่วยวัณโรคดื้อยา(MDR-TB) เพื่อสัมภาษณ์คัดกรองผู้สัมผัสฯ(ICF) และส่งตรวจวินิจฉัยทุกราย *500 บาท/ครอบครัว

หมวดที่ 12. Living support to client/target population(LSCTP) 171 ค่าตอบแทนเจ้าหน้าที่สาธารณสุข/เจ้าหน้าที่ภาคสนาม ในการทำกิจกรรมเยี่ยมบ้านผู้ป่วยวัณโรคเสมหะพบเชื้อ(M+) เพื่อสัมภาษณ์คัดกรองผู้สัมผัสฯ(ICF) และส่งตรวจวินิจฉัยกรณีพบอาการสงสัย *200 บาท/ครอบครัว 220 ค่าตรวจทางห้องปฏิบัติการและค่าเอกซเรย์ระหว่างการรักษา สำหรับวัณโรคดื้อยาX/MDR-TB RR+ ที่ไร้สิทธิ์(จ่ายชดเชยให้ รพ.ตามจริง)

ผลการดำเนินงาน ปี 2558 จำนวนคนไข้ TB ขึ้นทะเบียน งวด 1-3/58

ผลการดำเนินงาน ปี 2558 ผลการรักษาสำเร็จ งวด 1-3/57

ผลการดำเนินงาน ปี 2558 อัตราการตาย งวด 1-3/57

ผลการดำเนินงาน ปี 2558 อัตราการขาดยา งวด 1-3/57

ผลการดำเนินงาน ปี 2558 Conversion Rate งวด 1/58

ขอบคุณค่ะ!