PATIENT IDENTIFICATION

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การติดตามและ ประเมินผลโครงการ
Advertisements

เขมกร เที่ยงทางธรรม สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ ๑ กรุงเทพฯ
สถานการณ์และการเตรียมความพร้อม การป้องกันอุบัติเหตุทางถนน
อ. สิริพร มีนะนันทน์ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา
เครื่องชี้วัดคุณภาพ วัตถุประสงค์: เพื่อให้ผู้เรียน
ชื่อเรื่อง : ศึกษาผลการจัดการเรียนรู้ ในรายวิชาการบัญชีบริหาร ด้วยวิธีการเรียนรู้แบบกลุ่มคละผลสัมฤทธิ์ STAD ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้สถานการณ์จำลองการวางแผนงบประมาณในธุรกิจการผลิตเฟอร์นิเจอร์
ให้ความรู้ผู้ป่วยโรคไซนัสอักเสบ
สถานการณ์และการเตรียมความพร้อม การป้องกันอุบัติเหตุทางถนน
องค์การบริหารส่วนตำบลข่วงเปา
การประเมินผู้ป่วยบาดเจ็บศีรษะ
พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
ผลการดำเนินงานต่อเนื่องของ service plan
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
นางวราพันธ์ ลังกาวงศ์ ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน.
การพัฒนาโปรแกรมระบบ รายงาน หน่วยงานเวชสารสนเทศ หน่วยงานเวชสารสนเทศ กลุ่มพัฒนาระบบบริการ สุขภาพโรงพยาบาลสุโขทัย.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
เพื่อศึกษาระดับคุณภาพชีวิตและปัจจัยที่มีผลต่อ คุณภาพชีวิตของผู้ติดเชื้อเอชไอวีและผู้ป่วยเอดส์ที่ รับยาต้านไวรัสเอชไอวีในโรงพยาบาลวารินชำราบ จังหวัดอุบลราชธานี
หน่วยรับตรวจส่วนงานย่อย สพฐ. สพป. / สพม. โรงเรียน สำนัก กลุ่ม / หน่วย กลุ่ม / งาน สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กำหนดหน่วยรับตรวจ และส่วนงานย่อย.
ความพึงพอใจที่มีต่อ ประสิทธิภาพ การ ปฏิบัติงานธุรการ นางพนิดา ชวนประเสริฐ วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
การประเมินผลโครงการ คป สอ. เกาะช้าง ปี การดำเนินงาน 1. แต่งตั้งคณะกรรมการ ประธาน คปสอ. เกาะช้าง ประธาน คณะกรรมการ ผอ. รพ. เกาะช้างรองประธาน เลขานุการผู้รับผิดชอบงาน.
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
การเพิ่มประสิทธิภาพ ระบบบริหารจัดการความเสี่ยง
ศูนย์บริการสาธารณสุข 39 ราษฎร์บูรณะ
การศึกษาอุบัติการณ์และปัจจัยเสี่ยงการเกิดพิษต่อตับ ในผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ที่ได้รับยาต้านไวรัสเอชไอวี โรงพยาบาลวารินชำราบ.
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
เรื่อง ความพึงพอใจต่อการให้บริการห้องสมุด
การประเมินมาตรฐาน งานระบาดวิทยา ปี 2549
งาน Palliative care.
แพทย์หญิงวันทนีย์ วัฒนะ ผู้อำนวยการสำนักอนามัย
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
กรอบอัตรากำลังของบุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา 38 ค. (2)
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
ความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการประหยัดพลังงาน
การจัดการข้อมูล ดร. นพ. วรสิทธิ์ ศรศรีวิชัย
วิทยาลัยเทคโนโลยี ดอนบอสโกสุราษฎร์
      วิจัย เรื่อง การประเมินผลการดำเนินงานประกันคุณภาพภายใน ของสำนักงานประกันคุณภาพและงานวิจัย วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการอยุธยา ปีการศึกษา 2556.
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๐ ผู้สอน : คุณครูภาคภูมิ คล้ายทอง
ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมที่ปลอดภัยจากความเมื่อยล้าในการทำงาน
การประเมินคุณภาพการศึกษา สำนักงานอธิการบดี
KMA หมวด 6 การจัดการกระบวนการ.
บทที่ 4 การดูแลให้ได้รับการพักผ่อนและความปลอดภัย การจัดการสิ่งแวดล้อม การทำเตียง อ.กรวรรณ สุวรรณสาร.
โครงการจัดทำระบบฐานข้อมูล วัตถุเสพติดของกลาง (ระยะที่1)
การพัฒนาระบบการดูแลผู้รับบริการเพื่อตรวจรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพบุคลากรทางการศึกษาด้านการสอบด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer-based Assessment) การรู้เรื่องการอ่าน ด้านคณิตศาสตร์และด้านวิทยาศาสตร์
ปี 2560 ปฏิทินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
SMS News Distribute Service
ประชุม คปสจ.ประจำเดือนมิถุนายน ๒๕๕๙ MOTTO – กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
กิตติกรรมประกาศ งานวิจัยนี้สำเร็จได้ด้วยความอนุเคราะห์ของบุคคลหลายท่านซึ่งไม่สามารถกล่าวไว้ในที่นี้ได้ทั้งหมดทุกท่าน ซึ่งท่านแรก ผู้จัดทำต้องขอขอบคุณ.
นวัตกรรมทางการพยาบาล “FIFO cautery box”
Miniresearch งานผู้ป่วยนอก.
ขดลวดพยุงสายยาง.
โครงการยกระดับคุณภาพผู้เรียน ในการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (NT/O-NET)
การติดตาม (Monitoring)
ชัยพฤกษ์รัตนาธิเบศร์ - วงแหวน
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา Self – Assessment Report
นวัตกรรม ขวดเก็บ Sputum culture
งานวิสัญญี รพร.เดชอุดม
Lean Management การลดขั้นตอนการนัดตรวจสุขภาพจิตของ นร.กพ
มั่นใจเชื่อถือได้ เหรียญ+ป้าย ลูกของแม่
การพัฒนาการทำแผล หอผู้ป่วยพิเศษร่มเย็น 4
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
จุดเน้นในการพัฒนา/แผนพัฒนา ความเสี่ยง/ความท้าทาย
ใบสำเนางานนำเสนอ:

PATIENT IDENTIFICATION การระบุตัวผู้ป่วยผิดพลาดที่ เกิดขึ้นในตึกอุบัติเหตุและฉุกเฉิน ตึกอุบัติเหตุ – ฉุกเฉิน โรงพยาบาลลำพูน

การระบุตัวผู้ป่วยผิดพลาดที่เกิดขึ้นในตึกอุบัติเหตุและฉุกเฉิน หน่วยงาน ตึกอุบัติเหตุและฉุกเฉินโรงพยาบาลลำพูน ผู้รับผิดชอบ น.ส.เมธาวี ตันติวรานุรักษ์ นายวัฒนา ศิลปศุภร น.ส.จารุณี พรหมแก้ว

หลักการและเหตุผล การระบุตัวผู้ป่วย (Patient Inditification) เป็นส่วนสำคัญในการ จัดการระบบการบริการให้มีคุณภาพ ถือเป็นส่วนหนึ่งในโครงสร้างของ Patient safety goal ซึ่งในการประชุม HA national forum ครั้งที่ 7 เมื่อปี 2549 พรพ.ได้นำเสนอ Patient safety goal (PSG) เพื่อให้ รพ. ที่พัฒนา คุณภาพมีความตระหนักร่วมกันถึงโอกาสเกิดเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์ที่ สำคัญ และในการประชุม HA national forum ครั้งที่ 9 เมื่อปี 2551 พรพ. ได้ปรับโครงสร้างของ PSG โดยเพิ่มแนวคิด SIMPLE โดยมี เป้าหมายให้รองรับประเด็นความปลอดภัยของผู้ป่วยและส่งเสริมให้ นำไปปฏิบัติจริง

หลักการและเหตุผล ( ต่อ ) โรงพยาบาลลำพูน ได้ขานรับนโยบายของ พรพ. Patient safety goals โดยใช้แนวคิด Patient safety goal โดยใช้ แนวคิด SIMPLE มา ปฏิบัติเพื่อพัฒนากระบวนการคุณภาพในการให้บริการตึกอุบัติเหตุและ ฉุกเฉินเป็นหน่วยงานด่านหน้าที่ปฏิบัติตามแนวคิดของ SIMPLE โดย เน้นในกระบวนการของ Patient Care Processes คือ Patient Identification (การระบุตัวผู้ป่วย) โดยมุ่งเน้นการติดป้ายข้างเตียง และการติดป้ายข้อมือ แก่ผู้ป่วยทุกรายที่มารับบริการ และนอนโรงพยาบาลเพื่อลดอัตราเสี่ยง และป้องกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นแก่ผู้ป่วย

หลักการและเหตุผล ( ต่อ ) จากการรายงานของศูนย์เปลพบว่า ในปีที่ผ่านมามีผู้ป่วยที่นอน โรงพยาบาลไม่ได้รับการติดป้ายข้อมือจากเจ้าหน้าที่จำนวน 45 คน ซึ่งเสี่ยงต่อการเกิดความความเสี่ยงและอันตรายที่เกิดขึ้นกับตัวผู้ป่วย นอกจากนี้ สถานการณ์ในปัจจุบันจากการสังเกตยังพบว่ามีผู้มารับ บริการและผู้ป่วยที่ได้นอน รพ. ยังไม่ได้รับการติดป้ายข้างเตียงและ ป้ายข้อมือจากเจ้าหน้าที่ซึ่งเป็นไปได้ว่าเจ้าหน้าที่ยังไม่ได้ปฏิบัติตาม แนวทาง Patient Care Processes

หลักการและเหตุผล ( ต่อ ) คณะผู้วิจัยจึงเล็งเห็นความสำคัญเกี่ยวกับแนวทางการ Identify ของผู้ป่วย และให้เจ้าหน้าที่ในหน่วยงานได้ตระหนักถึงความสำคัญ ของการ Identify เพื่อแก้ไข ปรับปรุง ให้ลดอัตราความเสี่ยงที่จะ เกิดขึ้นกับตัวผู้ป่วยหรือผู้มารับบริการ และให้การพยาบาล การ รักษาอย่างมีคุณภาพ นอกจากนี้ยังเป็นโอกาสในการพัฒนาคุณภาพ โรงพยาบาลตามแนวทางของ Patient safety goal ต่อไป

วัตถุประสงค์ เพื่อให้เจ้าหน้าที่ในหน่วยงานอุบัติเหตุและฉุกเฉินปฏิบัติตามแนว ทางการ Identification ของหน่วยงาน เพื่อให้เจ้าหน้าที่เปลไม่นำผู้ป่วย admit ผิดคน เพื่อป้องกันการตรวจรักษาและการทำหัตถการผิดพลาดกับตัวบุคคล เพื่อลดอัตราเสี่ยงและภาวะแทรกซ้อนอันเกิดอันตรายแก่ผู้ป่วย เพื่อเชื่อมโยงสื่อสารข้อมูลกับหน่วยงานต่าง ๆ ในโรงพยาบาลได้ ถูกต้อง

ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ เจ้าหน้าที่ในหน่วยงานตึกอุบัติเหตุและฉุกเฉินเห็นความสำคัญในการ ติดป้ายข้างเตียงและป้ายข้อมือ เจ้าหน้าที่ในกลุ่มงานอุบัติเหตุและฉุกเฉินปฏิบัติตามแนวทางการ Identify ในหน่วยงาน แพทย์และพยาบาลได้ให้การรักษาและการพยาบาลถูกคน ลดอัตราเสี่ยงและอันตรายที่จะเกิดแก่ตัวผู้ป่วย จากการรักษาและการ พยาบาลผิดพลาด

รูปแบบการศึกษา สถานที่ เชิงพรรณนา กลุ่มงานอุบัติเหตุฉุกเฉิน โรงพยาบาลลำพูน

กลุ่มตัวอย่าง ผู้รับบริการโรงพยาบาลลำพูน ระหว่างวันที่ 22 – 31 กรกฎาคม 2553 ผู้ป่วยที่ได้นอนโรงพยาบาล ระหว่างวันที่ 22 – 31 กรกฎาคม 2553 พยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานจริง ระหว่างวันที่ 22 – 31 กรกฎาคม 2553

เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ เป็นชุดแบบสอบถาม ประกอบด้วย 2 ส่วน คือ ส่วนที่ 1 แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล เป็นแบบสอบถามที่ ประกอบด้วยคำถามเกี่ยวกับข้อมูลส่วนบุคคล ได้แก่ เพศ สถานภาพสมรส วุฒิการศึกษา แบบสำรวจผู้มารับบริการที่ไม่ได้รับการติดป้ายข้างเตียง / ป้ายข้อมือ ส่วนที่ 2 แบบสัมภาษณ์เกี่ยวกับเหตุผลที่ไม่ได้ติดป้ายข้างเตียง / ป้าย ข้อมือ

วิธีการเก็บข้อมูล เก็บข้อมูลตัวอย่างจากผู้ที่มารับบริการที่ตึกอุบัติเหตุ ฉุกเฉิน โรงพยาบาลลำพูน ระหว่างวันที่ 22 – 31 กรกฎาคม 2553 เก็บข้อมูลจากการสัมภาษณ์พยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานที่ตึกอุบัติเหตุ ฉุกเฉิน โรงพยาบาลลำพูน ระหว่างวันที่ 22 – 31 กรกฎาคม 2553

สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล ใช้สถิติการคิดค่าร้อยละ

ผลการศึกษา ตารางที่ 1 จำนวนและร้อยละของผู้รับบริการและพยาบาลวิชาชีพปฏิบัติงาน ที่ตึกอุบัติเหตุ ฉุกเฉิน โรงพยาบาลลำพูน ระหว่างวันที่ 22 – 31 กรกฎาคม 2553 จำแนกตาม เพศ สถานภาพสมรส วุฒิ การศึกษา ข้อมูลส่วนบุคคล ผู้มารับบริการ ( N = 1208 ) พยาบาลวิชาชีพ ( N = 23 ) จำนวน ( คน ) ร้อยละ เพศ ชาย หญิง สถานภาพสมรส โสด คู่ หม้าย / หย่า วุฒิการศึกษา ประถมศึกษา มัธยมศึกษา ปริญญา 587 621 328 602 278 735 375 98 48.59 51.41 27.15 49.83 23.02 60.84 31.04 8.12 3 20 13 9 1 - 23 13.04 86.96 56.5 39.2 4.3 100

ผลการศึกษา ( ต่อ ) จากตารางที่ 1 ให้ผลการวิเคราะห์ข้อมูลส่วน บุคคลดังนี้ ผู้ที่มารับบริการที่ตึกอุบัติเหตุ ฉุกเฉิน โรงพยาบาลลำพูน ระหว่างวันที่ 22 – 31 กรกฎาคม 2553 ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง คิดเป็นร้อยละ 51.41 รองลงมาเป็น เพศชาย ร้อยละ 48.59 สถานภาพสมรสส่วนใหญ่เป็น สถานภาพคู่ คิดเป็นร้อยละ 49.83 รองลงมาเป็นสถานภาพ โสด ร้อยละ 21.15 น้อยที่สุดสถานภาพหม้าย / หย่า ร้อยละ 23.02 วุฒิการศึกษาส่วนใหญ่จบการศึกษาระดับประถม คิด เป็นร้อยละ 60.84 รองลงมาระดับมัธยม ร้อยละ 31.04 น้อย ที่สุดระดับปริญญา ร้อยละ 8.12

ผลการศึกษา ( ต่อ ) พยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานที่ตึกอุบัติเหตุ ฉุกเฉิน โรงพยาบาล ลำพูน ระหว่างวันที่ 22 – 31 กรกฎาคม 2553 ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง คิดเป็นร้อยละ 86.96 รองลงมาเป็นเพศชาย ร้อยละ 13.04 สถานภาพ สมรสส่วนใหญ่เป็นสถานภาพโสด คิดเป็นร้อยละ 56.50 รองลงมา เป็นสถานภาพคู่ ร้อยละ 39.20 น้อยที่สุดสถานภาพหม้าย / หย่า ร้อย ละ 4.30 วุฒิการศึกษาจบการศึกษาระดับปริญญาทั้งหมด

จำนวนผู้รับบริการทั้งหมด จำนวนผู้รับบริการที่ไม่ได้ติดป้ายข้างเตียง ผลการศึกษา ( ต่อ ) ตารางที่ 2 จำนวนและร้อยละของผู้รับบริการที่ตึกอุบัติเหตุ ฉุกเฉิน โรงพยาบาลลำพูนที่ ไม่ได้รับการติดป้ายข้างเตียง ระหว่างวันที่ 22 – 31 กรกฎาคม 2553 จากตารางที่ 2 ให้ผลการวิเคราะห์ข้อมูลส่วนบุคคลดังนี้ ผู้ที่มา รับบริการที่ตึกอุบัติเหตุ ฉุกเฉิน โรงพยาบาลลำพูนที่ไม่ได้รับการติด ป้ายข้างเตียง ระหว่างวันที่ 22 – 31 กรกฎาคม 2553 จำนวน 88 คน คิดเป็นร้อยละ 7.28 จำนวนผู้รับบริการทั้งหมด จำนวนผู้รับบริการที่ไม่ได้ติดป้ายข้างเตียง ร้อยละ 1208 88 7.28

จำนวนผู้ป่วยที่ไม่ได้ติดป้ายข้อมือ ผลการศึกษา ( ต่อ ) ตารางที่ 3 จำนวนและร้อยละของผู้ป่วยที่ได้นอนโรงพยาบาลในตึกอุบัติเหตุ ฉุกเฉิน โรงพยาบาลลำพูนที่ไม่ได้รับการติดป้ายข้อมือ ระหว่างวันที่ 22 – 31 กรกฎาคม 2553 จากตารางที่ 3 ให้ผลการวิเคราะห์ข้อมูลส่วนบุคคลดังนี้ ผู้ป่วยที่ได้นอนโรงพยาบาลในตึกอุบัติเหตุ ฉุกเฉิน โรงพยาบาล ลำพูนที่ไม่ได้รับการติดป้ายข้อมือ ระหว่างวันที่ 22 – 31 กรกฎาคม 2553 จำนวน 13 คน คิดเป็นร้อยละ 2.92 จำนวนผู้ป่วยทั้งหมด จำนวนผู้ป่วยที่ไม่ได้ติดป้ายข้อมือ ร้อยละ 445 13 2.92

ผลการศึกษา ( ต่อ ) แบบสอบถามโดยการสัมภาษณ์พยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงาน โดย ใช้คำถามปลายเปิดเกี่ยวกับเหตุผลที่ไม่ติดป้ายข้างเตียง / ข้อมือ กับผู้มา รับบริการ โดยได้คำตอบ ดังนี้ เจ้าหน้าที่ลืม คิดเป็นร้อยละ 35.48 ขณะนั้นมีผู้มารับบริการมาก หรือมีผู้ป่วยฉุกเฉินที่ต้องการรับการรักษา อย่างเร่งด่วนจึงไม่ได้ติดป้ายข้างเตียง คิดเป็นร้อยละ 33.45 เจ้าหน้าที่คาดว่าจะมีเจ้าหน้าที่คนอื่นไปติดแทน คิดเป็นร้อยละ 27.70 ป้ายข้างเตียงที่ติดไว้หลุดหาย ตกหาย คิดเป็นร้อยละ 3.40

สรุป การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงพรรณนา โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาการปฏิบัติตามแนวทางการ Identify ของหน่วยงานตึกอุบัติเหตุ ฉุกเฉิน โดยมีระยะเวลาในการเก็บรวบรวมข้อมูลของผู้รับบริการและ ผู้ป่วยระหว่างวันที่ 22 -31 กรกฎาคม 2553 กลุ่มตัวอย่างจำแนกตาม จำนวนผู้มารับบริการทั้งหมด 1208 คน จำนวนผู้ป่วยที่นอน โรงพยาบาลทั้งหมด 445 คน พบว่าผู้มารับบริการที่ไม่ได้ติดป้ายข้าง เตียงมีจำนวน 88 คน คิดเป็นร้อยละ 7.28 และจำนวนผู้ป่วยที่นอน โรงพยาบาลที่ไม่ได้ติดป้ายข้อมือมีจำนวน 13 คน คิดเป็นร้อยละ 2.92

สรุป ( ต่อ ) เจ้าหน้าที่ลืม คิดเป็นร้อยละ 35.48 จากการสัมภาษณ์พยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานโดยใช้คำถาม ปลายเปิดเกี่ยวกับเหตุผลที่ไม่ติดป้ายข้างเตียง / ข้อมือ กับผู้มารับบริการ โดยได้คำตอบ ดังนี้ เจ้าหน้าที่ลืม คิดเป็นร้อยละ 35.48 ขณะนั้นมีผู้มารับบริการมาก หรือมีผู้ป่วยฉุกเฉินที่ต้องการรับการรักษา อย่างเร่งด่วนจึงมาได้ติดป้ายข้างเตียง คิดเป็นร้อยละ 33.45 เจ้าหน้าที่คาดว่าจะมีเจ้าหน้าที่คนอื่นไปติดแทน คิดเป็นร้อยละ 27.70 ป้ายข้างเตียงที่ติดไว้หลุดหาย ตกหาย คิดเป็นร้อยละ 3.40

ข้อเสนอแนะ มีข้อเสนอแนะให้เป็นแนวทางในการปฏิบัติร่วมกันภายใน ตึกอุบัติเหตุ ฉุกเฉิน โดยนำแนวทาง Patient identify ของผู้ป่วย ในหน่วยงานตึกอุบัติเหตุและฉุกเฉินมาทบทวนแนวทางการ ปฏิบัติ และขอความร่วมมือให้เจ้าหน้าที่ที่ซักประวัติตึกอุบัติเหตุ และฉุกเฉินได้ปฏิบัติตามแนวทาง Patient Identify ของ หน่วยงานทุกราย

ข้อเสนอแนะ ( ต่อ ) โดยนำแนวทาง Patient identify ของผู้ป่วยในหน่วยงานตึก อุบัติเหตุและฉุกเฉินมาทบทวนแนวทางการปฏิบัติ และขอความ ร่วมมือให้เจ้าหน้าที่ที่ซักประวัติตึกอุบัติเหตุและฉุกเฉินได้ปฏิบัติตาม แนวทาง Patient Identify ของหน่วยงานทุกราย โดยสอบถามข้อมูล ชื่อ – สกุลของผู้ป่วยให้ชัดเจนตรงตามเวชระเบียน และสำรวจว่าป้าย ข้างเตียงติดแน่น ไม่เลื่อนหลุด

ข้อเสนอแนะ ( ต่อ ) ส่วนเจ้าหน้าที่ที่ให้ผู้ป่วย / ญาติเซ็นยินยอมนอนโรงพยาบาล จะต้องติดป้ายข้อมือผู้ป่วย โดยต้องตรวจสอบชื่อ – สกุล อายุ เพศ HN และWard ที่ Admit ว่าถูกต้องตรงกับเวชระเบียนของผู้ป่วย การเลือก ป้ายข้อมือ ผู้หญิงใช้ป้ายข้อมือสีชมพู ผู้ชายจะใช้ป้ายข้อมือสีฟ้า การ เขียน / ติดสติ๊กเกอร์ ควรเขียน / แปะให้ชัดเจน ไม่เลอะเทอะ / เลื่อน หลุด เจ้าหน้าที่ที่จะติดป้ายข้อมือ ก่อนติดป้ายต้องมีการขออนุญาตผู้ป่วย อธิบายความสำคัญของการติดป้ายข้อมือ กรณีที่ผู้ป่วยไม่รู้สึกตัวต้อง สอบถามญาติก่อนติดป้ายข้อมือ โดยอ่านชื่อ – สกุล ให้ชัดเจน การ เลือกติดป้ายข้อมือในผู้ป่วยทั่วไปให้ติดข้อมือขวา แต่ผู้ป่วย Trauma ให้ ติดข้างที่มีพยาธิสภาพข้างนั้น

ข้อเสนอแนะ ( ต่อ ) การขอความร่วมมือจากเจ้าหน้าที่ศูนย์เปล ก่อนนำผู้ป่วยออก จากตึกอุบัติเหตุ – ฉุกเฉินให้ตรวจสอบเวชระเบียน ป้ายข้อมือ พร้อม สอบถามชื่อ – สกุล จากตัวผู้ป่วยเองหรือญาติทุกครั้ง เพื่อป้องกันการ นำผู้ป่วยไปผิดคน

จากตึกอุบัติเหตุ – ฉุกเฉิน ....ขอบคุณคะ.... จากตึกอุบัติเหตุ – ฉุกเฉิน โรงพยาบาลลำพูน