การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน Internal Quality Assurance

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เกณฑ์การประเมินของ สกว.
Advertisements

ACM คืออะไร หน้าจอหลัก
การตรวจสอบภายในที่ไม่ใช่การจับผิด ทำอย่างไร ?
การใช้งานฐานข้อมูล ACM Digital Library
สมาคมรัฐศาสตร์แห่งประเทศไทย คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
1. เข้าเว็บ scopus ( ตาม web address ของแต่ละมหาวิทยาลัยที่บอกรับเป็นสมาชิก )
การใช้งานฐานข้อมูล ACM Digital Library
ปรับปรุงล่าสุด 20/01/53 สรุป ACM Digital Library โดย... จิรวัฒน์ พรหมพร แผนกสนับสนุนฝ่ายทรัพยากร อิเล็กทรอนิกส์ทางการศึกษา บริษัท บุ๊ค.
โดย จิรวัฒน์ พรหม พร บริษัท บุ๊ค โปรโมชั่น แอนด์ เซอร์วิส จำกัด โครงการพัฒนาเครือข่ายระบบห้องสมุด ในประเทศไทย (ThaiLIS) ปรับปรุงครั้งล่าสุด.
ASEAN University Network - Quality Assurance
งานจัดหาสารสนเทศและ ทรัพยากรสารสนเทศ Grey Literature เอกสารที่ไม่มีการพิมพ์ เผยแพร่
การตรวจสอบบทความ จากฐานข้อมูล
การประเมินคุณภาพของ สำนักงานกองทุนสนับสนุน การวิจัย ( สกว.) ครั้งที่ 3 สาขาเทคโนโลยีสิ่งแวดล้อม.
การประเมินผลงาน เพื่อ เลื่อนระดับชำนาญ การ และ การขอรับเงินประจำ ตำแหน่ง.
องค์ประกอบที่ 1 หลักสูตร องค์ประกอบที่ 1 หลักสูตร “หลักสูตรผลิตครู 5 ปี ให้เป็นวิชาชีพชั้นสูง เป็นหลักสูตรที่ได้ มาตรฐานวิชาการ และมาตรฐานวิชาชีพครู
การประเมินและการประกันคุณภาพการศึกษาแนวใหม่
การเขียนเอกสารประจำภาค/เอกสารวิจัย การเขียนเอกสารโครงเรื่องวิจัย
การเขียนจดหมายธุรกิจ
การเขียน Concept Paper & Full Proposal
การประเมินคุณภาพภายนอก รอบสี่ (พ.ศ
แหล่งสารสนเทศ ดร.นฤมล รักษาสุข.
หน่วยงานที่ 2 บัณฑิตวิทยาลัย เวลา น. Process Key factor คำถาม (1) มีแนวทางและวิธีการอย่างไรในการส่งมอบผลิตภัณฑ์หลักและ/หรือ บริการหลักที่เราส่งมอบให้กับลูกค้าของเรา.
Power Point ประกอบการจัดการเรียนรู้
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ “ก.พ.อ. 03 : ก้าวแรกสู่ตำแหน่งทางวิชาการ”
“แนวทางการเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการ”
ประเมินการวิจัย ดร.บรินดา สัณหฉวี.
การบริหารจัดการโครงการวิจัย Research Project Management
การประเมินผลงานวิชาการ และการขอรับเงิน พ.ต.ก.
หลักการและแนวทางการดำเนินการประกันคุณภาพ
แหล่งสารสนเทศ ดร.นฤมล รักษาสุข.
การเขียนเอกสารประจำภาค/เอกสารวิจัย การเขียนเอกสารแนวความคิดในการวิจัย
รายวิชา Scientific Learning Skills
เอกสารบรรยายเกี่ยวกับข้อบังคับฯ ระดับบัณฑิตศึกษา
กรอบแนวคิดในการพัฒนา มาตรฐานการจัดบริการอาชีวอนามัย
การจัดการศูนย์สารสนเทศ หน่วยที่ 11 การประกันคุณภาพในศูนย์สารสนเทศ
การจัดการศูนย์สารสนเทศ หน่วยที่ 10 การประกันคุณภาพในศูนย์สารสนเทศ
การทวนสอบและการกำหนดมาตรฐานการเรียนรู้ ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา
หลักเกณฑ์การประเมินผลงานวิชาการ กลุ่มงานประเมินบุคคลและวิชาการ
ผลงานวิชาการรับใช้สังคม และการขอตำแหน่งทางวิชาการ
มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินผลด้านคุณธรรมและความโปร่งใส
แนวทางการตรวจนิเทศงานสาธารณสุขผสมผสาน การประเมินผล การปฏิบัติราชการRanking นำสู่ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๐.
ประกาศ มหาวิทยาลัยมหิดล (มีผลตั้งแต่วันที่ 1 กรกฎาคม 2556)
วิชา กฎหมายพื้นฐานเพื่อคุณภาพชีวิต
รายละเอียดตัวบ่งชี้และเกณฑ์การประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับหลักสูตร
การเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ
ความก้าวหน้าการขับเคลื่อน งานวิชาการและนวัตกรรม กรมอนามัยปี ๒๕๖๑
หลักเกณฑ์การประเมินผลงานวิชาการ กลุ่มงานประเมินบุคคลและวิชาการ
รายวิชา Scientific Learning Skills
โดย สมพิศ จันทรเมฆินทร์ นักพัฒนาทรัพยากรบุคคล 7
การตรวจสอบเอกสารเกี่ยวกับ
(ร่าง) ตัวบ่งชี้และ เกณฑ์การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสี่ ระดับอุดมศึกษา
การใช้งานฐานข้อมูล ACM Digital Library
นพ.ชลทิศ อุไรฤกษ์กุล 16 ธ.ค.58
การถอดบทเรียน แนวทางการจัดทำวิจัย เพื่อประเมินผลสัมฤทธิ์ผู้เรียน ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ (TQF)
การดำเนินการปรับปรุงหลักสูตรระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2554
Homepage.
การควบคุม (Controlling)
การขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการ
แบบฟอร์มการนำเสนอหลักสูตร มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย
ความผิดวินัยทางงบประมาณและการคลังมีอัตราโทษปรับทางการปกครอง 4 ชั้นคือ
รองศาสตราจารย์ สนิท สัตโยภาส
โรงพยาบาลจันทรุเบกษา
ด้านการประกันคุณภาพการศึกษา
การดำเนินงานตามนโยบายปฏิรูป ระบบการประกันคุณภาพการศึกษา
ข้อมูลการระดมความคิดเห็นต่อ การเปิดสอนหลักสูตรปริญญาโท แผน ข
การรายงานผลการดำเนินงาน
แผนงานประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน ภายหลังปี 2558 ( )
แบบประเมินผลการปฏิบัติราชการและสิทธิประโยชน์ของบุคลากร สายวิชาการ
การจัดการความรู้ เรื่อง การเขียนบทความวิจัยให้มีคุณภาพ
การส่งผลงานวิชาการ เพื่อตีพิมพ์เผยแพร่ในวารสารวิชาการ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน Internal Quality Assurance ดัดแปลงพลเรือตรี หญิง ดร สุภัทรา เอื้อวงศ์

เกี่ยวข้องกับ เอกสารชุดนี้ อิงเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรตามคู่มือประกันคุณภาพการศึกษาภายใน 2557

ระดับการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน แบ่งเป็น 3 ระดับ ซึ่งส่งผลต่อเนื่องกันในองค์ประกอบที่ 1ของระดับต่อไป ระดับหลักสูตร (14 ตัวบ่งชี้ (1+13)) ระดับการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับคณะวิชา (13 ตัวบ่งชี้) ระดับสถาบัน (13 ตัวบ่งชี้)

ระดับหลักสูตร ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ ครอบคลุมเรื่องการส่งเสริม พัฒนานักศึกษา การวางระบบ กระบวนการจัดการเรียนการสอน จำนวนอาจารย์ต่อนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ผลงานวิชาการ ผลงานวิจัยของคณาจารย์ สื่ออุปกรณ์การเรียนการสอน ห้องสมุดและแหล่งการเรียนรู้ต่างๆ การดำเนินการตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ รวมทั้งคุณภาพบัณฑิต ซึ่งแบ่งเป็น 6 องค์ประกอบ 1.การกำกับมาตรฐาน 2. บัณฑิต 3. นักศึกษา 4. อาจารย์ 5. หลักสูตรการเรียนการสอนและการประเมินผู้เรียน 6. สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้

การทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม การบริหารจัดการ ระดับคณะ ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ ครอบคลุมการดำเนินงานของคณะ เพื่อสนับสนุนการจัดการเรียนการสอนของแต่ละหลักสูตรที่คณะดูแล รวมทั้งกิจกรรมนักศึกษา การบริการนักศึกษา การให้บริการทางวิชาการ การวิจัย การบริหารจัดการและการประกันคุณภาพของคณะ ประกอบด้วย 5 องค์ประกอบ การผลิตบัณฑิต การวิจัย การบริการวิชาการ การทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม การบริหารจัดการ

ระดับสถาบัน การผลิตบัณฑิต การวิจัย การบริการวิชาการ องค์ประกอบเหมือนกันระดับคณะ แต่ มีตัวบ่งชี้ที่แตกต่างกันในบางเรื่อง รวม ทั้งเกณฑ์การประเมิน การผลิตบัณฑิต การวิจัย การบริการวิชาการ การทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม การบริหารจัดการ

ตัวบ่งชี้ ระดับหลักสูตร ตัวบ่งชี้ ระดับหลักสูตร

ตัวบ่งชี้ระดับหลักสูตร ป.ตรี (3) ตัวบ่งชี้มาตรฐาน (1 ตัวบ่งชี้) ป.บัณฑิต ป.โท (11) ตัวบ่งชี้ระดับหลักสูตร (14 ตัวบ่งชี้) ป.เอก (11) ตัวบ่งชี้พัฒนา (13 ตัวบ่งชี้)

อธิบายกระบวนการแสดงหรือแสดงผลการดำเนินงานในประเด็นที่เกี่ยวข้อง องค์ประกอบที่1.การกำกับมาตรฐาน ตัวบ่งชี้ อธิบายกระบวนการแสดงหรือแสดงผลการดำเนินงานในประเด็นที่เกี่ยวข้อง 1.1 การบริหารจัดการหลักสูตรตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรที่กำหนดใน สกอ. ผลการบริหารจัดการหลักสูตรตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร 2548 และกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พศ 2552

เกณฑ์ตัวบ่งชี้มาตรฐาน ป.ตรี ป.บัณฑิต โท ป.เอก 1.จำนวนอาจารย์ประจำหลักสูตร (≥5 คน) เป็นเกินกว่า 1 หลักสูตรไม่ได้ (ยกเว้น ป.โท และ ป.เอกสาขาเดียวกัน) ประจำหลักสูตรตลอดระยะเวลาที่จัดการศึกษา 2. คุณสมบัติอาจารย์ประจำหลักสูตร (5 คน) ป.โทหรือผ.ศ.ตรงที่ตรง หรือ สัมพันธ์กับสาขา≥2 เป็นอาจารย์รับผิดชอบหลักสูตร หรือ ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ หรือผู้สอบ หรือผู้สอน 3. คุณสมบัติอาจารย์ ที่รับผิดชอบหลักสูตร (3 คน) ป.เอก หรือ รศ.สาขาที่ตรงหรือสัมพันธ์ ≥3 ป.เอก หรือ ศ. สาขาที่ตรงหรือสัมพันธ์ ≥3 4. คุณสมบัติอาจารย์ผู้สอน มีประสบฯ การสอน /วิจัย อ.ประจำหรืออ.พิเศษ ป.โท หรือ ผศ. > มีประสบฯ การสอน /วิจัย อ.ประจำหรืออ.พิเศษ ป.เอก หรือ รศ.> มีประสบฯ การสอน /วิจัย 5. คุณสมบัติอาจารย์ ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์หลัก อ.ประจำ ป.เอก หรือ ≥รศ. ,ประสบฯ วิจัย อ.ประจำ ป.เอก หรือ รศ.> , ประสบฯ วิจัย 6. คุณสมบัติอาจารย์ ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ร่วม อ.ประจำ หรือผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก ป.เอก หรือ≥รศ., ที่ตรงหรือสัมพันธ์ , มีประสบฯ วิจัย

เกณฑ์ตัวบ่งชี้มาตรฐาน ป.ตรี ป.บัณฑิต โท ป.เอก 7. คุณสมบัติของอาจารย์ผู้สอบวิทยานิพนธ์ อ.ประจำ และ ผู้ทรงคุณวุฒิ ป.เอก หรือ ≥รศ. , ที่ตรงหรือสัมพันธ์ มีประสบฯ วิจัย 8.การตีพิมพ์เผยแพร่ผลงานของผู้สำเร็จการศึกษา วารสาร สิ่งพิมพ์วิชาการ(Proceeding) วารสารวิชาการ ที่มี Peer Review 9. ภาระงานอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ วิทยานิพนธ์ 1 ต่อ 5, สาระนิพนธ์/ค้นคว้าอิสระ 1ต่อ 15 (มากกว่าต้องขออนุญาตสภา) 10. อาจารย์ที่ปรึกษา มีผลงานวิจัยอย่างต่อเนื่อง งานวิจัย 1 เรื่อง ในรอบ 5 ปี (ไม่ใช่งานผลงานของนักศึกษา) 11. การปรับปรุงหลักสูตร ปรับปรุง/อนุมัติจากสภาฯ ไม่เกิน 5 ปี เพื่อใช้งานปีที่ 6 12. ผลการดำเนินงาน เพื่อประกันคุณภาพหลักสูตร ตาม มคอ 2 และตัวบ่งชี้ TQF ข้อ 1-5 ต้องดำเนินการทุกข้อ

ตัวบ่งชี้ TQF อาจารย์ประจำหลักสูตรอย่างน้อยร้อยละ 80 มีส่วนร่วมในการประชุม เพื่อวางแผน ติดตาม และทบทวนการดำเนินงานหลักสูตร มีรายละเอียดของหลักสูตร ตามแบบ มคอ. 2 มีรายละเอียดของรายวิชา ตามแบบ มคอ. 3 และ มคอ. 4 อย่างน้อยก่อน การเปิดสอนในแต่ละภาคการศึกษา ครบทุกรายวิชา จัดทำรายงานผลการดำเนินการของรายวิชา ตามแบบ มคอ. 5 และ มคอ. 6 ภายใน 30 วัน หลังสิ้นสุดภาคการศึกษาที่เปิดสอน ครบทุกรายวิชา จัดทำรายงานผลการดำเนินการของหลักสูตร ตามแบบ มคอ. 7 ภายใน 60 วัน หลังปีการศึกษา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ที่กำหนดใน มคอ. 3 และ มคอ. 4 อย่างน้อยร้อยละ 25 ของรายวิชาที่เปิดสอนในแต่ละปีการศึกษา

ตัวบ่งชี้ TQF มีการพัฒนา / ปรับปรุงการจัดการเรียนการสอน กลยุทธ์การสอน หรือการ ประเมินผลการเรียนรู้ จากผลการประเมินการดำเนินงานที่รายงานใน มคอ. 7 ปีที่แล้ว อาจารย์ใหม่ทุกคน ได้รับการปฐมนิเทศ หรือคำแนะนำด้านการจัดการเรียน การสอน อาจารย์ประจำทุกคน ได้รับการพัฒนาทางวิชาการ และ/หรือวิชาชีพ อย่างน้อยปีละหนึ่งครั้ง บุคลากรสายสนับสนุนได้รับการพัฒนาวิชาการและ/หรือวิชาชีพ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 50 ต่อปี ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาปีสุดท้าย / บัณฑิตใหม่ที่มีต่อคุณภาพหลักสูตรเฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.50 จากคะแนนเต็ม 5 ระดับความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตใหม่ที่มีต่อบัณฑิตใหม่ เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.50 จากคะแนนเต็ม 5

องค์ประกอบที่ 2-6 ปัจจัยนำเข้า (7) ตัวบ่งชี้พัฒนา (13) กระบวนการ (4) ผลลัพธ์ (2)

องค์ประกอบที่ 2 บัณฑิต ตัวบ่งชี้ที่ 2.1 คุณภาพของบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา แห่งชาติ ตัวบ่งชี้ที่ 2.2 (ปริญญาตรี) ร้อยละของบัณฑิตที่ได้งานทำหรือประกอบอาชีพ อิสระภายใน 1 ปี ตัวบ่งชี้ที่ 2.2 (ปริญญาโท) ผลงานของนักศึกษาและผู้สำเร็จการศึกษา ในระดับปริญญาโทที่ได้รับการตีพิมพ์หรือเผยแพร่ ตัวบ่งชี้ที่ 2.2 (ปริญญาเอก) ผลงานของนักศึกษาและผู้สำเร็จการศึกษา ในระดับปริญญาเอกที่ได้รับการตีพิมพ์หรือเผยแพร่ ประกอบอาชีพอิสระ ภายใน 1 ปี

ตัวบ่งชี้ 2.1 คุณภาพของบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ 1. ด้านคุณธรรมจริยธรรม 2. ด้านความรู้ TQF 3. ด้านทักษะทางปัญญา 4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข ผลรวมของค่าคะแนนที่ได้จากการประเมินบัณฑิต จำนวนบัณฑิตที่ได้รับการประเมินทั้งหมด (>20ของบัณฑิตที่สำเร็จ )

ตัวบ่งชี้ที่ 2.2(ปริญญาตรี) ร้อยละของบัณฑิตที่ได้งานทำหรือ ตัวบ่งชี้ที่ 2.2(ปริญญาตรี) ร้อยละของบัณฑิตที่ได้งานทำหรือ ประกอบอาชีพอิสระ ภายใน 1 ปี จำนวนบัณฑิตปริญญาตรีที่ได้งานทำหรือประกอบอาอชีพอิสระภายใน1 ปี จำนวนบัณฑิตที่ตอบแบบสอบถามทั้งหมด × 100 - ร้อยละ 100 เท่ากับ 5 ผู้ตอบต้องไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 ของผู้สำเร็จ การศึกษา การมีงานทำนับกรณีการทำงานสุจริตทุกประเภทที่สามารถสร้างรายได้เข้ามาเป็นประจำเพื่อเลี้ยงชีพตนเอง

ตัวบ่งชี้ที่ 2.2 (ปริญญาโท) ผลงานของนักศึกษาและผู้สำเร็จการศึกษา ตัวบ่งชี้ที่ 2.2 (ปริญญาโท) ผลงานของนักศึกษาและผู้สำเร็จการศึกษา ในระดับปริญญาโทที่ได้รับการตีพิมพ์หรือเผยแพร่ ผลรวมถ่วงน้ำหนักของผลงานที่ตีพิมพ์หรือเผยแพร่ของนักศึกษาและผู้สำเร็จการศึกษระดับปริญญาโท จำนวนผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโททั้งหมด × 100 ร้อยละ 40 เท่ากับ 5

ตัวบ่งชี้ที่ 2.2 (ปริญญาเอก) ผลงานของนักศึกษาและผู้สำเร็จการศึกษา ตัวบ่งชี้ที่ 2.2 (ปริญญาเอก) ผลงานของนักศึกษาและผู้สำเร็จการศึกษา ในระดับปริญญาเอกที่ได้รับการตีพิมพ์หรือเผยแพร่ ผลรวมถ่วงน้ำหนักของผลงานที่ตีพิมพ์หรือเผยแพร่ของนักศึกษาและผู้สำเร็จการศึกษระดับปริญญาเอก จำนวนผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอกทั้งหมด × 100 ร้อยละ 80 เท่ากับ 5

องค์ประกอบที่ 3 นักศึกษา ตัวบ่งชี้ที่ 3.1 การรับนักศึกษา ตัวบ่งชี้ที่ 3.2 การส่งเสริมและพัฒนานักศึกษานักศึกษา ตัวบ่งชี้ที่ 3.3 ผลที่เกิดกับนักศึกษา

ตัวบ่งชี้ที่ 3.1 การรับนักศึกษา ตัวบ่งชี้ที่ 3.1 การรับนักศึกษา การรับนักศึกษา การเตรียมความพร้อมก่อนเข้าศึกษา เกณฑ์การประเมิน ไม่มีระบบ ไม่มีกลไก ไม่มีแนวคิดในการกำกับ ติดตาม ปรับปรุง ไม่มีข้อมูลหลักฐาน 1 มีระบบ มีกลไก ไม่มีการนำระบบและกลไกไปสู่การปฏิบัติ/การดำเนินงาน 2 มีระบบ มีกลไก มีการนำระบบกลไกไปสู่การปฏิบัติ/การดำเนินงานมีการประเมิน ไม่มีการปรับปรุง/พัฒนา/บูรณาการจากผลการประเมิน 3 มีระบบ มีกลไก มีการนำระบบกลไกไปสู่การปฏิบัติ/การดำเนินงานมีการประเมิน มีการปรับปรุง/พัฒนา/บูรณาการจากผลการประเมิน 4 มีครบในข้อ 3 มีผลจากการปรับปรุงเห็นชัดเป็นรูปธรรม 5 มีการดำเนินการใน 4 และมีแนวทางปฏิบัติ โดยมีหลักฐานเชิงประจักษ์ยืนยัน และกรรมการผู้ประเมินสามารถให้เหตุผลอธิบาย เป็นแนวปฏิบัติที่ดีได้ชัดเจน

ตัวบ่งชี้ที่ 3.1 การรับนักศึกษา ตัวบ่งชี้ที่ 3.1 การรับนักศึกษา การรับนักศึกษา การเตรียมความพร้อมก่อนเข้าศึกษา เกณฑ์การประเมิน ไม่มีระบบ ไม่มีกลไก ไม่มีแนวคิดในการกำกับ ติดตาม ปรับปรุง ไม่มีข้อมูลหลักฐาน 1 มีระบบ มีกลไก ไม่มีการนำระบบและกลไกไปสู่การปฏิบัติ/การดำเนินงาน 2 มีระบบ มีกลไก มีการนำระบบกลไกไปสู่การปฏิบัติ/การดำเนินงานมีการประเมิน ไม่มีการปรับปรุง/พัฒนา/บูรณาการจากผลการประเมิน 3 มีระบบ มีกลไก มีการนำระบบกลไกไปสู่การปฏิบัติ/การดำเนินงานมีการประเมิน มีการปรับปรุง/พัฒนา/บูรณาการจากผลการประเมิน 4 มีครบในข้อ 3 มีผลจากการปรับปรุงเห็นชัดเป็นรูปธรรม 5 มีการดำเนินการใน 4 และมีแนวทางปฏิบัติ โดยมีหลักฐานเชิงประจักษ์ยืนยัน และกรรมการผู้ประเมินสามารถให้เหตุผลอธิบาย เป็นแนวปฏิบัติที่ดีได้ชัดเจน

ตัวบ่งชี้ที่ 3.2 การส่งเสริมและพัฒนานักศึกษานักศึกษา ตัวบ่งชี้ที่ 3.2 การส่งเสริมและพัฒนานักศึกษานักศึกษา การควบคุมการดูแลการให้คำปรึกษาวิชาการและแนะแนวแก่นักศึกษาปริญญาตรี การควบคุมดูแลการให้คำปรึกษาวิทยานิพนธ์แก่บัณฑิตศึกษา การพัฒนาศักยภาพแก่นักศึกษาและการเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษ 21 เกณฑ์การประเมิน ไม่มีระบบ ไม่มีกลไก ไม่มีแนวคิดในการกำกับ ติดตาม ปรับปรุง ไม่มีข้อมูลหลักฐาน 1 มีระบบ มีกลไก ไม่มีการนำระบบและกลไกไปสู่การปฏิบัติ/การดำเนินงาน 2 มีระบบ มีกลไก มีการนำระบบกลไกไปสู่การปฏิบัติ/การดำเนินงานมีการประเมิน ไม่มีการปรับปรุง/พัฒนา/บูรณาการจากผลการประเมิน 3 มีระบบ มีกลไก มีการนำระบบกลไกไปสู่การปฏิบัติ/การดำเนินงานมีการประเมิน มีการปรับปรุง/พัฒนา/บูรณาการจากผลการประเมิน 4 มีครบในข้อ 3 มีผลจากการปรับปรุงเห็นชัดเป็นรูปธรรม 5 มีการดำเนินการใน 4 และมีแนวทางปฏิบัติ โดยมีหลักฐานเชิงประจักษ์ยืนยัน และกรรมการผู้ประเมินสามารถให้เหตุผลอธิบาย เป็นแนวปฏิบัติที่ดีได้ชัดเจน

ผลที่เกิดกับนักศึกษา ตัวบ่งชี้ที่ 3.3 ผลที่เกิดกับนักศึกษา การคงอยู่ การสำเร็จการศึกษา ความพึงพอใจและผลการจัดการข้อร้องเรียนของนักศึกษา เกณฑ์การประเมิน ไม่มีการรายงานผลการดำเนินงาน 1 มีการรายเสนอผลการดำเนินงานในบางเรื่อง 2 มีการรายเสนอผลการดำเนินงานครบทุกเรื่องตามคำอธิบายในตัวบ่งชี้ 3 มีแนวโน้มผลการดำเนินงานที่ดีขึ้นในบางเรือง 4 มีแนวโน้มผลการดำเนินงานที่ดีขึ้นในทุกเรื่อง 5 มีครบตาม ข้อ 4 และมีผลการดำเนินงานที่เป็นเลิศ/โดดเด่นโดยเทียบเคียงกับหลักสูตรนั้นๆในสถาบันกลุ่มเดียวกันที่เหมาะสมหรือได้รับรางวัลระดับชาติหรือนานาชาติ

องค์ประกอบที่ 4 อาจารย์ ตัวบ่งชี้ที่ 4.1 การบริหารและการพัฒนาอาจารย์ ตัวบ่งชี้ที่ 4.2 คุณภาพอาจารย์ ตัวบ่งชี้ที่ 4.3 ผลที่เกิดกับอาจารย์

ตัวบ่งชี้ที่ 4.1 การบริหาร และการพัฒนาอาจารย์ ระบบการรับและการแต่งตั้งอาจารย์ประจำหลักสูตร ระบบการบริหารอาจารย์ ระบบการส่งเสริมและพัฒนาอาจารย์ เกณฑ์การประเมิน ไม่มีระบบ ไม่มีกลไก ไม่มีแนวคิดในการกำกับ ติดตาม ปรับปรุง ไม่มีข้อมูลหลักฐาน 1 มีระบบ มีกลไก ไม่มีการนำระบบและกลไกไปสู่การปฏิบัติ/การดำเนินงาน 2 มีระบบ มีกลไก มีการนำระบบกลไกไปสู่การปฏิบัติ/การดำเนินงานมีการประเมิน ไม่มีการปรับปรุง/พัฒนา/บูรณาการจากผลการประเมิน 3 มีระบบ มีกลไก มีการนำระบบกลไกไปสู่การปฏิบัติ/การดำเนินงานมีการประเมิน มีการปรับปรุง/พัฒนา/บูรณาการจากผลการประเมิน 4 มีครบในข้อ 3 มีผลจากการปรับปรุงเห็นชัดเป็นรูปธรรม 5 มีการดำเนินการใน 4 และมีแนวทางปฏิบัติ โดยมีหลักฐานเชิงประจักษ์ยืนยัน และกรรมการผู้ประเมินสามารถให้เหตุผลอธิบาย เป็นแนวปฏิบัติที่ดีได้ชัดเจน

ตัวบ่งชี้ที่ 4.2 คุณภาพอาจารย์ ร้อยละของอาจารย์ประจำหลักสูตรที่มีวุฒิปริญญาเอก ร้อยละของอาจารย์ประจำหลักสูตรที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ประจำหลักสูตร จำนวนบทความของอาจารย์ประจำหลักสูตรปริญญาเอกที่ได้รับการอ้างอิงในฐานข้อมูล TCI และ Scopus ต่อจำนวนอาจารย์ประจำ พลเรือตรี หญิง ดร สุภัทรา เอื้อวงศ์

ร้อยละของอาจารย์ประจำหลักสูตรที่มีวุฒิปริญญาเอก ตัวบ่งชี้ที่ 4.2 คุณภาพอาจารย์ ร้อยละของอาจารย์ประจำหลักสูตรที่มีวุฒิปริญญาเอก ร้อยละ = จำนวนอาจารย์หลักสูตรที่มีวุฒิปริญญาเอก จำนวนอาจารย์ประจำหลักสูตรทั้งหมด ปริญญาตรี ร้อยละ 20 = 5 เกณฑ์การประเมิน ปริญญาโท ร้อยละ 60 = 5 ปริญญาเอก ร้อยละ 100 = 5

ร้อยละของอาจารย์ประจำหลักสูตรที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ ตัวบ่งชี้ที่ 4.2 คุณภาพอาจารย์ ร้อยละของอาจารย์ประจำหลักสูตรที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ ร้อยละ = จำนวนอาจารย์หลักสูตรที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ จำนวนอาจารย์ประจำหลักสูตรทั้งหมด ปริญญาตรี ร้อยละ 60 = 5 เกณฑ์การประเมิน ปริญญาโท ร้อยละ 80= 5 ปริญญาเอก ร้อยละ 100 = 5

ตัวบ่งชี้ที่ 4.2 คุณภาพอาจารย์ ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ประจำหลักสูตร ผลรวมถ่วงน้ำหนักของผลงานทางวิชาการของอาจารย์ประจำหลักสูตร จำนวนอาจารย์ประจำหลักสูตรทั้งหมด × 100 ปริญญาตรี ร้อยละ 20 = 5 เกณฑ์การประเมิน ปริญญาโท ร้อยละ 40= 5 ปริญญาเอก ร้อยละ 60 = 5

จำนวนบทความที่ได้รับการอ้างอิง จำนวนอาจารย์ประจำสังกัดหลักสูตรทั้งหมด ตัวบ่งชี้ที่ 4.2 จำนวนบทความของอาจารย์ประจำหลักสูตรปริญญาเอกที่ได้รับการอ้างอิงในฐานข้อมูล TCI และ Scopus ต่อจำนวนอาจารย์ประจำ จำนวนบทความที่ได้รับการอ้างอิง จำนวนอาจารย์ประจำสังกัดหลักสูตรทั้งหมด วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 2.5 = 5 วิทยาศาสตร์สุขภาพ ร้อยละ 3.0 = 5 เกณฑ์การประเมิน มนุษยศาสตร์ และสังคมศาสตร์ ร้อยละ0.25 = 5

ระดับคุณภาพ ค่าน้ำหนัก ระดับคุณภาพงานวิจัย หรือ บทความทางวิชาการ หรือผลงานจดสิทธิบัตร 0.20 - บทความวิจัย หรือ บทความวิชาการ ตีพิมพ์ในรายงานประชุมวิชาการระดับชาติ 0.40 - บทความวิจัย หรือ บทความวิชาการ ตีพิมพ์ในรายงานประชุมวิชาการระดับนานาชาติ หรือ ในวารสารวิชาการที่ไม่อยู่ในประกาศของ สกอ. (สถาบันนำเสนอสภาฯ อนุมัติ) 0.60 - บทความวิจัย หรือ บทความวิชาการ ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการที่ปรากฏในฐานข้อมูล TCI (กลุ่ม 2) หรือ ผลงานได้รับจดอนุสิทธิบัตร 0.80 - บทความวิจัย หรือ บทความวิชาการ ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติ หรือ ที่ปรากฏในฐานข้อมูล TCI (กลุ่ม 1) 1.00 - บทความวิจัย หรือ บทความวิชาการ ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติที่ปรากฏในฐานข้อมูลระดับนานาชาติตามระเบียบของ สกอ. - ผลงานได้รับจดสิทธิบัตร - ผลงานวิชาการรับใช้สังคมที่ผ่านการประเมินตำแหน่งวิชาการแล้ว - ผลงานวิจัยที่หน่วยงาน หรือ องค์กรระดับนานาชาติว่าจ้างให้ดำเนินการ - ผลงานค้นพบพันธุ์พืช พันธุ์สัตว์ ที่ค้นพบใหม่และได้รับการจดทะเบียน - ตำรา หรือ หนังสือที่ผ่านการประเมินตำแหน่งทางวิชาการแล้ว

การเผยแพร่ผลงานในที่ประชุมวิชาการระดับชาติ หมายถึง การนำเสนอบทความวิจัยในที่ประชุมและบทความฉบับสมบูรณ์ (Full Paper) ได้รับการตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการ (Proceedings) ระดับชาติ ที่มีกองบรรณาธิการ ประกอบด้วย ศาสตราจารย์ หรือ ผู้ทรงคุณวุฒิระดับปริญญาเอกนอกสถาบันเจ้าภาพ อย่างน้อยร้อยละ 25 และต้องมีผลงานจากภายนอก อย่างน้อยร้อยละ 25 การเผยแพร่ผลงานในที่ประชุมวิชาการระดับนานาชาติ หมายถึง การนำเสนอบทความวิจัยในที่ประชุมและบทความฉบับสมบูรณ์ (Full Paper) ได้รับการตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการ (Proceedings) ระดับนานาชาติ ที่มีกองบรรณาธิการ ประกอบด้วย ศาสตราจารย์ หรือ ผู้ทรงคุณวุฒิระดับปริญญาเอกจากต่างประเทศ อย่างน้อยร้อยละ 25

ตัวบ่งชี้ที่ 4.3 ผลที่เกิดกับอาจารย์ การคงอยู่ของอาจารย์ ตัวบ่งชี้ที่ 4.3 ผลที่เกิดกับอาจารย์ การคงอยู่ของอาจารย์ ความพึงพอใจของอาจารย์ เกณฑ์การประเมิน ไม่มีการรายงานผลการดำเนินงาน 1 มีการรายเสนอผลการดำเนินงานในบางเรื่อง 2 มีการรายเสนอผลการดำเนินงานครบทุกเรื่องตามคำอธิบายในตัวบ่งชี้ 3 มีแนวโน้มผลการดำเนินงานที่ดีขึ้นในบางเรือง 4 มีแนวโน้มผลการดำเนินงานที่ดีขึ้นในทุกเรื่อง 5 มีครบตาม ข้อ 4 และมีผลการดำเนินงานที่เป็นเลิศ/โดดเด่นโดยเทียบเคียงกับหลักสูตรนั้นๆในสถาบันกลุ่มเดียวกันที่เหมาะสมหรือได้รับรางวัลระดับชาติหรือนานาชาติ

องค์ประกอบที่ 5 หลักสูตร การเรียนการสอน การประเมินผู้เรียน ตัวบ่งชี้ที่ 5.1 สาระของรายวิชาในหลักสูตร ตัวบ่งชี้ที่ 5.2 การวางระบบผู้สอนและกระบวนการจัดการเรียนการสอน ตัวบ่งชี้ที่ 5.3 การประเมินผู้เรียน ตัวบ่งชี้ที่ 5.4 ผลการดำเนินงานหลักสูตรตามกรอบมาตรฐาน คุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ

ตัวบ่งชี้ที่ 5.1 สาระของรายวิชาในหลักสูตร ตัวบ่งชี้ที่ 5.1 สาระของรายวิชาในหลักสูตร หลักคิดในการออกแบบหลักสูตร ข้อมูลที่ใช้ในการพัฒนาหลักสูตรและวัตถุประสงค์ของหลักสูตร การปรับปรุงหลักสูตรให้ทันสมัยตามความก้าวหน้าในศาสตร์สาขานั้นๆ การพิจารณาอนุมัติหัวข้อวิทยานิพนธ์และการค้นคว้าอิสระในระดับบัณฑิตศึกษา เกณฑ์การประเมิน ไม่มีระบบ ไม่มีกลไก ไม่มีแนวคิดในการกำกับ ติดตาม ปรับปรุง ไม่มีข้อมูลหลักฐาน 1 มีระบบ มีกลไก ไม่มีการนำระบบและกลไกไปสู่การปฏิบัติ/การดำเนินงาน 2 มีระบบ มีกลไก มีการนำระบบกลไกไปสู่การปฏิบัติ/การดำเนินงานมีการประเมิน ไม่มีการปรับปรุง/พัฒนา/บูรณาการจากผลการประเมิน 3 มีระบบ มีกลไก มีการนำระบบกลไกไปสู่การปฏิบัติ/การดำเนินงานมีการประเมิน มีการปรับปรุง/พัฒนา/บูรณาการจากผลการประเมิน 4 มีครบในข้อ 3 มีผลจากการปรับปรุงเห็นชัดเป็นรูปธรรม 5 มีการดำเนินการใน 4 และมีแนวทางปฏิบัติ โดยมีหลักฐานเชิงประจักษ์ยืนยัน และกรรมการผู้ประเมินสามารถให้เหตุผลอธิบาย เป็นแนวปฏิบัติที่ดีได้ชัดเจน

ตัวบ่งชี้ที่ 5.2 การวางระบบผู้สอนและกระบวนการจัดการเรียนการสอน ตัวบ่งชี้ที่ 5.2 การวางระบบผู้สอนและกระบวนการจัดการเรียนการสอน การพิจารณากำหนดผู้สอน การกำกับติดตามและตรวจสอบการจัดทำ มคอ 3และ มคอ 4 การแต่งตั้งอจ.ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์และการค้นคว้าอิสระในระดับบัณฑิต การกำกับกระบวนการเรียนการสอน การจัดการเรียนการสอนที่มีการฝึกปฏิบัติในระดับปริญญาตรี การบูรณาการพันธกิจต่างๆกับการเรียนการสอนในระดับปริญญาตรี การช่วยเหลือ กำกับติดตามในการทำวิทยานิพนธ์และการค้นคว้าอิสระและการตีพิมพ์ผลงานในระดับบัณฑิตศึกษา

ตัวบ่งชี้ที่ 5.2 การวางระบบผู้สอนและกระบวนการจัดการเรียนการสอน ตัวบ่งชี้ที่ 5.2 การวางระบบผู้สอนและกระบวนการจัดการเรียนการสอน เกณฑ์การประเมิน ไม่มีระบบ ไม่มีกลไก ไม่มีแนวคิดในการกำกับ ติดตาม ปรับปรุง ไม่มีข้อมูลหลักฐาน 1 มีระบบ มีกลไก ไม่มีการนำระบบและกลไกไปสู่การปฏิบัติ/การดำเนินงาน 2 มีระบบ มีกลไก มีการนำระบบกลไกไปสู่การปฏิบัติ/การดำเนินงานมีการประเมิน ไม่มีการปรับปรุง/พัฒนา/บูรณาการจากผลการประเมิน 3 มีระบบ มีกลไก มีการนำระบบกลไกไปสู่การปฏิบัติ/การดำเนินงานมีการประเมิน มีการปรับปรุง/พัฒนา/บูรณาการจากผลการประเมิน 4 มีครบในข้อ 3 มีผลจากการปรับปรุงเห็นชัดเป็นรูปธรรม 5 มีการดำเนินการใน 4 และมีแนวทางปฏิบัติ โดยมีหลักฐานเชิงประจักษ์ยืนยัน และกรรมการผู้ประเมินสามารถให้เหตุผลอธิบาย เป็นแนวปฏิบัติที่ดีได้ชัดเจน

ตัวบ่งชี้ที่ 5.3 การประเมินผู้เรียน การประเมินผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ การตรวจสอบการประเมินผลการเรียนรู้ของนักศึกษา การกำกับการประเมินการจัดการเรียนการสอนและประเมินหลักสูตร (มคอ. 5,6,7) การประเมินวิทยานิพนธ์และการค้นคว้าอิสระในระดับบัณฑิตศึกษา

ตัวบ่งชี้ที่ 5.3 การประเมินผู้เรียน ตัวบ่งชี้ที่ 5.3 การประเมินผู้เรียน เกณฑ์การประเมิน ไม่มีระบบ ไม่มีกลไก ไม่มีแนวคิดในการกำกับ ติดตาม ปรับปรุง ไม่มีข้อมูลหลักฐาน 1 มีระบบ มีกลไก ไม่มีการนำระบบและกลไกไปสู่การปฏิบัติ/การดำเนินงาน 2 มีระบบ มีกลไก มีการนำระบบกลไกไปสู่การปฏิบัติ/การดำเนินงานมีการประเมิน ไม่มีการปรับปรุง/พัฒนา/บูรณาการจากผลการประเมิน 3 มีระบบ มีกลไก มีการนำระบบกลไกไปสู่การปฏิบัติ/การดำเนินงานมีการประเมิน มีการปรับปรุง/พัฒนา/บูรณาการจากผลการประเมิน 4 มีครบในข้อ 3 มีผลจากการปรับปรุงเห็นชัดเป็นรูปธรรม 5 มีการดำเนินการใน 4 และมีแนวทางปฏิบัติ โดยมีหลักฐานเชิงประจักษ์ยืนยัน และกรรมการผู้ประเมินสามารถให้เหตุผลอธิบาย เป็นแนวปฏิบัติที่ดีได้ชัดเจน

ตัวบ่งชี้ที่ 5.4 ผลการดำเนินงานหลักสูตรตามกรอบมาตรฐาน คุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ จำนวนตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิฯที่ดำเนินการได้จริง จำนวนตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิฯที่ต้องดำเนินงาน ในปีการศึกษานั้นๆ × 100 ค่าร้อยละ 100 คิดเป็น 5 คะแนน ค่าร้อยละ 80 คิดเป็น 1 คะแนน ค่าร้อยละ ไม่เกิน 80 คิดเป็น 0 คะแนน ค่าร้อยละที่มากกว่า 80และไม่เกินร้อยละ 100 นำมาคิดคะแนนดังนี้ คะแนนที่ได้ = 1+0.2 (ค่าร้อยละที่คำนวนได้จากข้อ 1-80) หมายเหตุ 0.2 หมายถึง สัดส่วนของคะแนน 4 โดยคิดจากร้อยละระหว่าง 80 ถึง 100 ดจ

องค์ประกอบที่ 6 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ องค์ประกอบที่ 6 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ ตัวบ่งชี่ที่ 6.1 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ ระบบการดำเนินงานของภาควิชา/คณะ/สถาบันโดยมีส่วนร่วมของอาจารย์ประจำหลักสูตรเพื่อให้มีสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ จำนวนสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ที่เพียงพอและเหมาะสมต่อการจัดการเรียนการสอน กระบวนการปรับปรุงตามผลการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาและอาจารย์ต่อสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้

ตัวบ่งชี้ที่ 6 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ ตัวบ่งชี้ที่ 6 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ เกณฑ์การประเมิน ไม่มีระบบ ไม่มีกลไก ไม่มีแนวคิดในการกำกับ ติดตาม ปรับปรุง ไม่มีข้อมูลหลักฐาน 1 มีระบบ มีกลไก ไม่มีการนำระบบและกลไกไปสู่การปฏิบัติ/การดำเนินงาน 2 มีระบบ มีกลไก มีการนำระบบกลไกไปสู่การปฏิบัติ/การดำเนินงานมีการประเมิน ไม่มีการปรับปรุง/พัฒนา/บูรณาการจากผลการประเมิน 3 มีระบบ มีกลไก มีการนำระบบกลไกไปสู่การปฏิบัติ/การดำเนินงานมีการประเมิน มีการปรับปรุง/พัฒนา/บูรณาการจากผลการประเมิน 4 มีครบในข้อ 3 มีผลจากการปรับปรุงเห็นชัดเป็นรูปธรรม 5 มีการดำเนินการใน 4 และมีแนวทางปฏิบัติ โดยมีหลักฐานเชิงประจักษ์ยืนยัน และกรรมการผู้ประเมินสามารถให้เหตุผลอธิบาย เป็นแนวปฏิบัติที่ดีได้ชัดเจน