การตัดสินใจทางธุรกิจ DICISION MAKING
ประเภทการตัดสินใจ 1. การตัดสินใจภายใต้สภาวการณ์แน่นอน 2. การตัดสินใจภายใต้สภาวการณ์ไม่แน่นอน - ไม่อาศัยความน่าจะเป็น - อาศัยความน่าจะเป็น
การตัดสินใจภายใต้สภาวการณ์แน่นอน เป็นการตัดสินใจที่ผู้ตัดสินใจทราบสภาวการณ์ หรือเหตุการณ์ต่าง ๆ ว่าจะเกิดขึ้น ในอนาคตอย่างแน่นอน
ระยะเวลา รวม ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. 4,000 7,000 6,000 5,000 (หน่วย : ขวด) ระยะเวลา รวม ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ปริมาณจำหน่วย 4,000 7,000 6,000 5,000 8,000 9,000 39,000 โอกาสที่ขายได้ .10 .25 .15 .30 1.00
สมมุติว่า การจำหน่ายชาเขียวจะได้กำไร 3 บาทต่อขวด เมื่อขายได้จำนวน 4,000 ขวด จะได้กำไร 12,000 บาท ซึ่งเป็นกำไรสูงสุดจากการผลิตชาเขียว 4,000 ขวด จากข้อมูลข้างต้นสามารถคำนวณหาผลกำไรที่บริษัทจะได้รับในแต่ละเดือน ระหว่างเดือน ก.ค.-ธ.ค. ได้ดังนี้
ผลกำไรที่คาดหมาย = ผลกำไรที่ได้รับ x โอกาสที่จำหน่ายได้ (หน่วย : บาท) ปริมาณการ จำหน่าย(ขวด) ปริมาณการผลิต ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. 4,000 5,000 6,000 7,000 8,000 9,000 12,000 - 21,00 18,000 15,000 24,00 27,000 ผลกำไรที่คาดหมาย = ผลกำไรที่ได้รับ x โอกาสที่จำหน่ายได้
จากข้อมูลปริมาณการผลิต นำมาคำนวณหาผลกำไรที่คาดหมายได้ ดังนี้ (หน่วย : บาท) ปริมาณสินค้าที่ จำหน่ายได้(ขวด) (1) ผลกำไรที่ได้รับ (บาท) (2) โอกาสที่จำหน่ายได้ (3) ผลกำไรที่คาดหมาย (2)x(3) 4,000 5,000 6,000 7,000 8,000 9,000 12,000 15,000 18,000 21,000 24,000 27,000 .10 .25 .15 .30 1,200 3,750 2,700 2,100 2,400 8,100 1.00 20,250
การตัดสินใจภายใต้สภาวการณ์ไม่แน่นอน การตัดสินใจภายใต้สภาวการณ์ที่ไม่แน่นอน เป็นการตัดสินใจที่ผู้ตัดสินใจจะต้องเลือทางเลือกใดทางเลือกหนึ่งเพียงทางเลือกเดียว โดยทราบหรือไม่ทราบความน่าจะเป็นที่แต่ละเหตุการณ์จะเกิดขึ้น
วิธีการคำนวณการตัดสินใจภายใต้สภาวการณ์ที่ไม่แน่นอน 1.Maximax 2. Maximin 3.Mimimax 4.Hurwiez 5.Lapace 6.Expected Return 7.EVPI
ตัวอย่างการคำนวณ ประเภทน้ำผลไม้ สภาวการณ์ E1(ต่ำ) E2 E3(สูง) น้ำส้ม น้ำมะนาว น้ำองุ่น น้ำแตงโม 20 35 50 10 40 60 80 35 62 150 30 55
E2 : เศรษฐกิจไม่เปลี่ยนแปลง E3 : เศรษฐกิจดีขึ้น
1.วิธีMaximax ประเภทน้ำผลไม้ สภาวการณ์ Maximax E1(ต่ำ) E2 E3(สูง) น้ำส้ม น้ำมะนาว น้ำองุ่น น้ำแตงโม 20 35 50 10 40 60 80 35 62 150 30 55 50 60 80 150 Maximax = 150 ควรผลิตน้ำแตงโม
2.วิธีMaximin ประเภทน้ำผลไม้ สภาวการณ์ Maximin E1(ต่ำ) E2 E3(สูง) น้ำส้ม น้ำมะนาว น้ำองุ่น น้ำแตงโม 20 35 50 10 40 60 80 35 62 150 30 55 20 10 35 30 Maximin = 35 ควรผลิตน้ำองุ่น
3.วิธีMinimax ประเภท น้ำผลไม้ สภาวการณ์ Minimax E1(ต่ำ) E2 E3(สูง) น้ำส้ม น้ำมะนาว น้ำองุ่น น้ำแตงโม 150-20=130 40-35=5 62-50=12 150-10=140 40-40=0 62-60=2 150-80=70 40-35=5 62-62=0 150- 150=0 40-30=10 62-55 =7 130 140 70 10 Minimax = 10 ควรผลิตน้ำแตงโม
4.วิธีHurwiez ประเภทน้ำผลไม้ สภาวการณ์ Hurwiez E1(ต่ำ) E2 E3(สูง) กำหนดสัมประสิทธิ์=0.6 น้ำส้ม น้ำมะนาว น้ำองุ่น น้ำแตงโม 20 35 50 10 40 60 80 35 62 150 30 55 50(0.6)+20(0.4)=38 60(0.6)+10(0.4)=40 80(0.6)+35(0.4)=62 150(0.6)+30(0.4)=102 Hurwiez = 102 ควรผลิตน้ำแตงโม
5.วิธีLapace ประเภทน้ำผลไม้ สภาวการณ์ Lapace E1(ต่ำ) E2 E3(สูง) น้ำส้ม น้ำมะนาว น้ำองุ่น น้ำแตงโม 20 35 50 10 40 60 80 35 62 150 30 55 20+35+50/3=35 10+40+60/3=36.6 80+35+62/3=59 150+30+55/3=78.3 Lapace = 78.3 ควรผลิตน้ำแตงโม
6.วิธีExpected Return ประเภท น้ำผลไม้ สภาวการณ์ Expected Return E1(ต่ำ) E2 E3(สูง) (0.3) (0.5) (0.2) Expected Return น้ำส้ม น้ำมะนาว น้ำองุ่น น้ำแตงโม 20 35 50 10 40 60 80 35 62 150 30 55 20(.3)+35(.5)+50(.2)=33.5 10(.3)+40(.5)+60(.2)=35 80(.3)+35(.5)+62(.2)=53.9 150(.3)+30(.5)+55(.2)=71 Expected Return = 71 ควรผลิตน้ำแตงโม
7.วิธีEVPI ประเภท น้ำผลไม้ สภาวการณ์ EVPI E1(ต่ำ) E2 E3(สูง) น้ำส้ม (0.3) (0.5) (0.2) EVPI น้ำส้ม น้ำมะนาว น้ำองุ่น น้ำแตงโม 20 35 50 10 40 60 80 35 62 150 30 55 50(.2)=10 60(.2)=12 80(.3)=24 150(.3)=45 รวม = 91 EVPI= 91-71=20
แบบทดสอบ ประเภทรถยนต์ สภาวการณ์ E1(ต่ำ) E2 E3(สูง) รถเก๋ง รถกระบะ รถตู้ รถแวน 320 135 550 410 240 160 280 435 462 450 230 155
จงคำนวณการตัดสินใจภายใต้สภาวการณ์ที่ไม่แน่นอนด้วยวิธี 1.Maximax 2. Maximin 3.Mimimax 4.Hurwiez 5.Lapace 6.Expected Return 7.EVPI