บทที่ 4 แนวทางการศึกษาพื้นฐานและทฤษฎีของภาวะผู้นำ ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา ภาวะผู้นำทางการประกอบการ
ควรทำอะไรกับการเปลี่ยนแปลง? จากบทเรียนเรื่อง ใครเอาเนยแข็งของฉันไป? ใครฉลาดที่สุด? ใครเก่งที่สุด? ใครน่าจะเอาตัวรอดได้ดีที่สุด? ใครโง่ที่สุด? เพราะอะไร? ภาวะผู้นำทางการประกอบการ
ทฤษฎีภาวะผู้นำตามแนวพฤติกรรม(Behavior theories) การศึกษาที่มหาวิทยาลัยแห่งรัฐโอไฮโอ (Ohio State University) ได้สรุปพฤติกรรมของผู้นำได้ 2 แบบ ผู้นำที่มุ่งงาน(Initiating Structure) พฤติกรรมที่เน้นงาน คือระดับที่ผู้นำให้ความสนใจต่องานกระตือรือร้นมีความคิดริเริ่ม มีมนุษยสัมพันธ์ในกลุ่มและกำกับให้พนักงานทำงานให้บรรลุเป้าหมาย ผู้นำแบบนี้จะเน้นการออกคำสั่ง การวางแผนงาน การกำหนดเส้นตายและตารางเวลาการทำงานที่ชัดเจนให้แก่พนักงาน ผู้นำที่มุ่งคน(Consideration) พฤติกรรมที่เน้นคน คือระดับที่ผู้นำให้ความสนใจต่อผู้ใต้บังคับบัญชายอมรับฟังความคิดเห็นให้การยอมรับนับถือ ผู้นำที่มีพฤติกรรมที่เน้นคนสูงจะเป็นผู้นำที่มีความเป็นมิตร พร้อมที่จะสื่อสารอย่างเปิดกว้าง พัฒนาทีมงาน และดูแลให้พนักงานให้มีความเป็นอยู่ที่ดีร่วมมือร่วมใจกันทำงานด้วยความเต็มใจละเต็มความสามารถ ภาวะผู้นำทางการประกอบการ
รูปแบบความเป็นผู้นำตามการศึกษาของ มหาวิทยาลัยแห่งรัฐโอไฮโอ เน้นคนสูง เน้นงานต่ำ เน้นงานสูง เน้นคนต่ำ ระดับการเน้นคน Consideration structure สูง ต่ำ ระดับการเน้นงาน Initiating structure สูง สูง ต่ำ ต่ำ ภาวะผู้นำทางการประกอบการ
รูปแบบความเป็นผู้นำตามการศึกษาของ มหาวิทยาลัยแห่งรัฐโอไฮโอ เน้นคนสูง เน้นงานต่ำ เน้นงานสูง เน้นคนต่ำ ระดับการเน้นคน Consideration structure สูง ต่ำ ระดับการเน้นงาน Initiating structure ภาวะผู้นำทางการประกอบการ
พฤติกรรมผู้นำ (Leader Behavior) (ต่อ) ทฤษฎีภาวะผู้นำตามแนวพฤติกรรม(Behavior theories) มหาวิทยาลัยมิชิแกน (The University of Michigan) สรุปพฤติกรรมของผู้นำได้ 2 แบบ การมุ่งงาน( production-oriented)เป็นพฤติกรรมของผู้นำที่สนใจการปฏิบัติงานวิธีทำงานและผลการปฏิบัติงานของผู้ใต้บังคับบัญชาโดยมองคนหรือพนักงานเป็นเพียงเครื่องมือที่จะทำให้เกิดผลงาน การมุ่งคน(employee-oriented)เป็นพฤติกรรมของผู้นำที่เน้นความสัมพันธ์ที่ดีกับพนักงาน สนใจการพัฒนาของกลุ่มทำงานยอมรับฟังความคิดเห็นของพนักงาน สนใจความพอใจในการทำงานและสวัสดิการของผู้ใต้บังคับบัญชา พบว่าหัวหน้างาน มี 2 ลักษณะคือ -มีประสิทธิภาพสูงสุดคือ พวกที่ให้ความสำคัญอย่างมากกับความต้องการของผู้ใต้บังคับบัญชา เพื่อสร้างทีมงานที่มุ่งบรรลุเป้าหมายที่ท้าทาย -มีประสิทธิภาพต่ำคือ พวกให้ความสำคัญกับการบรรลุเป้าหมายและความต้องการของคนน้อยกว่า ควบคุมงานให้เสร็จตามกำหนดเวลา ลดต้นทุน และเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต ภาวะผู้นำทางการประกอบการ
ทฤษฎีภาวะการเป็นผู้นำ 1. ทฤษฎีเกี่ยวกับลักษณะ (Trait Approach) 2. ทฤษฎีทางด้านพฤติกรรม (Behavioral Approach) 3. ทฤษฎีทางด้านสถานการณ์ (Situational Approach) ประสิทธิภาพ ลักษณะและทักษะของผู้นำ พฤติกรรมของผู้นำ ตัวแปรที่เข้าแทรก ประสิทธิภาพ ประสิทธิภาพ ลักษณะ ทักษะและพฤติกรรมของผู้นำ ตัวแปรทางสถานการณ์
1. ทฤษฎีเกี่ยวกับลักษณะ ลักษณะผู้นำที่ดี คือ ทำงานสำเร็จด้วยดีและเป็นที่พอใจของผู้ใต้บังคบบัญชา 1. มีความทะเยอทะยาน (Ambition) 2. มีความอุสาหะพากเพียร (Persistence) 3. มีความกล้าหาญ (Courage) 4. มีความเชื่อถือศรัทธา (Faith) 5. มีความซื่อสัตย์มั่นคง (Integrity) 6. มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ (Creativity) (กรองแก้ว 2542)
1. ทฤษฎีเกี่ยวกับลักษณะ 7. มีความยุติธรรม (Justice) 8. มีจุดมุ่งหมาย (Objectivity) 9. มีความยืดหยุ่น (Flexibility) 10. มีความสามารถในการตัดสินใจ (Decisiveness) 11. มีวินัยในตนเอง (Self-Discipline) => ความรับผิดชอบ ความรอบครอบ ความนับถือตนเอง ทักษะในการติดต่อสื่อสาร และวุฒิภาวะทางอารมณ์ (กรองแก้ว 2542)
ผู้มีวุฒิภาวะทางอารมณ์ มีอารมณ์มั่นคงไม่อ่อนไหวง่าย อดทนต่อการกระทำและการวิพากษ์วิจารณ์ของผู้อื่น เข้าใจตนเองและผู้อื่น ใจกว้าง ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น สนใจบุคคลและเหตุการณ์รอบข้าง ทำงานเป็นทีมได้ดี และมีความพอใจ (กรองแก้ว 2542)
ภาวะผู้นำทางการประกอบการ ทฤษฎีคุณลักษณะผู้นำ การศึกษาคุณลักษณะ ของผู้นำได้มีมากในระหว่าง ค.ศ.1930 - 1940 แต่ก็ไม่มีงานวิจัยใดยืนยันได้ว่าคุณลักษณะของ ผู้นำแต่ละคุณลักษณะมี ความสัมพันธ์ต่อความสำเร็จของผู้นำได้อย่างไร จึงทำให้นักวิจัยให้ ความ สนใจในคุณลักษณะของผู้นำน้อยลงตามลำดับ อย่างไรก็ตามได้มี ความพยายามที่จะศึกษาว่าคุณลักษณะ ของผู้นำชนิดที่จำเป็นสำหรับ งานของผู้นำแต่ละประเภทอย่างไร และในสถานการณ์ที่แตกต่างกัน คุณลักษณะใดที่จะช่วยให้ผู้นำประสบความสำเร็จได้ ภาวะผู้นำทางการประกอบการ
ภาวะผู้นำทางการประกอบการ สถานการณ์ (Situation Approach) การศึกษาวิจัยสถานการณ์ที่มีผลต่อ ประสิทธิภาพของภาวะผู้นำนั้น จะมุ่งเน้นศึกษาสถานการณ์ที่สำคัญ ๆ เช่น อำนาจหน้าที่ และความ มั่นคงของผู้นำ ลักษณะงานของผู้นำ ความสามารถและแรงจูงใจของผู้ตาม สภาพแวดล้อมภายนอก ความคาดหวังและข้อเรียกร้องต่าง ๆ เกี่ยวกับงานของลูกน้อง เพื่อนร่วมงาน และบุคคลภายนอก องค์การ ภาวะผู้นำทางการประกอบการ
การศึกษาวิจัยเกี่ยวกับสถานการณ์ แยกออกได้เป็น 2 กลุ่มใหญ่ กลุ่มแรกจะมุ่งเน้นว่าสถานการณ์ใดที่จะมีอิทธิพลต่อพฤติกรรมแต่ละพฤติกรรมของผู้นำอย่างไร ดังนั้น การวิจัย ประเภทนี้จึงต้องศึกษาว่า พฤติกรรมการบริหารงานของผู้นำต่างองค์การ ต่างระดับเหมือน หรือ แตกต่างกันอย่างไร กลุ่มที่สอง มุ่งที่จะศึกษาว่า สถานการณ์ลักษณะใดจะมีส่วนทำให้พฤติกรรมหรือแบบของผู้นำ รวมทั้งคุณลักษณะของผู้นำมีผลต่อประสิทธิภาพของภาวะผู้นำ เพราะนักวิจัยกลุ่มนี้มีพื้นฐานความคิดที่ว่าพฤติกรรมใดพฤติกรรมหนึ่งไม่เหมาะสำหรับทุกสถานการณ์ หรือประสิทธิภาพ ของผู้นำขึ้นอยู่กับความสามารถในการปรับพฤติกรรมให้เป็นไปตามการเปลี่ยนแปลงของสถานการณ์ หรือเหมาะสมกับสถานการณ์ ภาวะผู้นำทางการประกอบการ
Emphasis of Task Orientation Technology Programs Methods Plans Goals Deadlines Getting the work out (Plunkett et. al., 2005) ภาวะผู้นำทางการประกอบการ
ตารางพฤติกรรมการบริหาร Robert R. Blake & Jane S. Mouton ผู้นำที่เน้นความสนใจที่คน 1,9 ผู้นำที่เอาใจใส่ทั้งคนและงาน 9,9 มุ่งที่พนักงาน ผู้นำที่เดินสายกลาง 5,5 ผู้นำที่ไม่สนใจทั้งงานและคน 1,1 ผู้นำที่เน้นความสนใจที่งาน 9,1 มุ่งที่ผลผลิต/งาน ภาวะผู้นำทางการประกอบการ
ตาข่ายแห่งผู้นำ (The Leader Grid) 9 1,9 9,9 8 7 6 5 5,5 4 3 2 1 1,1 9, 1 ระดับการสนใจคน ระดับการสนใจงาน ภาวะผู้นำทางการประกอบการ
ภาพแสดงตาข่ายการจัดการ 5 แบบของเบลคและมูตัน ภาวะผู้นำทางการประกอบการ
ทฤษฎีทางด้านสถานการณ์ (Situational Approach) 1 ตัวแบบความไม่แน่นอนของเฟรด ฟิดเลอร์ 2 ทฤษฎีวิถีทางสู่เป้าหมาย (Path-Goal Leadership Theory) 3 ทฤษฎีภาวะการเป็นผู้นำตามสถานการณ์ของเฮอร์ซีและเบลนชาร์ด ภาวะผู้นำทางการประกอบการ
1 ตัวแบบความไม่แน่นอนของเฟรด ฟิดเลอร์ เมื่อสถานการณ์เอื้อต่อการใช้ความเป็นผู้นำ กลุ่มจะตั้งใจทำงานโดยไม่ต้องมีการคะยั้นคะยอมาก บุคคลแต่ละคนจึงควรทำงานในสถานการณ์ที่เหมาะกับแบบภาวะการเป็นผู้นำของเขา ต้องเปลี่ยนแปลงสถานการณ์เพื่อให้สอดคล้องกับแบบภาวะการเป็นผู้นำของเขาเอง (สร้อยตระกูล 2542) ภาวะผู้นำทางการประกอบการ
1 ตัวแบบความไม่แน่นอนของเฟรด ฟิดเลอร์ ตัวแปรสำคัญที่เป็นตัวกำหนดถึงสถานการณ์ที่เอื้อต่อการใช้ความเป็นผู้นำสำหรับการเป็นผู้นำ คือ 1. สัมพันธภาพระหว่างผู้นำและสมาชิก (leader-member relationships) 2. โครงสร้างของงาน (task structure) 3. อำนาจในตำแหน่งของผู้นำ (leader’s position power) (สร้อยตระกูล 2542) ภาวะผู้นำทางการประกอบการ
ทฤษฎีภาวะผู้นำตามสภาพการณ์ของฟีดเลอร์ ภาวะผู้นำ (Leadership) 75/96 แรงจูงใจด้านความสัมพันธ์ ดี แรงจูงใจด้านงาน การปฏิบัติงาน เลว ปานกลาง สูง ต่ำ สถานการณ์เอื้ออำนวย ภาวะผู้นำ (Leadership) 75/96
2 ทฤษฎีวิถีทางสู่เป้าหมาย(Path-Goal Theory) มีแนวทางมาจากทฤษฎีความคาดหวัง (Expectancy Theory) ผลกระทบของพฤติกรรมผู้นำที่มีต่อการจูงใจ ความพึงพอใจ การปฏิบัติงานของผู้ใต้บังคับบัญชา แบบของภาวะการเป็นผู้นำ 4 แบบ ภาวะการเป็นผู้นำแบบบงการ (directive leadership) ภาวะการเป็นผู้นำแบบให้การสนับสนุน (supportive leadership) ภาวะการเป็นผู้นำแบบให้มีส่วนร่วม (participative leadership) ภาวะการเป็นผู้นำแบบมุ่งความสำเร็จ (achievement-oriented leadership) ภาวะผู้นำทางการประกอบการ
2 ทฤษฎีวิถีทางสู่เป้าหมาย(Path-Goal Theory) คุณลักษณะของผู้ใต้บังคับบัญชา ที่มาของการควบคุมพฤติกรรม และ/ หรือความสามารถ พฤติกรรม/แบบของผู้นำ ผู้ใต้บังคับบัญชา ผลที่ได้ -แบบชี้นำ -การรับรู้ -ความพึงพอใจ -ความชัดเจนในเป้าหมาย -แบบสนับสนุน -การจูงใจ -แบบมีส่วนร่วม -ความชัดเจนในบทบาท -แบบมุ่งความสำเร็จ -การปฏิบัติงาน คุณลักษณะของสภาพแวดล้อม -ลักษณะงาน -ระบบอำนาจหน้าที่ที่เป็นทางการ -กลุ่มทำงาน ภาวะผู้นำทางการประกอบการ
3 ทฤษฎีภาวการณ์เป็นผู้นำตามสถานการณ์ของเฮอร์ซีและเบลนชาร์ด (The Hersey-Blanchard Life Cycle Theory of Leadership) Leadership concept that hypothesizes that leadership styles should reflect primarily the maturity level of the followers. (Certo, 2003) ภาวะผู้นำทางการประกอบการ
Hersey - Blanchard Life-Cycle Theory New Employees Experienced Employees Autocratic Participative Free-Rein (Plunkett et. al., 2005) ภาวะผู้นำทางการประกอบการ
ภาวะผู้นำเป็นผลมาจาก (Leadership is a function of) พฤติกรรม ทักษะ ความรู้ ค่านิยม กลุ่ม (Group) บรรทัดฐานและค่านิยม ความสามัคคีของกลุ่ม ความรู้สึกผูกมัดต่อเป้าหมายของกลุ่ม ความคาดหวังของสมาชิกในกลุ่ม ความต้องการของสมาชิกในกลุ่ม สถานการณ์ (Situation) ค่านิยมขององค์การ เทคโนโลยี กิจกรรมหรืองานที่ต้องทำ ชนิดต่างๆของงาน (เทพนม เมืองแมน และสวิง สุวรรณ 2540) ภาวะผู้นำทางการประกอบการ
ทฤษฎีเอ็กซ์ (X) และทฤษฎีวาย (Y) 1. ไม่ชอบทำงาน 1. ชอบทำงาน 2. บังคับ ข่มขู่ สั่งการ ควบคุม 2. มีสำนึก ควบคุมตนเองได้ 3.ไม่มีความรับผิดชอบ 3. มีความรับผิดชอบ 4. ชอบความมั่นคงปลอดภัย 4. ภูมิใจกับคำยกย่องมากกว่าเงิน 5. ไม่ทะเยอทะยาน 5. แสวงหางาน (ความรับผิดชอบ) 6. ต่อต้านการเปลี่ยนแปลง 6. มีจินตนาการ ฉลาด 7. …………………. 7. ……………….. คุณคือ ?…………. ภาวะผู้นำการประกอบการ ญาลดา
ขอขอบคุณที่สนใจฟัง...