การดึงดูดเพลี้ยไฟของกับดักกาวเหนียวสี Attractiveness of thrips to colored sticky trap NR
เพลี้ยไฟ ( Thrips ) แมลงในอันดับ Thysanoptera เพลี้ยไฟจำแนกชนิดได้มากกว่า 5,000 ชนิด NR
ความสำคัญของเพลี้ยไฟ เพลี้ยไฟเป็นแมลงขนาดเล็ก ปากแบบเขี่ยดูด (rasping-sucking type) เป็นแมลงศัตรูที่มีความสำคัญ และทำความเสียหายให้แก่พืชเศรษฐกิจหลายชนิด NR
ชนิดและการเข้าทําลายของเพลี้ยไฟ เพลี้ยไฟสกุล Scirtothrips NR
การป้องกันกำจัด imidacloprid และ carbosulfan การใช้กับดักกาวเหนียว NR
ทำไมต้องใช้กับดักกาวเหนียว? การใช้กับดักกาวเหนียวเป็นทางเลือกหนึ่งของการป้องกัน แมลงศัตรูพืชแบบผสมผสาน เพื่อลดการระบาดของแมลงศัตรู ลดการใช้สารเคมี ที่มา : กอบเกียรติ์ (2540) NR
วัตถุประสงค์หลักของกับดักกาวเหนียว การใช้กับดักกาวเหนียวนี้ก็เพื่อทำนาย ระบาดหรือพยากรณ์การะบาดล่วงหน้าของแมลงศัตรูพืช จึงทำการศึกษาประสิทธิภาพของกับดักกาวเหนียวสีต่างๆ ที่สามารถดึงดูด เพลี้ยไฟได้ดี ที่มา : กอบเกียรติ์ (2540) NR
กับดักกาวเหนียวสีที่มีผลต่อการดึงดูดเพลี้ยไฟ การดึงดูดเพลี้ยไฟโดยกับดักกาวเหนียวสี ขึ้นอยู่กับปัจจัย ดังนี้ เช่น สีของกับดัก ที่มา : ศรีสุดา และ ปิยรัตน์ (2543) NR
กับดักกาวเหนียวสีที่มีผลต่อการดึงดูดเพลี้ยไฟ (ต่อ) ชนิดของเพลี้ยไฟ ที่มา: Hoddleและ คณะ(2001) NR
ที่มา: Hoddleและ คณะ(2001) Scirtothrips perseae ที่มา: Hoddleและ คณะ(2001) NR
Frankliniella occidentalis ที่มา: Hoddleและ คณะ(2001) NR
Franklinothrips orizabensis ที่มา: Hoddleและ คณะ(2001) NR
กับดักกาวเหนียวสีที่มีผลต่อการดึงดูดเพลี้ยไฟ (ต่อ) ระดับความสูงของกับดัก ที่ระดับความสูง 1.5 เมตรและ ระดับ 2 เมตร ที่มา : ชลิดา อุณหวุฒิ และ คณะ (2536) NR
กับดักกาวเหนียวสีที่มีผลต่อการดึงดูดเพลี้ยไฟ (ต่อ) การจางของสีกับดักเนื่องจากแสงแดด เนื่องจากสีเหลืองนั้นมีสีคล้ายกับยอดอ่อนของพืช ที่มา : ชลิดา อุณหวุฒิ และ คณะ (2536) NR
สรุป การศึกษาการดึงดูดเพลี้ยไฟของกับดักกาวเหนียวสีในพืชบางชนิด พบว่า ประสิทธิภาพในการดึงดูดเพลี้ยไฟของกับดักกาวเหนียวสีต่างกัน ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับสีของกับดัก ชนิดของเพลี้ยไฟ ระยะความสูงของกับดัก และ การจางของสีดับดักเนื่องจากแสงแดด NR
อาจารย์ที่ปรึกษา ผศ. ดร.อรัญ งามผ่องใส โดย.... นางสาวพัชรินทร์ เจียรบุตร รหัสนักศึกษา 4740151 อาจารย์ที่ปรึกษา ผศ. ดร.อรัญ งามผ่องใส ภาควิชาการจัดการศัตรูพืช คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา 90112 โทร. 074-286101-2 NR