มาตรฐานระบบบริการสุขภาพ ด้านสุขศึกษา ปี 2562 มาตรฐานระบบบริการสุขภาพ ด้านสุขศึกษา ปี 2562 กองสุขศึกษา กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
1. เกณฑ์มาตรฐานระบบบริการสุขภาพด้านสุขศึกษา เนื้อหาวิชา 1. เกณฑ์มาตรฐานระบบบริการสุขภาพด้านสุขศึกษา 2. แนวทางการเยี่ยมประเมินมาตรฐานระบบบริการ สุขภาพด้านสุขศึกษา 3. HS4 4. การเตรียมรับการเยี่ยมประเมิน…ทำอย่างไรให้ผ่าน มาตรฐานระบบบริการสุขภาพ ด้านสุขศึกษา 5. ประชุมกลุ่ม
ผลการเยี่ยมประเมินมาตรฐานระบบบริการสุขภาพ เขต 10 ปี 2560 ผลการเยี่ยมประเมินมาตรฐานระบบบริการสุขภาพ เขต 10 ผลงาน ปี 61 ยุทธศาสตร์ กระทรวง รพศ. รพท. รพช. = 71รพ. ระดับพื้นฐาน 1 ระดับพัฒนา 47 แห่ง(%) ระดับคุณภาพ 23 แห่ง(%) มฐ.สบส.รวม ระดับพื้นฐาน 1 ระดับพัฒนา 44 แห่ง(%) ระดับคุณภาพ 26 แห่ง(%) มฐ.สบส. สุขศึกษา
5 อันดับแรก ในภาพรวมที่รพ. เขต 10 ไม่ผ่านเกณฑ์ ปี 2561 มีการประเมินความเสี่ยงและมีแนวทางมาตรการ แนวทาง แผนการปรับปรุงคุณภาพ 2 มีการติดตามสนับสนุนการดำเนินงานสุขศึกษา และพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ 3 มีแนวทางการประเมินผล ที่ระบุตัวชี้วัด เครื่องมือ ระยะเวลา กลุ่มเป้าหมาย ตามแผนงาน/โครงการ 4 มีการเฝ้าระวังพฤติกรรมสุขภาพที่ระบุพฤติกรรม วิธีการ เครื่องมือ ระยะเวลา กลุ่มเป้าหมาย 5 มีการวิจัยด้านสุขศึกษาและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ ที่สอดคล้องกับปัญหาสาธารณสุข
เป้าหมาย….. งานสุขศึกษา และพฤติกรรมสุขภาพ รัฐธรรมนูญ 2560: การจัดสวัสดิการด้านสาธารณสุข การปฏิรูปประเทศด้านสาธารณสุข (20 ปี) ระบบเสริมสร้างความรอบรู้ด้านสุขภาพ มาตรา 55: ตำบลจัดการคุณภาพชีวิต ชุมชนสร้างสุข (สุขกาย สุขใจ สุขเงิน) สร้างคน HEALTH EDUCATION PROGRAM สถานบริการสุขภาพ รพศ./รพท./รพช. กลุ่มป่วย: ผู้ป่วย/ญาติ กลุ่มไม่ป่วย: วัยทำงาน/นักเรียน สร้างกลไก การขับเคลื่อน (คุณภาพตามมาตรฐาน งานสุขศึกษา) ชุมชนสร้างสุข หมู่บ้าน โรงเรียนสุขบัญญัติฯ จัดการสุขภาพตนเอง & ชุมชน * HL * HB รพ.สต.คุณภาพ หมู่บ้านต้นแบบ โรงเรียนต้นแบบ
เป้าหมาย : การดำเนินงานสุขศึกษา ปี 2562 เป้าหมาย : การดำเนินงานสุขศึกษา ปี 2562 ** ประชาชน มีความรอบรู้ด้านสุขภาพ และพฤติกรรมสุขภาพ ** ทุกตำบลจัดการคุณภาพชีวิต มีหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมฯ ระดับดีมาก ขึ้นไป อย่างน้อย1แห่ง/ตำบล มีโรงเรียนสุขบัญญัติ ระดับดีมากขึ้นไป อย่างน้อย 1 แห่ง/ตำบล รพ.สต. มีการพัฒนาคุณภาพงานสุขศึกษาระดับ 1 สถานบริการสุขภาพ * รพศ./รพท./รพช. มีการพัฒนาคุณภาพงานสุขศึกษาตามมาตรฐานระบบบริการสุขภาพด้านสุขศึกษา ยกระดับ : * อสม. มี HL& HB ระดับดีขึ้นไป ร้อยละ75 (เน้นพฤติกรรมกินผัก ออกกำลังกาย ไม่สูบบุหรี่ TB RDU) * นักเรียน มี HL& HB ตามสุขบัญญัติแห่งชาติ ระดับพอใช้ขึ้นไป ร้อยละ 75 ยกระดับ: รพศ./รพท./รพช.ผ่านเกณฑ์ระดับพัฒนาขึ้นไป รพศ./รพท./รพช.ผ่านเกณฑ์ระดับคุณภาพ ร้อยละ 35
HEALTH LITERACY HEALTH BEHAVIOR ความหมาย HEALTH LITERACY กองสุขศึกษา (2554): ความสามารถหรือทักษะในการเข้าถึงข้อมูล ความรู้ ความเข้าใจ เพื่อวิเคราะห์ ประเมินการปฏิบัติและจัดการตนเอง รวมทั้งสามารถชี้แนะเรื่องสุขภาพ ส่วนบุคคลครอบครัวและชุมชนเพื่อสุขภาพที่ดี HEALTH BEHAVIOR การกระทำหรือการแสดงออกและท่าทีที่จะกระทำ ซึ่งจะก่อให้เกิดผลดีหรือผลเสียต่อสุขภาพของตนเอง ครอบครัว หรือชุมชน - เป็นการกระทำ (Action) คือ การกระทำหรือการปฏิบัติของบุคคลที่มีผลดีหรือผลเสียต่อสุขภาพ - เป็นการไม่กระทำ (Non Action) คือ การงดเว้นไม่กระทำหรือการไม่ปฏิบัติของบุคคลที่มีผลดีหรือผลเสียต่อสุขภาพ
การจัดกระบวนการสุขศึกษาเพื่อเสริมสร้าง กระบวนการสุขศึกษา… มิใช่ เป็นเพียงการสอนเท่านั้น แต่รวมถึงการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ในรูปแบบต่าง ๆ การฝึกทักษะที่จำเป็น รวมทั้งการจัดสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ (กลุ่มป่วย&กลุ่มไม่ป่วย) การจัดกระบวนการสุขศึกษาเพื่อเสริมสร้าง ความรอบรู้ด้านสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพ มีความรอบรู้ด้านสุขภาพ *การจัดการเรียนรู้ *การฝึกทักษะ *จัดปัจจัยแวดล้อม เกิดการเรียนรู้ มีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องตามเกณฑ์
กระบวนการเรียนรู้ สู่ ....... ความรอบรู้ด้านสุขภาพ & พฤติกรรมสุขภาพ ความรอบรู้ด้านสุขภาพ & พฤติกรรมสุขภาพ สูตร 3H = 3:3:3 มี HL ที่เพียงพอ * รู้จัก * รู้จริง * รู้แจ้ง แตกฉาน มี HB ที่ถูกต้อง * ปรับHB * เปลี่ยนHB * ยั่งยืน * ไม่เพิ่มรายใหม่ *ลดการเจ็บ-ป่วย * ลดค่าใช้จ่าย HB:3 HED:3 HL:3 *การเรียนรู้ * ฝึกทักษะ *จัดสิ่งแวดล้อม ให้เอื้อ HL สะท้อนผลลัพธ์งานสุขศึกษา/ เป้าหมายของสุขศึกษา HB ช่วยให้ประชาชนจัดการปัจจัยเสี่ยง& สุขภาพตนเอง ประชาชนสามารถจัดการสุขภาพตนเองได้
องค์ประกอบของความรอบรู้ด้านสุขภาพ
Health Literacy ความรอบรู้ด้านสุขภาพ (HL ) เข้าถึง (เข้าถึงข้อมูลและบริการสุขภาพ) ตัดสินใจเลือกปฏิบัติที่ถูกต้อง Health Literacy = มีความสามารถหรือทักษะในการเข้าถึงข้อมูล ความรู้ ความเข้าใจ เพื่อวิเคราะห์ ประเมินการปฏิบัติและจัดการตนเอง รวมทั้งสามารถชี้แนะเรื่องสุขภาพส่วนบุคคล ครอบครัวและชุมชน เพื่อสุขภาพที่ดี 1 4 เปลี่ยนพฤติกรรม(การจัดการตนเอง) เข้าใจทางสุขภาพ (ความรู้ความเข้าใจ) 2 5 การบอกต่อ/เสนอทางเลือกให้ผู้อื่น โต้ตอบ ซักถาม แลกเปลี่ยน ( การสื่อสารสุขภาพ) 3 6 กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
กรอบการเชื่อมโยงการวิเคราะห์พฤติกรรมสุขภาพ การเขียนแผนงาน/โครงการ ข้อมูล การวิเคราะห์ การเขียนแผนงาน/โครงการ ข้อมูลสุขภาพ 1.วิเคราะห์ปัญหา สุขภาพ/โรค 1.เป้าประสงค์ของแผน/ โครงการ ข้อมูลพฤติกรรม สุขภาพ 2.วิเคราะห์พฤติกรรม เสี่ยง/พฤติกรรสุขภาพที่ ไม่ถูกต้อง 2.วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม ของแผน /โครงการ 3. ออกแบบกลวิธีการหรือ กิจกรรมหลักของแผนงาน/ โครงการ 3.วิเคราะห์ ปัจจัยที่มี อิทธิพลต่อพฤติกรรม เสี่ยง ( ปัจจัยนำ/ ปัจจัย เอื้อ/ ปัจจัยเสริม) ข้อมูลปัจจัยเสี่ยง 4.การประเมินผล
ตัวชี้วัดในการประเมินผลสุขศึกษา อัตราป่วย อัตราตาย อัตราภาวะแทรกซ้อน ปัญหาสาธารณสุข ตัวชี้วัดผลกระทบ ตัวชี้วัดพฤติกรรม พฤติกรรมที่เป็นสาเหตุของปัญหา ร้อยละของพฤติกรรม ร้อยละของผู้มีความรู้ ทัศนคติ ความเชื่อ ทักษะ ความตั้งใจ/วางแผน ตัวชี้วัดปัจจัยพฤติกรรม ปัจจัยสาเหตุของพฤติกรรม - จำนวนคน/กลุ่ม/ครั้ง ที่เข้า ร่วมกิจกรรม - จัดกิจกรรม/รูปแบบกิจกรรม ตัวชี้วัดกิจกรรม/กระบวนการ กิจกรรมสุขศึกษา เงิน สื่อ คนที่ใช้ ในการจัดกิจกรรม ปัจจัยนำเข้า ตัวชี้วัดปัจจัยนำเข้า
การวิเคราะห์สาเหตุ/ปัจจัยของพฤติกรรม 1.วิเคราะห์พฤติกรรมเสี่ยงที่เป็นสาเหตุเกิดโรค 2.วิเคราะห์ปัจจัยเสี่ยงที่เป็นสาเหตุ เกิดพฤติกรรมเสี่ยง ปัจจัยนำ ความรู้ / ทัศนคติ/ ความเชื่อ/การรับรู้ ค่านิยม/ ความตั้งใจ ปัจจัยเอื้อ ทักษะที่จำเป็นในการปฏิบัติ การมี การเข้าถึง การยอมรับ วัสดุ อุปกรณ์ บริการกิจกรรมเพื่อสุขภาพ ปัจจัยเสริม *คำชมเชย ให้กำลังใจ จากบุคคลอื่น *กฎ ระเบียบ /อิทธิพลสื่อโฆษณา
การวิเคราะห์สาเหตุ/ปัจจัยของพฤติกรรม พฤติกรรมเสี่ยง การบริโภคอาหารที่ไม่เหมาะสม เกินพอดี (หวาน * มัน *เค็ม) พฤติกรรมเสี่ยง พฤติกรรมไม่ออกกำลังกาย ปัจจัยของพฤติกรรมเสี่ยง ปัจจัยของพฤติกรรมเสี่ยง 1. ไม่เชื่อว่าออกกำลังกายทำให้แข็งแรง 2. มีความรู้ในการออกกำลังกายที่ไม่ถูกต้อง 3. มีทักษะที่ไม่ถูกต้องในการออกกำลังกาย 4. ขาดสถานที่/อุปกรณ์ในการออกกำลังกาย/ไกลบ้าน 5 ไม่มีเพื่อนออกกำลังกาย 1. ขาดความตระหนัก/ขาดความรู้ในการเลือกรับประทานอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการ 2.มีค่านิยมการบริโภคอาหารจานด่วนแบบแบบชาติตะวันตกเพิ่ม 3. ความเคยชิน/ชอบทานอาหารรสจัด ติดรสหวาน มัน เค็ม 4.เป็นอาหารที่หาซื้อได้สะดวกตามร้านค้าทั่วไป 5. เชื่อสื่อโฆษณา กินแล้วหุ่นดี้ ดี
1. เกณฑ์มาตรฐานระบบบริการสุขภาพด้านสุขศึกษา ปี2562 1. เกณฑ์มาตรฐานระบบบริการสุขภาพด้านสุขศึกษา ปี2562
การวิเคราะห์เปรียบเทียบ เกณฑ์ด้านสุขศึกษา ปี2561 & 2562 ประเด็น ปี2561 ปี2562 หมวด 4หมวด ( การบริหารจัดการ/ กระบวนการ/ คุณภาพ/ผลลัพธ์) 3หมวด ( การบริหารจัดการ(บูรณาการ)/ กระบวนการ/ ผลลัพธ์) เกณฑ์ รพ. = 41 เกณฑ์ ผู้เยี่ยม = 20 เกณฑ์ รพ.และ ผู้เยี่ยม (ชุดเดียวกัน) รพศ/รพท. = 26 เกณฑ์ รพช. = 25 เกณฑ์ คะแนน เหมือนเดิม 3 ช่วงคะแนน = ไม่ได้ทำ/0.5=ทำบางส่วน/1 ทำครบตามเกณฑ์ เกณฑ์การยกระดับ เหมือนเดิม 3 ระดับ = ระดับพื้นฐาน : ต่ำกว่า 60% /ระดับพัฒนา : ระหว่าง 60-85 % /ระดับคุณภาพ : มากกว่า 85 % เกณฑ์ที่ตัดออก ได้รับงบประมาณและ/หรือทรัพยากร เกณฑ์ที่ปรับ มีการประเมินความเสี่ยง/ มีนโยบาย รวมกับด้านที่1ด้านการจัดการ มีฐานข้อมูลสื่อ/เครือข่าย /ระดับการมีส่วนร่วมของชุมชน รวมกับกิจกรรม เกณฑ์ที่เพิ่ม 1.การวิเคราะห์ปัจจัยที่เป็นสาเหตุพฤติกรรมเสี่ยงและนำไปใช้ในการวางแผนการดำเนินงานสุขศึกษา 2.การออกแบบกิจกรรมและใช้สื่อที่สอดคล้องกับปัจจัยที่เป็นสาเหตุพฤติกรรมเสี่ยงและความต้อการของกลุ่มเป้าหมาย
ทบทวน/ประเมินตนเอง (HS4) นโยบาย มฐ. สบส. คน( คำสั่ง/ ผู้รับผิดชอบ) หมวดที่ 1การบริหารจัดการ นโยบาย มฐ. สบส. คน( คำสั่ง/ ผู้รับผิดชอบ) ปัญหาสาธารณสุข กลุ่มป่วย กลุ่มไม่ป่วย หมวดที่ 2 กระบวนการ การมีส่วนร่วม ข้อมูลพฤติกรรมสุขภาพ ข้อมูลพฤติกรรมสุขภาพ วิเคราะห์ปัจจัยสาเหตุ วิเคราะห์ปัจจัยสาเหตุ วางแผนและออกแบบกิจกรรม วางแผนและออกแบบกิจกรรม จัดกิจกรรม/เฝ้าระวัง สื่อ/เครือข่าย จัดกิจกรรม/เฝ้าระวัง สนับสนุนการดำเนินงาน สนับสนุนการดำเนินงาน ประเมินผล ประเมินผล หมวดที่ 3 ผลลัพธ์ วิจัย พฤติกรรม ภาวะสุขภาพ นวัตกรรม/ผลงานเด่น ความพึงพอใจ
มาตรฐานระบบบริการสุขภาพ รายละเอียดเกณฑ์ มาตรฐานระบบบริการสุขภาพ ด้านสุขศึกษา ปี2562 (รพศ./รพท. ( 26 เกณฑ์)& รพช.( 25 เกณฑ์)
เกณฑ์การประเมินมาตรฐาน ระบบบริการสุขภาพ ด้านสุขศึกษา Item เกณฑ์การประเมินมาตรฐาน ระบบบริการสุขภาพ ด้านสุขศึกษา รพศ./รพท. รพช. 1 มีบุคลากรดำเนินงานสุขศึกษาและได้รับการพัฒนาศักยภาพด้านพฤติกรรมสุขภาพและความรอบรู้ ด้านสุขภาพ(ในปีที่ผ่านมาจนถึงปีปัจจุบัน) Ö X มีผู้รับผิดชอบในกลุ่มงานสุขศึกษา แต่ผู้รับผิดชอบ ไม่ได้รับการพัฒนาศักยภาพ ในปีที่ ผ่านมาจนถึงปีปัจจุบัน 0.5 มีผู้รับผิดชอบในกลุ่มงานสุขศึกษาและผู้รับผิดชอบ ได้รับการพัฒนาศักยภาพ 1 คนในปีที่ มีผู้รับผิดชอบในกลุ่มงานสุขศึกษา และผู้รับผิดชอบ ได้รับการพัฒนาศักยภาพ 2 คนในปีที่ ไม่มีผู้รับผิดชอบงานสุขศึกษา หรือ ทีมงาน หรือ คณะกรรมการ ในปีที่ผ่านมาจนถึง ปีปัจจุบัน มีผู้รับผิดชอบงานสุขศึกษา หรือ ทีมงาน หรือ คณะกรรมการแต่ ไม่ได้รับการพัฒนา ศักยภาพในปีที่ผ่านมาจนถึงปีปัจจุบัน มีผู้รับผิดชอบงานสุขศึกษา หรือ ทีมงาน หรือ คณะกรรมการและได้รับการพัฒนา ศักยภาพ ในปีที่ผ่านมาจนถึงปีปัจจุบัน
เกณฑ์การประเมินมาตรฐาน ระบบบริการสุขภาพด้านสุขศึกษา Item เกณฑ์การประเมินมาตรฐาน ระบบบริการสุขภาพด้านสุขศึกษา รพศ./รพท. รพช. I. กระบวนการสุขศึกษาในกลุ่มไม่ป่วยเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพในชุมชน 2 มีข้อมูลพฤติกรรมสุขภาพ(HB) และหรือ ข้อมูลความรอบรู้ด้านสุขภาพ( HL) ที่สอดคล้องกับปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญ Ö ไม่มีข้อมูลพฤติกรรมสุขภาพ(HB) และหรือ ข้อมูลความรอบรู้ด้านสุขภาพ( HL) ในกลุ่มไม่ป่วย 0.5 มีข้อมูลพฤติกรรมสุขภาพ(HB)และหรือ ข้อมูลความรอบรู้ด้านสุขภาพ( HL) ในกลุ่มไม่ป่วย 1 มีข้อมูลพฤติกรรมสุขภาพ(HB)และหรือ ข้อมูลความรอบรู้ด้านสุขภาพ( HL) และนำไปใช้ในการวางแผนการดำเนินงานสุขศึกษา (กำหนดวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม) 3 มีการวิเคราะห์ปัจจัยสาเหตุพฤติกรรมสุขภาพ ที่สอดคล้องกับปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญ ไม่มีการวิเคราะห์ปัจจัยสาเหตุพฤติกรรมสุขภาพ มีการวิเคราะห์ปัจจัยสาเหตุพฤติกรรมสุขภาพ มีการวิเคราะห์ปัจจัยสาเหตุพฤติกรรมสุขภาพ และนำไปใช้ในการวางแผนการดำเนินงาน สุขศึกษา (ออกแบบกิจกรรม)
เกณฑ์การประเมินมาตรฐาน ระบบบริการสุขภาพด้านสุขศึกษา Item เกณฑ์การประเมินมาตรฐาน ระบบบริการสุขภาพด้านสุขศึกษา รพศ./รพท. รพช. I. กระบวนการสุขศึกษาในกลุ่มไม่ป่วยเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพในชุมชน 4 มีแผนงาน หรือ โครงการ หรือ โปรแกรมสุขศึกษา หรือ แผนการจัดกิจกรรมสุขศึกษาที่มีวัตถุประสงค์หรือตัวชี้วัดพฤติกรรมสุขภาพที่สอดคล้องกับปัญหาสาธารณสุขในพื้นที่รับผิดชอบของโรงพยาบาล( เครือข่ายCUP) Ö ไม่มีแผนงาน หรือ โครงการ หรือ โปรแกรมสุขศึกษา หรือ แผนการจัดกิจกรรมสุขศึกษา 0.5 มีแผนงาน หรือ โครงการ หรือ โปรแกรมสุขศึกษา หรือ แผนการจัดกิจกรรมสุขศึกษาแต่ไม่มีวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรมที่สอดคล้องกับข้อมูลพฤติกรรมในข้อ 2 1 มีแผนงาน หรือ โครงการ หรือ โปรแกรมสุขศึกษา หรือ แผนการจัดกิจกรรมสุขศึกษาและมีวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรมที่สอดคล้องกับข้อมูลพฤติกรรมในข้อ 2 5 มีการออกแบบกิจกรรมและใช้สื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ที่สอดคล้องกับปัจจัยสาเหตุพฤติกรรมสุขภาพและปัญหา ความต้องการและวิถีชีวิตของกลุ่มเป้าหมาย ไม่มีการออกแบบกิจกรรมและใช้สื่อ ที่ใช้ข้อมูลปัจจัยสาเหตุพฤติกรรม มีการออกแบบกิจกรรมการ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ที่ใช้ข้อมูลปัจจัยสาเหตุพฤติกรรมที่สอดคล้องกับข้อมูลการวิเคราะห์ในข้อ 3 มีการออกแบบกิจกรรม เลือกใช้สื่อและช่องทางที่เหมาะสมกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ และมีการใช้ข้อมูลปัจจัยสาเหตุพฤติกรรมที่สอดคล้องกับข้อมูลการวิเคราะห์ในข้อ 3
เกณฑ์การประเมินมาตรฐาน ระบบบริการสุขภาพด้านสุขศึกษา Item เกณฑ์การประเมินมาตรฐาน ระบบบริการสุขภาพด้านสุขศึกษา รพศ./รพท. รพช. 6 แผนงาน หรือ โครงการ หรือ โปรแกรมสุขศึกษา หรือ แผนการจัดกิจกรรมสุขศึกษา จัดทำโดยการมีส่วนร่วมของคณะกรรมการสุขศึกษา ทีมสหวิชาชีพ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และเครือข่ายตัวแทนภาคประชาชน Ö แผนงาน หรือ โครงการ หรือ โปรแกรมสุขศึกษา หรือ แผนการจัดกิจกรรมสุขศึกษา จัดทำโดยผู้รับผิดชอบงาน 0.5 แผนงานหรือโครงการ หรือ โปรแกรมสุขศึกษา หรือ แผนการจัดกิจกรรมสุขศึกษา จัดทำโดยการมีส่วนร่วมของคณะกรรมการสุขศึกษาหรือทีมสหวิชาชีพที่เกี่ยวข้อง 1 แผนงาน หรือ โครงการ หรือ โปรแกรมสุขศึกษา หรือ แผนการจัดกิจกรรมสุขศึกษา จัดทำโดยการมีส่วนร่วมของคณะกรรมการสุขศึกษา ทีมสหวิชาชีพ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และเครือข่ายตัวแทนภาค 7 มีแนวทางการประเมินผลการดำเนินงานสุขศึกษาและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพที่ระบุตัวชี้วัดพฤติกรรมสุขภาพ เครื่องมือ ระยะเวลา และกลุ่มเป้าหมาย ไม่มีแนวทางการประเมินผลงาน มีแนวทางการประเมินผลการดำเนินงานสุขศึกษาที่ระบุ ตัวชี้วัดพฤติกรรม/ ระยะเวลา/กลุ่มเป้าหมาย มีแนวทางการประเมินผลการดำเนินงานสุขศึกษา ที่ระบุ ตัวชี้วัดพฤติกรรม/ ระยะเวลา/กลุ่มเป้าหมายและ เครื่องมือ 8 มีการจัดกิจกรรมตามแผนงาน หรือ โครงการ หรือ โปรแกรมสุขศึกษา หรือ แผนการจัดกิจกรรมสุขศึกษาครบตามแผนที่กำหนด และการดำเนินกิจกรรมใช้การมีส่วนร่วมของคณะกรรมการสุขศึกษาหรือ ทีมสหวิชาชีพ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และตัวแทนภาคประชาชน มีการจัดกิจกรรมไม่ครบตามแผน มีการจัดกิจกรรมครบตามแผนและการจัดกิจกรรมใช้การส่วนร่วมของคณะกรรมการสุขศึกษาหรือทีมสหวิชาชีพ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง มีการจัดกิจกรรมครบตามแผนและการจัดกิจกรรมใช้มีการส่วนร่วมของคณะกรรมการสุขศึกษาหรือทีมสหวิชาชีพ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และตัวแทนภาคประชาชน
เกณฑ์การประเมินมาตรฐาน ระบบบริการสุขภาพด้านสุขศึกษา Item เกณฑ์การประเมินมาตรฐาน ระบบบริการสุขภาพด้านสุขศึกษา รพศ./รพท. รพช. 9 มีการ สนับสนุน เสริมพลังให้กับภาคี เครือข่าย แกนนำสุขภาพภาคประชาชน ในการดำเนินงานสุขศึกษาและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ Ö ไม่มีการสนับสนุนเสริมพลังให้กับภาคีเครือข่าย 0.5 มีการสนับสนุน เสริมพลังให้กับภาคีเครือข่ายสุขภาพที่เป็นเจ้าหน้าที่สาธารณสุข 1 มีการสนับสนุน เสริมพลังให้แก่ภาคีเครือข่ายสุขภาพ แกนนำสุขภาพภาคประชาชน 10 มีการประเมินผลและรายงานผลเป็นลายลักษณ์อักษร ไม่มีการประเมินผล มีผลการประเมินในระดับปัจจัยและหรือระดับภาวะสุขภาพ มีผลการประเมินพฤติกรรมสุขภาพตามวัตถุประสงค์เมื่อสิ้นสุดโครงการ 11 มีการเฝ้าระวังพฤติกรรมสุขภาพและนำผลการเฝ้าระวังไปใช้ในการปรับกิจกรรมในแผนงาน/โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ไม่มีการเฝ้าระวังพฤติกรรมสุขภาพ มีแผนหรือแนวทางวิธีการเฝ้าระวังพฤติกรรมสุขภาพ ในพฤติกรรมที่เป็นปัญหาสอดคล้องตามแผน มีการเฝ้าระวังและนำผลการเฝ้าระวังไปใช้ในการปรับกิจกรรมในแผนงาน/โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
เกณฑ์การประเมินมาตรฐาน ระบบบริการสุขภาพด้านสุขศึกษา Item เกณฑ์การประเมินมาตรฐาน ระบบบริการสุขภาพด้านสุขศึกษา รพศ./รพท. รพช. II กระบวนการสุขศึกษาในกลุ่มป่วยเพื่อสร้างเสริมการจัดการตนเองในผู้ป่วยและครอบครัว 12 มีข้อมูลพฤติกรรมสุขภาพ(HB) และหรือ ข้อมูลความรอบรู้ด้านสุขภาพ( HL) ที่สอดคล้องกับ 5 ปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญ ของ คป.สอ. Ö ไม่มีข้อมูลพฤติกรรมสุขภาพ(HB) และหรือ ข้อมูลความรอบรู้ด้านสุขภาพ ( HL) 0.5 มีข้อมูลพฤติกรรมสุขภาพ(HB) และหรือ ข้อมูลความรอบรู้ด้านสุขภาพ ( HL) 1 มีข้อมูลพฤติกรรมสุขภาพ(HB)และหรือ ข้อมูลความรอบรู้ด้านสุขภาพ(HL) และ นำไปใช้ในการวางแผนการดำเนินงานสุขศึกษา (กำหนดวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม) 13 มีการวิเคราะห์ปัจจัยสาเหตุพฤติกรรมสุขภาพ ที่สอดคล้องกับปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญ ไม่มีการวิเคราะห์ปัจจัยสาเหตุพฤติกรรมสุขภาพ มีการวิเคราะห์ปัจจัยสาเหตุพฤติกรรมสุขภาพ มีการวิเคราะห์ปัจจัยสาเหตุพฤติกรรมสุขภาพ และนำไปใช้ในการวางแผนการดำเนินงานสุขศึกษา (ออกแบบกิจกรรม) 14 มีแผนงาน หรือ โครงการ หรือ โปรแกรมสุขศึกษา หรือ แผนการจัดกิจกรรมสุขศึกษาที่มีวัตถุประสงค์หรือตัวชี้วัดพฤติกรรมสุขภาพที่สอดคล้องกับปัญหาสาธารณสุขในพื้นที่รับผิดชอบของโรงพยาบาล ไม่มีแผนงาน หรือ โครงการ หรือ โปรแกรมสุขศึกษา หรือ แผนการจัดกิจกรรมสุขศึกษา มีแผนงาน หรือ โครงการ หรือ โปรแกรมสุขศึกษา หรือ แผนการจัดกิจกรรมสุขศึกษาแต่ไม่มีวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรมที่สอดคล้องกับข้อมูลพฤติกรรมในข้อ 13 มีแผนงาน หรือ โครงการ หรือ โปรแกรมสุขศึกษา หรือ แผนการจัดกิจกรรมสุขศึกษาและมีวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรมที่สอดคล้องกับ ข้อมูลพฤติกรรมในข้อ 13
เกณฑ์การประเมินมาตรฐาน ระบบบริการสุขภาพด้านสุขศึกษา Item เกณฑ์การประเมินมาตรฐาน ระบบบริการสุขภาพด้านสุขศึกษา รพศ./รพท. รพช. I. กระบวนการสุขศึกษาในกลุ่มป่วยเพื่อสร้างเสริมการจัดการตนเองในผู้ป่วยและครอบครัว 15 มีการออกแบบกิจกรรมและใช้สื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ที่สอดคล้องกับปัจจัยสาเหตุพฤติกรรมสุขภาพและปัญหา ความต้องการและวิถีชีวิตของกลุ่มเป้าหมาย Ö ไม่มีการออกแบบกิจกรรมและใช้สื่อ ที่ใช้ข้อมูลปัจจัยสาเหตุพฤติกรรม 0.5 มีการออกแบบกิจกรรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ที่ใช้ข้อมูลปัจจัยสาเหตุพฤติกรรมที่สอดคล้องกับข้อมูลการวิเคราะห์ในข้อ 14 1 มีการออกแบบกิจกรรม เลือกใช้สื่อและช่องทางที่เหมาะสมกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ที่ใช้มูลปัจจัยสาเหตุพฤติกรรมที่สอดคล้องกับข้อมูลการวิเคราะห์ในข้อ 14 16 แผนงาน หรือ โครงการ หรือโปรแกรม สุขศึกษาหรือ แผนการจัดกิจกรรมสุขศึกษา จัดทำโดยการมีส่วนร่วมของคณะกรรมการสุขศึกษา ทีมสหวิชาชีพ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และเครือข่ายตัวแทนภาคประชาชน แผนงาน หรือ โครงการ หรือ โปรแกรมสุขศึกษา หรือ แผนการจัดกิจกรรมสุขศึกษา จัดทำโดยผู้รับผิดชอบงาน แผนงาน หรือ โครงการ หรือ โปรแกรมสุขศึกษา หรือ แผนการจัดกิจกรรมสุขศึกษา จัดทำโดยการมีส่วนร่วมของคณะ กรรมการสุขศึกษาหรือ ทีมสหวิชาชีพที่เกี่ยวข้อง แผนงาน หรือ โครงการ หรือ โปรแกรมสุขศึกษา หรือ แผนการจัดกิจกรรมสุขศึกษา จัดทำโดยการมีส่วนร่วมของคณะ กรรมการสุขศึกษา ทีมสหวิชาชีพและ ผู้ป่วย/ครอบครัว
เกณฑ์การประเมินมาตรฐาน ระบบบริการสุขภาพด้านสุขศึกษา Item เกณฑ์การประเมินมาตรฐาน ระบบบริการสุขภาพด้านสุขศึกษา รพศ./รพท. รพช. 17 มีแนวทางการประเมินผลการดำเนินงานสุขศึกษาและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพที่ระบุตัวชี้วัดพฤติกรรมสุขภาพ เครื่องมือ ระยะเวลา และกลุ่มเป้าหมาย Ö ไม่มีแนวทางการประเมินผลงาน 0.5 มีแนวทางการประเมินผลการดำเนินงานสุขศึกษาที่ระบุ ตัวชี้วัดพฤติกรรม/ ระยะเวลา/ กลุ่มเป้าหมาย 1 มีแนวทางการประเมินผลงานสุขศึกษาที่ระบุ ตัวชี้วัดพฤติกรรม/ระยะเวลา/กลุ่มเป้าหมาย และ เครื่องมือ 18 มีการจัดกิจกรรมตามแผนงาน หรือ โครงการ หรือ โปรแกรมสุขศึกษา หรือ แผนการจัดกิจกรรมสุขศึกษาครบตามแผนที่กำหนดและการจัดกิจกรรมใช้การมีส่วนร่วมของคณะกรรมการสุขศึกษาหรือ ทีมสหวิชาชีพ ผู้ป่วยและครอบครัว มีการจัดกิจกรรมสุขศึกษา ไม่ครบตามแผน มีการจัดกิจกรรมสุขศึกษา ครบตามแผนและการจัดกิจกรรมสุขศึกษา ใช้การมีส่วนร่วมของ คณะกรรมการสุขศึกษาหรือ ทีมสหวิชาชีพที่เกี่ยวข้อง คณะกรรมการสุขศึกษา ทีมสหวิชาชีพ และผู้ป่วย/ครอบครัว
เกณฑ์การประเมินมาตรฐาน ระบบบริการสุขภาพด้านสุขศึกษา Item เกณฑ์การประเมินมาตรฐาน ระบบบริการสุขภาพด้านสุขศึกษา รพศ./รพท. รพช. 19 มีการ สนับสนุน เสริมพลังให้กับภาคีเครือข่าย แกนนำสุขภาพภาคประชาชน ในการดำเนินงานสุขศึกษาและพัฒนา พฤติกรรมสุขภาพ Ö ไม่มีการสนับสนุนเสริมพลังให้กับภาคีเครือข่าย 0.5 มีการสนับสนุน เสริมพลังให้กับภาคีเครือข่ายที่เป็นเจ้าหน้าที่สาธารณสุข 1 มีการสนับสนุน เสริมพลังให้แก่ภาคีเครือข่ายสุขภาพ แกนนำสุขภาพภาคประชาชน 20 มีการประเมินผลและรายงานผลเป็นลายลักษณ์อักษร ไม่มีการประเมินผล มีผลการประเมินระดับปัจจัยและหรือระดับภาวะสุขภาพ มีผลการประเมินพฤติกรรมสุขภาพตามวัตถุประสงค์เมื่อสิ้นสุดโครงการ 21 มีการเฝ้าระวังพฤติกรรมสุขภาพที่ระบุพฤติกรรมสุขภาพเป้าหมายวิธีการและเครื่องมือ ระยะเวลา ไม่มีการเฝ้าระวังพฤติกรรมสุขภาพ มีแผนหรือแนวทาง วิธีการเฝ้าระวังพฤติกรรมสุขภาพ ในพฤติกรรมที่เป็นปัญหาสอดคล้องตามแผน มีการเฝ้าระวังและนำ ผลการเฝ้าระวังไปใช้ในการปรับกิจกรรมในแผนงาน/โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
เกณฑ์การประเมินมาตรฐาน ระบบบริการสุขภาพด้านสุขศึกษา Item เกณฑ์การประเมินมาตรฐาน ระบบบริการสุขภาพด้านสุขศึกษา รพศ./รพท. รพช. 22 มีการวิจัยด้านสุขศึกษาและพฤติกรรมสุขภาพที่สอดคล้องกับปัญหาสาธารณสุขของโรงพยาบาล และเกี่ยวกับ กระบวนการดำเนินงานสุขศึกษาและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ อย่างน้อย 1 เรื่อง (ย้อนหลังได้ 3 ปีรวมปีปัจจุบัน)) Ö X ไม่มีการวิจัยด้านสุขศึกษาและพฤติกรรมสุขภาพ 0.5 มีโครงร่างงานวิจัยด้านสุขศึกษาและพฤติกรรมสุขภาพที่สอดคล้องกับ 1ใน 5 ปัญหาสาธารณสุขของ หน่วยงานหรือพื้นที่(บทที่ 1-3) 1 มีรายงานการวิจัยด้านสุขศึกษาและพฤติกรรมสุขภาพที่สอดคล้องกับ 1ใน 5 ปัญหาสาธารณสุขของหน่วยงานหรือพื้นที่ 23/22 กลุ่มเป้าหมายที่ผ่านกระบวนการสุขศึกษามีพฤติกรรมสุขภาพ (HB) หรือความรอบรู้ทางสุขภาพ(HL) ในปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ถูกต้องเพิ่มขึ้น ไม่สามารถแสดง ผลพฤติกรรมสุขภาพ (HB) หรือความรอบรู้ทางสุขภาพ(HL) ที่เปลี่ยนไปได้ สามารถพฤติกรรมสุขภาพ (HB) หรือความรอบรู้ทางสุขภาพ(HL) ที่เปลี่ยนไปของกลุ่มเป้าแสดงผลเปรียบเทียบหมาย ได้ 1 กลุ่ม (กลุ่มไม่ป่วย หรือกลุ่มป่วย) สามารถแสดงผลเปรียบเทียบพฤติกรรมสุขภาพ (HB) หรือความรอบรู้ทางสุขภาพ(HL) ของกลุ่มเป้าหมายได้ทั้ง2 กลุ่ม (กลุ่มไม่ป่วย และกลุ่มป่วย) 24/23 กลุ่มเป้าหมาย ที่ผ่านกระบวนการสุขศึกษามีภาวะสุขภาพที่ดีขึ้น ไม่สามารถแสดงผลภาวะสุขภาพที่เปลี่ยนไปได้ สามารถแสดงผลเปรียบเทียบภาวะสุขภาพที่เปลี่ยนไปได้ของกลุ่มเป้าหมาย ได้ 1 กลุ่ม (กลุ่มไม่ป่วย หรือกลุ่มป่วย) สามารถแสดงผลเปรียบเทียบภาวะสุขภาพที่เปลี่ยนไปได้ของกลุ่มเป้าหมาย ได้ทั้ง 2 กลุ่ม (กลุ่มไม่ป่วยและกลุ่มป่วย)
เกณฑ์การประเมินมาตรฐาน ระบบบริการสุขภาพด้านสุขศึกษา Item เกณฑ์การประเมินมาตรฐาน ระบบบริการสุขภาพด้านสุขศึกษา รพศ./รพท. รพช. 25 มีนวัตกรรม หรือ ต้นแบบ หรือผลงานเด่นที่ประสบความสำเร็จในการดำเนินงานสุขศึกษาและพัฒนา พฤติกรรมสุขภาพ ปีละ 1เรื่อง ภายใต้ปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญ 5 ปัญหา Ö X ไม่มีนวัตกรรม หรือ ต้นแบบ หรือผลงานเด่นที่ประสบความสำเร็จในการดำเนินงาน ปีละ 1เรื่อง ภายใต้ปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญ 5 ปัญหา 0.5 มีนวัตกรรม หรือ ต้นแบบ หรือผลงานเด่นที่ประสบความสำเร็จในการดำเนินงานปีละ 1เรื่อง ภายใต้ปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญ 5 ปัญหา 1 มี นวัตกรรม หรือ ต้นแบบ หรือผลงานเด่นที่ประสบความสำเร็จในการดำเนินงาน และ มีการเผยแพร่สู่สาธารณะ 24 มีงานวิจัย หรือ นวัตกรรม หรือ ต้นแบบ หรือผลงานเด่นที่ประสบความสำเร็จในการดำเนินงานสุขศึกษาและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพปีละ 1เรื่อง ภายใต้ปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญ 5 ปัญหา ไม่มี มีงานวิจัย หรือ นวัตกรรม หรือ ต้นแบบ หรือผลงานเด่นที่ประสบความสำเร็จ มีต้นแบบ หรือผลงานเด่นที่ประสบความสำเร็จ มีงานวิจัย หรือ นวัตกรรม 26//25 ร้อยละของกลุ่มเป้าหมายมีความพึงพอใจ ต่อกระบวนการสุขศึกษาตามแผนงานโครงการ ไม่มีการสำรวจความพึงพอใจ ผลการประเมินความพึงพอใจต่อบริการสุขศึกษา น้อยกว่าร้อยละ 80 มีผลการประเมินความพึงพอใจต่อบริการสุขศึกษามากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 80 รวมจำนวนเกณฑ์ 26
3. ผู้ทำงานวิจัยเป็นบุคลากรในโรงพยาบาลหรือในเครือข่ายโรงพยาบาล ข้อกำหนดของงานวิจัย 1. เป็นวิจัยที่มีวัตถุประสงค์ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่สอดคล้องกับปัญหาสาธารณสุขในพื้นที่ 1 ใน 5 ปัญหา 2. พื้นที่/กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยอยู่ในความรับผิดชอบของ CUP หรือเครือข่ายโรงพยาบาล / รพ.สต. 3. ผู้ทำงานวิจัยเป็นบุคลากรในโรงพยาบาลหรือในเครือข่ายโรงพยาบาล 4. อายุงานวิจัย 3ปี (ปีงบประมาณ 60, 61, 62)ที่ยังไม่เคยนำเสนอในการเยี่ยม ปีที่ผ่านมา 5. รูปแบบวิจัยเป็น งานวิจัย R2R /Case study /ถอดบทเรียน) ที่ไม่ใช่วิทยานิพนธ์
2. แนวทางการเยี่ยมประเมินมาตรฐานระบบ บริการสุขภาพ ด้านสุขศึกษา ปี2562
หลักการเยี่ยมประเมินมาตรฐานระบบบริการสุขภาพ ด้านสุขศึกษา หลักการเยี่ยมประเมินมาตรฐานระบบบริการสุขภาพ ด้านสุขศึกษา ขอบเขตการดำเนินงานสุขศึกษาของ รพ. หมายถึง การดำเนินงานสุขศึกษาเพื่อแก้ไข ปัญหาสุขภาพใน คป.สอ./CUP ประชาชน/ผู้รับบริการของรพ.หมายถึง ประชาชนที่อยู่ในพื้นที่คป.สอ./CUP(ในชุมชน: กลุ่มเสี่ยง(เขียวอ่อน)กลุ่มปกติ(ขาว) ในรพ.กลุ่มป่วย( สีเหลือง) รพ. มีการดำเนินงานใน 5 ปัญหาที่สำคัญของ คป.สอ./CUP รพ. ประเมินตนเอง ใน HS4 ก่อนการเยี่ยมประเมิน 1 สัปดาห์ โดยใช้ข้อมูลการ ดำเนินงานสุขศึกษาและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ 1 ปัญหา ที่สอดคล้องกับ 5 ปัญหาในอันดับต้นๆ เป็นข้อมูลปีปัจจุบัน รพ.สต. เป้าหมายอย่างน้อย 2 แห่งมีการดำเนินงานในชุมชน และร่วมให้ข้อมูล คือ -รพ.สต.ที่มีอัตราความชุกสูง(เพื่อให้สอดคล้องกับ 2.9 และ 3.5) - รพ.สต.ที่มีความเข็มแข็ง เพื่อเป็นต้นแบบ ** ปี 62 ให้ส่งหลักฐานเพิ่มเติมได้ภายในวันที่ 15 สิงหาคม 2562หรือตามที่สบส.เขตแต่ละเขต กำหนด**
กรอบการเยี่ยมประเมินมาตรฐานระบบบริการสุขภาพ แนวคิด/หลักการ : กัลยาณมิตร /สอนงาน เครื่องมือ/เกณฑ์ 7 ด้าน ด้านที่ 1-6 ระบบการจัดการคุณภาพและความปลอดภัย ด้านอาคารสิ่งแวดล้อมและเครื่องมือแพทย์ในโรงพยาบาล ด้านที่ 7 ระบบงานสุขศึกษา (รพ.และ ผู้เยี่ยมใช้แบบเดียวกัน) 20 เกณฑ์ รพศ/ท 26 เกณฑ์ และ รพช 25 เกณฑ์ ผู้เยี่ยมประเมินฯ คณะกรรมการเยี่ยมประเมินระดับเขต ทีมละ 5-7 คน ต่อ 25 รพ. ประเมินความพึงพอใจ ปรับปรุงคุณภาพการเยี่ยมประเมิน ระยะเวลา ประเด็นการเยี่ยม ฯ กระบวนการเยี่ยม ฯ ผู้รับการเยี่ยม ฯ สรุปการเยี่ยม ฯ ไตรมาส 1 : -การบริหารจัดการ 1.รพ.มีการประเมินตนเอง 1. ผู้บริหาร รพ./ทีม จนท.ที่เกี่ยวข้อง 1. สรุปการตรวจเยี่ยมเบื้องต้นต่อผู้รับการเยี่ยม ประชุมชี้แจง /จัดทำแผน - กระบวนงานที่มีคุณภาพ HS4 ไตรมาส 2-3 : - ผลการดำเนินงานตามมาตรฐาน 2.คณะกรรมการฯลงเยี่ยม 2. รพ.สต.เครือข่าย 2 แห่ง ในที่ประชุม ดำเนินการเยี่ยมประเมิน 3.Concept KM / Empowering Survey (ความชุกสูง/ต้นแบบ) 2. แจ้งผลผ่าน สสจ./สำเนาถึง ผอ.รพ. ภายใน 30 วัน หลังการประชุมรับรองผล ไตรมาส 3-4 : -นวัตกรรม/Best Practice 3. ภาคี เครือข่ายสุขภาพ รายงานผล -โอกาสพัฒนาของสถานบริการสุขภาพ กัลยาณมิตร
ขั้นตอนการเยี่ยมประเมิน (เหมือนเดิม) ขั้นตอนการเยี่ยมประเมิน (เหมือนเดิม) ก่อนการเยี่ยมฯ รพ.ประเมินตนเองผ่านโปรแกรม HS4 โดย log in ที่ IP Address 164.115.27.219 และแนบไฟล์ข้อมูล/หลักฐาน การดำเนินงาน (Unit Profile) ระหว่างการเยี่ยม ผู้รับการเยี่ยม ได้แก่ ผู้บริหาร ผู้เกี่ยวข้องทั้งใน รพ. และ เครือข่ายจากชุมชน ได้แก่ ทีม PCT/PCC/ รพ.สต.เครือข่ายอย่างน้อย 2 แห่ง คือ รพ.สต. ที่มีอัตราความชุกสูง (เพื่อเชื่อมโยงต่อการลดอัตราการเกิดผู้ป่วยรายใหม่ และ รพ.สต. พื้นที่ต้นแบบ) บุคคลต้นแบบ เครือข่ายสุขภาพที่ร่วมจัดกิจกรรมสุขศึกษา รพ.นำเสนอ power point การดำเนินงานสุขศึกษา และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ นำเสนออย่างน้อย 1 ปัญหาอันดับต้นๆ เป็นข้อมูลปีปัจจุบัน ที่มีการดำเนินงานได้ครอบคลุมตามเกณฑ์ที่ให้ผู้เยี่ยมเยี่ยมเสริมพลัง บริการสุขศึกษาในกลุ่มป่วย /ไม่ป่วย โดยรพ.สต. เป้าหมายอย่างน้อย 2 แห่ง ร่วมให้ข้อมูลที่ดำเนินการในชุมชน ) ข้อมูลผลลัพธ์การดำเนินงาน/นวัตกรรม/ผลประเมินความพึงพอใจ ผลการประเมินตนเอง/ความเสี่ยงต่อคุณภาพที่ยังมีอยู่/แนวทางจัดการความเสี่ยง รพ. นำคณะกรรมการฯ เยี่ยมหน่วยงานตามรอยคุณภาพการดำเนินงาน โดยแสดงผังกระบวนงาน ( Flowchart) ที่แสดงขั้นตอนกระบวนงานสุขศึกษา ที่ - กลุ่มงานสุขศึกษา คลินิกปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (ถ้ามี) - เวชกรรม หรือ เวชศาสตร์ครอบครัว หน่วยบริการอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับบริการสุขศึกษาตามปัญหา สธ.ที่นำเสนอ คณะกรรมการเยี่ยมฯ สรุปสิ่งที่พบเห็นจากการเยี่ยม/ข้อเสนอแนะในพัฒนาฯ - นำเสนอ คืนข้อมูลให้กับทีมรพ. - บันทึกลงใน มฐ.1.2 และส่งผลให้ สบส.เขตบันทึกในโปรแกรม HS4
ขั้นตอนการเยี่ยมประเมิน (เหมือนเดิม) ขั้นตอนการเยี่ยมประเมิน (เหมือนเดิม) หลังการเยี่ยมประเมิน คณะกรรมการรับรองของ สบส.เขต ประชุมรับรองผลภายใน 30 สค. 62 สบส. เขต บันทึกผลในโปรแกรม HS4 สบส.เขตแจ้งผลผ่านนายแพทย์สาธารณสุขจังหวัด/สำเนาส่งผอ.รพ. PPT. นำเสนอข้อมูล มีประเด็นดังนี้ 1. ข้อมูลทั่วไปของโรงพยาบาล ได้แก่นโยบายด้านสุขศึกษา โครงสร้าง อัตรากำลัง คณะกรรมการที่เกี่ยวข้องกับ การส่งเสริมสุขภาพของโรงพยาบาล 2. ปัญหาสาธารณสุข 5 อันดับแรก 3. ข้อมูล HL/ HB (ในชุมชน :กลุ่มเสี่ยง( เขียวอ่อน)/กลุ่มปกติ(ขาว)และในรพ.:กลุ่มป่วย( สีเหลือง) 4. นำเสนอโดยสรุป แผนยุทธศาสตร์ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของคป.สอ./CUP/ โครงการเชิงรุก และหรือโปรแกรมสุขศึกษา และหรือ ข้อมูลการจัดบริการสุขศึกษา (งานปกติ) โครงการของคณะกรรมการสุขศึกษา 5. ผลลัพธ์ของการดำเนินงานสุขศึกษา ผลการเปลี่ยนแปลงHL/ HB ภาวะสุขภาพ 6. Best Practice บุคคลต้นแบบ พื้นที่ต้นแบบ 7. ผลการประเมินตนเอง/ความเสี่ยงและแผนการพัฒนา
จากโรงพยาบาลที่ผ่านมาตรฐานสุขศึกษา ประชาชนได้อะไร จากโรงพยาบาลที่ผ่านมาตรฐานสุขศึกษา ได้รับข้อมูลข่าวสารที่จำเป็นต่อสุขภาพและได้รับการฝึกทักษะที่จำเป็นในการดูแลสุขภาพของตนเอง อันจะส่งผลถึงการไม่กลับมารักษาในโรคเดิมก่อนเวลา (Re-Admit) ป้องกันไม่ให้เจ็บป่วยด้วยโดยที่ป้องกันได้
THANK YOU