กลยุทธ์การออกแบบ การจัดบริการสนับสนุนการเรียนรู้เชิงรุกสำหรับห้องเรียนอัจฉริยะ (Strategic for Services Design to Supporting Active Learning in Smart Classroom)
เกริ่นนำ “ ศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษา และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้รับมอบหมายจากมหาวิทยาลัยให้ออกแบบห้องเรียนอัจฉริยะ Smart Classroom และร่วมกำหนด กลยุทธ์เพื่อสนับสนุนการเรียนการสอน Smart Classroom ได้รับการออกแบบให้ตอบสนองการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล รองรับการเรียนการสอนออนไลน์ โดยมีเทคโนโลยีที่ทันสมัย มีกระบวนการในการดำเนินงานภายใต้วงจรคุณภาพ (PDCA) . “ Smart Classroom
ลักษณะห้องเรียนอัจฉริยะ Smart Classroom สภาพแวดล้อมในห้องเรียนสามารถสร้างบรรยากาศ ให้มีการเรียนการสอนแบบ มีส่วนร่วม โต๊ะ เก้าอี้ ระบบไฟฟ้า ระบบปรับอากาศ สิ่งอำนวยความสะดวกในห้องเรียน อำนวยความสะดวกในการ เรียนการสอน อุปกรณ์และเทคโนโลยีที่ ทันสมัย เป็นการจัดสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ให้เหมาะสมกับการเรียนรู้ ในยุคดิจิทัล โดยเน้นการสร้างปฏิสัมพันธ์ในการเรียนร่วมกัน กับสื่อเทคโนโลยีที่หลากหลาย กิจกรรมกลุ่มย่อย (Small group) การบรรยาย (Lecture) โครงงาน (Project) ผู้เรียน และผู้สอนได้พัฒนาทักษะการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้ เสริมสร้างประสบการณ์การเรียนการสอนทั้งผู้เรียน และผู้สอน การนำเสนอ (Presentation)
ห้องเรียนอัจฉริยะ Smart Classroom S (Showing) 01 M (Manageable) A (Accessible) R (Real-time Interactive) T (Testing) องค์ประกอบของ Smart Classroom ผู้สอน, ผู้เรียน, สื่อ
01
กลยุทธ์การสนับสนุนการเรียนรู้สำหรับห้องเรียนอัจฉริยะ P Plan D Do C Check A Act
กลยุทธ์การสนับสนุนการเรียนรู้สำหรับ ห้องเรียนอัจฉริยะ ภายใต้วงจร PDCA Plan : การวางแผนและกำหนดกรอบการดำเนินงาน โดยเริ่มจาก ศึกษาแนวคิดและข้อมูลเบื้องต้น การศึกษาดูงานที่เกี่ยวกับ Smart Classroom นำผลการศึกษามากำหนดกรอบการดำเนินงานเพื่อออกแบบการบริการ (Service Design) ในห้องเรียน
Plan การวางแผนและกำหนดกรอบของการดำเนินงาน เป็นการจัดสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ให้เหมาะสมกับการยุคดิจิทัล โดยเน้นการสร้างปฏิสัมพันธ์ในการเรียนร่วมกันกับสื่อเทคโนโลยีที่หลากหลาย 01 การศึกษาเบื้องต้นเกี่ยวกับห้องเรียน Smart Classroom S (Showing) M (Managenable) A (Accessile) R (Real-time Interractive T (Testing) ความหมาย SMART Classroom
Plan การวางแผนและกำหนดกรอบของการดำเนินงาน 02 ห้องเรียน มี 3 รูปแบบ BASIC intermediate Advance รูปแบบและคุณลักษณะของห้อง Smart Classroom กำหนดกรอบแนวคิดและคุณลักษณะ ของห้องเรียน Smart Classroom ห้องเรียนขนาดเล็ก (35-40 คนต่อห้อง) จัดทำข้อเสนอโครงการขับเคลื่อน วางแผนติดตั้งจัดหาอุปกรณ์สื่อโสต ระบบเครือข่าย ออกแบบและพัฒนากลไกการสนับสนุนการเรียนการสอน กำหนดกรอบการดำเนินงาน Smart Classroom
การศึกษาดูงานห้องเรียน Smart Classroom
การออกแบบระบบสนับสนุนการเรียนการสอน ห้อง Smart Classroom
DO คือ การลงมือปฏิบัติตามกรอบที่กำหนด ติดตั้งอุปกรณ์โสตทัศนูปกรณ์พื้นฐาน ติดตั้งระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ติดตั้งอุปกรณ์และระบบในห้องเรียน Smart Classroom เพิ่มประสิทธิภาพของการสื่อสารแบบไร้สายรองรับการเรียนการสอนแบบออนไลน์ ณ อาคารสถาปัตยกรรมและการออกแบบ วิเคราะห์รูปแบบการเรียนการสอนที่ตอบสนองการเรียนการสอน Active Learning จัดหาครุภัณฑ์และโปรแกรมประยุกต์ (Application) ห้องเรียน Smart Classroom โครงการมหาวิทยาลัยสีเขียวเพื่อติดตั้งระบบประหยัดไฟฟ้า ห้องเรียน Smart Classroom
อุปกรณ์ในห้องเรียน Smart Classroom
การออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนสำหรับห้อง ระบบ LMS Moodle การออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนสำหรับห้อง Smart Classroom ตอบสนอง การเรียนการสอน ในรูปแบบ Active Learning Flipped Classroom MOOCs Courses Team-Based Learning
การเรียนรูปแบบต่าง ๆในห้องเรียน Smart Classroom
THAI MOOC การเรียนรู้ตามอัธยาศัย
การประยุกต์ Application เช่น Kahoot, Socrative, หรือใช้ Application อื่น ๆ รวมทั้งการใช้เครื่องมือ Clicker Application Socrative อุปกรณ์ Clicker Application Kahoot
การเรียนนำเสนอแลกเปลี่ยนความรู้โดยผ่านทางอุปกรณ์ Smart Phone, Tablet, Notebook ผ่านทางหน้าจอโปรเจตเตอร์หน้าห้องเรียน ซึ่งสามารถนำเสนอได้ถึง 4 หน้าจอโดยใช้ VIA
การบันทึกการเรียนการสอน โดยระบบการบันทึกการสอนได้ด้วยตนเองด้วยเครื่องบันทึกวีดิทัศน์แบบ USB และสามารถตรวจสอบบรรยากาศการเรียนการสอนได้ทุกห้องเรียน หรือสามารถบันทึกวีดิทํศน์ด้วยตนเองด้วยเครื่อง ROBOT Swivl ซึ่งสามารถบันทึกการเรียนการสอนด้วยตนเองได้เก็บไฟล์งานไว้ในระบบ Cloud
บันทึกวีดิทัศน์ด้วยตนเองด้วยเครื่อง ROBOT Swivl
การออกแบบบริการสนับสนุนการเรียนการสอนห้อง Smart Classroom ศูนย์บรรณสารฯ ได้เลือกกระบวนการ การสนับสนุนการเรียนการสอนห้องเรียนอัจฉริยะ (Smart Classroom) ซึ่งออกแบบเพื่อพัฒนาคุณภาพไปสู่การเป็นองค์กรสมรรถนะสูง ดังนี้ (1) พัฒนาระบบบริการโดยใช้ PDCA (2) ออกแบบวิธีการบริการให้เป็นมาตรฐาน (3) ประเมินผลการให้บริการ ซึ่งกำหนดตัวชี้วัด คือ ร้อยละ 80 มีความพึงพอใจต่อการบริการ/คุณภาพบริการ และ ผู้ใช้รับรู้และมีความพึงพอใจโดยรวมในระดับมาก-มากที่สุด ภาพ แสดงแนวทางการดำเนินงานเพื่อพัฒนาไปสู่องค์กรสมรรถนะสูง
บทบาทของบรรณารักษ์ต่อการสนับสนุนการเรียนการสอน ในห้องเรียน Smart Classroom บรรณารักษ์สามารถทำหน้าที่ในบทบาทร่วมกับอาจารย์เจ้าของรายวิชา ในการนำทรัพยากรสารสนเทศ หรือสารสนเทศจากแหล่งที่สามารถสนับสนุนการเรียนการสอน เพื่อช่วยเหลืออาจารย์เจ้าของวิชา รวมถึงทำหน้าที่ในการติดต่อระหว่างผู้สอนและผู้เรียนในห้องเรียนอัจฉริยะ โดยสามารถใช้ความสามารถของระบบห้องเรียนอัจฉริยะในด้านต่าง ๆ สนับสนุนการเรียนการสอน ได้แก่ การหา แหล่งข้อมูล (text, html, upload, weblink, webpage หรือ program) โดยผู้สอนและผู้เรียนในห้องเรียนของรายวิชานั้น ๆ สามารถอ่านเนื้อหาย่อของหนังสือ บทความวิชาการ หรือสารสนเทศที่เสริมและเกี่ยวข้องกับเนื้อหา ที่บรรณารักษ์ได้เข้าร่วมศึกษาในแต่ละรายวิชา และฝากคำถาม หรือแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
Check คือ การตรวจสอบและประเมินผลการทำงาน ประเมินผลการดำเนินงานสรุปได้ดังนี้ การพัฒนาหลักสูตรออนไลน์รายวิชา Smart Classroom & Application ศูนย์บรรณสารฯ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ได้ร่วมกันพัฒนาหลักสูตร Smart Classroom and Application บน elearning.wu.ac.th เพื่อผู้ที่สนใจสามารถเข้าเรียนได้ด้วยตนเอง เนื้อหาหลักสูตรประกอบด้วย You can simply impress your audience and add a unique zing and appeal to your Presentations. Your Text Here You can simply impress your audience and add a unique zing and appeal to your Presentations. Your Text Here แนะนำระบบสนับสนุนการเรียนการสอน Smart Classroom ความสามารถและการใช้งานระบบสนับสนุนการเรียนการสอน Smart Classroom . แนะนำ Application สำหรับการเรียนการสอน Smart Classroom อุปกรณ์และบริการอื่น ๆ เพื่อสนับสนุนห้องเรียน Smart Classroom
หลักสูตร Smart Classroom and Application บน elearning.wu.ac.th
การจัดโครงการฝึกอบรมการใช้ห้อง Smart Classroom อบรมบุคลากรสายสนับสนุนการเรียนการสอนให้สามารถใช้เครื่องมือและใช้โปรแกรมประยุกต์ (Application) ในการสนับสนุนการเรียนการสอนในห้องเรียน Smart Classroom ผลการฝึกอบรมทำให้สามารถพัฒนากระบวนการสนับสนุนการเรียนการสอนที่มีคุณภาพ กรอบรมคณาจารย์ในการเรียนรู้วิธีการสอนและกิจกรรมการเรียนการสอนในห้องเรียน Smart Classroom ผ่านทางระบบการเรียนรู้ในระบบ LMS eLearning ณ ศูนย์เทคโนโลยีดิจิทัล การอบรมอาจารย์เรียนรู้ในสถานการณ์การเรียนการสอนจริงในห้องเรียน Smart Classroom จำนวน 4 รุ่น ณ อาคารสถาปัตยกรรมและการออกแบบ
บรรยากาศการฝึกอบรม ณ ห้องเรียน Smart Classroom อาคารสถาปัตยกรรมและการออกแบบ
ผลการประเมินการฝึกอบรมหลักสูตร "การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนการสอน" ผู้เข้าร่วมทั้งหมด จำนวน 235 คน (4 รุ่น) เข้าร่วมการอบรมร้อยละ 50.11 ค่าเฉลี่ยระดับความพึงพอใจ 4.25 ระดับดีมาก
Act คือ การปรับปรุงและพัฒนา ให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น พัฒนาความร่วมมือเพื่อหาแนวทางการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีในการเพิ่มประสิทธิภาพระบบสนับสนุนการจัดการห้องเรียน เช่น เพิ่มระบบบันทึกการเรียนการสอนโดยใช้เทคโนโลยี auto-tracking camera ศึกษาและหาแนวทางนำเทคโนโลยี digital มาใช้ในการเพิ่มประสิทธิภาพในการให้บริการห้องสมุดดิจิทัลในการจัดการเรียนการสอน smart classroom พัฒนา application ที่รองรับ platform ระบบเปิด ซึ่งสามารถให้บริการ e-book, reading list, e-Learning, digital book shelf พัฒนา software ประยุกต์ ที่รองรับการจองห้องเรียน ที่นั่งอ่าน ห้องศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง (study room) ผ่านอุปกรณ์เคลื่อนที่
การพัฒนาต่อยอด วิธีการใช้งานควบคุมห้องเรียนระดับ Basic โครงการที่ 1 โครงการที่ 5 วิธีการใช้งานควบคุมห้องเรียนระดับ Basic การผลิตสื่อการสอนด้วย Presenter โครงการที่ 2 โครงการที่ 6 วิธีการใช้งานควบคุมห้องเรียน ระดับ Advance อุปกรณ์และ Application สำหรับทดสอบ/ประเมินผล โครงการที่ 3 โครงการที่ 7 การจัดการเรียนการสอนด้วยระบบ Tele Conference การบันทึกการเรียนการสอนด้วยอุปกรณ์ Swivl Robot โครงการที่ 4 โครงการที่ 8 การผลิตสื่อการสอนด้วย Captivate 9 เบื้องต้น การผลิต Graphic ด้วย illustrator
ขอบคุณครับ