หลักสูตรเสริมสร้างความรู้ เรื่อง การเป็นประชาคมอาเซียนในปี ๒๕๕๘ สำหรับสื่อมวลชนไทย “รู้จักภาษาอาเซียน” รศ.ดร.อมร แสงมณี สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย มหาวิทยาลัยมหิดล
1. เนอการาบรูไนดารุสซาลาม Negara Brunei Darussalam ภาษาราชการ : ภาษามาเลย์, ภาษาอาหรับ 2. ราชอาณาจักรกัมพูชา : Kingom of Cambodia ภาษาราชการ : ภาษาเขมร 3. สาธารณรัฐอินโดนีเซีย : Republic of Indonesia ภาษาราชการ : ภาษาอินโดนีเซีย 4.สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว : The Loa People's Democratic Republic ภาษาราชการ : ภาษาลาว 5. มาเลเซีย : Malaysia ภาษาราชการ : ภาษามาเลย์/มลายู
6.สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาร์ : Republic of the Union of the Myanmar ภาษาราชการ : ภาษาพม่า 7.สาธารณรัฐฟิลิปปินส์ : Republic of the Philippines ภาษาราชการ : ภาษาตากาล็อก, ภาษาอังกฤษ 8. สาธารณรัฐสิงคโปร์ : Republic of Singapore ภาษาราชการ : ภาษาอังกฤษ, ภาษาจีนกลาง, ภาษามาเลย์, ภาษาทมิฬ 9. ราชอาณาจักรไทย : Kingdom of Thailand ภาษาราชการ : ภาษาไทย 10. สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม : Socialist Republic of Vietnam ภาษาราชการ : ภาษาเวียดนาม
ภาษาในอาเซียน จัดแบ่งตามตระกูลภาษาของภาษาท้องถิ่น TAI-KADAI 1.ไทย 2. ลาว AUSTRONESIAN 3. BM 4.BI 5.TG AUSTROASIATIC 6. VN 7. KM SINO-TIBETAN 8. BURMESE ************************* 9.-12.CHINESE (SINO-TIBETAN), ENGLISH (INDO-EUROPEAN), ARABIC (SEM.),TAMIL(?)
AUSTRONESIAN
ภาษาในตระกูล AUSTRONESIAN มีประมาณ1,200 ภาษา มีผู้พูดราว 250-300 ล้านคน *ใน อินโดนีเซีย, ฟิลิปปินส์,มาเลเซีย,สิงคโปร์,บรูไน, ไทย, เวียดนาม, กัมพูชา,ศรีลังกา *หมู่เกาะ Pacific island ตอนกลางและตอนใต้ (ยกเว้นส่วนใหญ่ของ New Guinea) * Madagascar *และเกาะ Taiwan
จัดแบ่งตามลักษณะทางเสียง มีวรรณยุกต์ : ไทย ลาว VN. BURMESE CHN. ภาษาในอาเซียน จัดแบ่งตามลักษณะทางเสียง มีวรรณยุกต์ : ไทย ลาว VN. BURMESE CHN. ไม่มีวรรณยุกต์ :BM. BI. KM. TG . ENG.TM. AR.
BAHASA MELAYU/MALAYSIA # ในอินโดนีเซียเรียก Bahasa Indonesia # ในบรูไน ฯ เรียก Bahasa Melayu # ในสิงคโปร์เรียก Bahasa Melayu # ในประเทศไทยเรียก ภาษามลายู ภาษามาเลเซีย ภาษามาเลย์ ในระดับภาษาถิ่น (dialect)เรียก ภาษามลายูถิ่น /ภาษายาวี ภาษาแขก
ساي سوك بلاجر بهاس ملايو. ระบบตัวเขียน Huruf Rumi (Romanised Script) Saya suka belajar Bahasa Melayu. Huruf Jawi (Jawi Script) ساي سوك بلاجر بهاس ملايو.
การออกเสียง (Pronunciation) Prof. Dr. Asmah Haji Omar สำเนียงเออ ([] - Variety) สำเนียงอา ([a] - Variety) * * * * * * * * ในปัจจุบัน มาเลเซียนิยมสำเนียงเออ อินโดนีเซียนิยมสำเนียงอา
ภาษาไทย/ภาษามลายู? อุรังอุตัง orang hutan ทุเรียน buah durian ภูเก็ต bukit สตูล buah sentul สิมิลัน sembilan อุรังอุตัง orang hutan ทุเรียน buah durian จำปาดะ buah cempadak ลางสาด buah langsat
ภาษาไทย/ภาษามลายู? บุหงารำไป bunga rampai สายเอว tali pinggang ตะวัน,ตาวัน matahari หมา/ติหมา/ตีหมา timba บุหลัน bulan บุหรง burung
ระบบเสียงพยัญชนะ (Consonant System) m n ɲ ŋ p b t d k ɡ ʔ tʃ dʒ (f) (v) s (z) (ʃ) (x) h w j l r
ระบบเสียงสระ (Vowel System) i e a o u Vowel Harmony
ระบบคำ (Morphology) me (N.)- (act_trn.) tolong “ช่วย” menolong “ช่วย” PREFIX (intr.)- be (R) ajar “สอน” belajar “เรียน” me (N.)- (act_trn.) tolong “ช่วย” menolong “ช่วย” di- (V.) (passive) ambil “นำไป” diambil “ถูกนำไป” mempe (R) kemas “เป็นลำดับ ” memperkemas “จัดเรียง” te (R)- buka “เปิด ” terbuka “เปิดอยู่” SUFFIX -kan letak “เก็บ” letakkan “จงเก็บ” CIRCUMFIXke-...-an hilang“สูญหาย”kehilangan“การสูญหาย” pe(R)-...-an jalan “เดินทาง” perjalanan “การเดินทาง”
ตัวอย่างประโยค 1.Saya guru. ساي ڬورو. 2.Dia suka makan durian. دي سوك ماكن دورين. 3.Selamat datang. 4.Selamat pagi. 5.Selamat tengah hari. 6.Selamat petang. 7.Selaat malam. 8.Selamat tidur.
“ลืม/ปฏิเสธรากเหง้าของตน” Peribahasa (Proverb) Bagaikan kacang lupakan kulit. เปรียบได้กับถั่วลืมเปลือก... “ลืม/ปฏิเสธรากเหง้าของตน” Ketam menyuruhkan anaknya berjalan betul. “แม่ปูสั่งให้ลูกปูเดินตรงๆ”
Lagu Melayu Rasa Sayang Rasa sayang hey Rasa sayang sayang hey Hey lihat nona jauh (di ikuti dengan pantun klasik/tradisional)
Terima kasih. تريما كاسيه.