การบันทึกโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อมการคัดกรองสารเคมีในเกษตรกร

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
แนวทางการบันทึกข้อมูล และการตรวจสอบผลงาน การให้บริการตาม Service Plan
Advertisements

เครื่องชี้วัดคุณภาพ วัตถุประสงค์: เพื่อให้ผู้เรียน
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
ประชุมติดตามผลการดำเนินงานเกณฑ์มาตรฐานระบบงานเยี่ยมบ้าน
โรงพยาบาลอ่างทอง ชื่อผู้ติดต่อ นางรัตนา งิ้ววิจิตร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ กลุ่มงาน เวชกรรมสังคม โทรศัพท์ อีเมล์
โรงพยาบาลเขาชัยสน ขนาด 30 เตียง จังหวัดพัทลุง
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพฯ กลุ่มเด็กวัยเรียน มาตรการ เป้าหมาย วิธีการวัด เป้าหมาย/KPI 1.นโยบายร่วมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ/วาระสุขภาพแห่งชาติ
พญ. ปิยนิตย์ ธรรมาภรณ์พิลาศ
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
ฐานข้อมูลความเสี่ยงจากมลพิษสิ่งแวดล้อม
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนนทบุรี
Ubonratchathani Provincial Public Health Office
แนวทางการรายงานเฝ้าระวังทาง ระบาดวิทยา รง.506 โรคอุจจาระร่วงและอาหารเป็นพิษ จังหวัดหนองบัวลำภู ปี 2558.
ผลการดำเนินงาน ปีงบ ๒๕๕๘ ( ร่าง ) แผนปฏิบัติการฯ ปี งบ ๒๕๕๙ กลุ่มงานบริหารทั่วไป สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดตราด.
แผนการตรวจรับรอง สถานที่ทำงานน่าอยู่ น่า ทำงาน โดยศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี วันเวลาหน่วยงานทีมประเมิน 11 กค.59 เช้า - รพท. นภ. บ่าย สสอ. เมือง ศูนย์อนามัย.
วัชระ เสงี่ยมศักดิ์ รพ. สต. โคกย่าง ต. โคกย่าง อ. ประโคนชัย จ. บุรีรัมย์
โครงการ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ “ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ
นายแพทย์ศุภมิตร ชุณห์สุทธิวัฒน์ ที่ปรึกษากรมควบคุมโรค และ ที่ปรึกษาศูนย์ประสานงานเครือข่ายสุขภาพหนึ่งเดียว.
สถานการณ์ด้านอนามัย สิ่งแวดล้อม. สถานการณ์การออกเทศบัญญัติ / ข้อกำหนด เทศ บัญญัติ / ข้อกำหน ด กาฬสินธุ์ (%) ขอนแก่ น (%) มหาสารคา ม (%) ร้อยเอ็ ด (%)
ศูนย์สุขภาพชุมชน (Mini Health Center)
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
แนวทาง การดำเนินงาน ป้องกันการจมน้ำ สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
นางสาวภูษณิศา ฉลาดเลิศ นักวิชาการสาธารณสุข
แนวทางการบริหารงบค่าใช้จ่ายการตรวจคัดกรองและตรวจยืนยันมะเร็งลำไส้ใหญ่
โดย นายอโนชา ชื่นงาม สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 อบ.
ประชุมการตรวจสอบคุณภาพเวชระเบียน
การจัดการควบคุมคุณภาพข้อมูล
การประเมินมาตรฐาน งานระบาดวิทยา ปี 2549
การพัฒนาข้อมูล HDC ปีงบประมาณ เมษายน 2559
แพทย์หญิงวันทนีย์ วัฒนะ ผู้อำนวยการสำนักอนามัย
ยุทธศาสตร์ ที่ 2 Service Excellence (ยุทธศาสตร์ด้านบริการเป็นเลิศ)
กลุ่มเป้าหมาย สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด 76 จังหวัด ค่าเป้าหมาย
ตัวชี้วัดที่ 2 : ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
แนวทางการดำเนินงานเพื่อผู้สูงอายุ
การดำเนินงานคุณธรรม และความโปร่งใส
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ด้านระบบสารสนเทศสุขภาพ
ประชุมติดตามความก้าวหน้าการดำเนินการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๕ วันที่ ๔ เมษายน ๒๕๕๕ เวลา ๑๓.๐๐ น. ณ ห้องประชุม ๔/๑ ศาลากลางจังหวัด.
ผลการดำเนินงาน การบริหารจัดการประเมิน และดูแลผู้ป่วยก่อนกลับเข้าทำงาน
เพื่อการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ทศวรรษ
แนวทาง/เกณฑ์การประเมินโครงการฯ
แผนพัฒนาการจัดบริการอาชีวอนามัย และเวชกรรมสิ่งแวดล้อม
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
การติดตามผลงาน OKRs ปีงบประมาณ 2562 (ไตรมาส 1)
การพัฒนาระบบการดูแลผู้รับบริการเพื่อตรวจรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
การประเมินศักยภาพชุมชน ด้วย... ค่ากลางที่คาดหวัง
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
สรุปผลการนิเทศงานเฉพาะกิจ งานข้อมูลและเทคโนโลยีสารสนเทศ
ชาลิณี ปิยะประสิทธิ์ สปสช.เขต 10 อุบลราชธานี 21 กันยายน 2560
ขั้นตอนการให้บริการ ด้านโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
และ อ.เฉลิมพระเกียรติ จ.สระบุรี ปี 2557
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
การบันทึกเพื่อส่งออก 43 แฟ้ม ข้อมูลผู้พิการ (DISABILITY)
การประชุมกรมอนามัย ครั้งที่ 10/2557 วันเสาร์ที่ 11 ตุลาคม 2557
มุ่งเน้น การประเมินระดับการดำเนินงาน “หน่วยงานคุณธรรม”
การดำเนินงานเชิงรุก โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์และเอดส์
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
การดำเนินงานเขตเศรษฐกิจพิเศษและแรงงานต่างด้าว
มะเร็งปากมดลูก โดย นางจุฑารัตน์ กองธรรม พยาบาลวิชาชีพ รพ.สต.บ้านโนนแต้
การติดตาม (Monitoring)
ปัญหาและสาเหตุโดยย่อ
(พิจิตร พิษณุโลกและเพชรบูรณ์)
รายงานสถานการณ์E-claim
Service Profile :PCT ศัลยกรรม รพร.เดชอุดม
นพ.อภิศักดิ์ วิทยานุกูลลักษณ์ รพ.ธัญญารักษ์เชียงใหม่ กรมการแพทย์
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
การวิเคราะห์ศักยภาพองค์กรกองแผนงาน โดย SWOT Analysis
จุดเน้นในการพัฒนา/แผนพัฒนา ความเสี่ยง/ความท้าทาย
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การบันทึกโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อมการคัดกรองสารเคมีในเกษตรกร ธวัฒน์ชัย ธรรมกรณ์ รพ.สต.งิ้วราย3 สสจ.สิงห์บุรี

การบันทึกโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม การคัดกรองสารเคมีในเกษตรกร การบันทึกโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม การคัดกรองสารเคมีในเกษตรกร   

การบันทึกโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม การคัดกรองสารเคมีในเกษตรกร การบันทึกโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม การคัดกรองสารเคมีในเกษตรกร   

การบันทึกโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม การคัดกรองสารเคมีในเกษตรกร การบันทึกโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม การคัดกรองสารเคมีในเกษตรกร   

การบันทึกข้อมูลการให้บริการคัดกรองสารเคมีในเกษตรกร

การบันทึกโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม การคัดกรองสารเคมีในเกษตรกร การบันทึกโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม   

รหัสกิจกรรมในชุมชน ระดับบุคคล

รหัสกิจกรรมในชุมชน

Health Data Center;HDC

Health Data Center;HDC

Health Data Center;HDC

Health Data Center;HDC

โรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม บันทึกข้อมูลโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม รวมถึงการคัดกรองสารเคมีในเกษตรกร จัดการข้อมูลที่หน้า One Stop Service วินิจฉัยโรค เป็นโรคการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม รวมถึง การคัดกรองสารเคมีในเกษตรกร โรคการประกอบอาชีพ จากผู้ปฏิบัติงาน คนงานการได้รับสัมผัสสิ่งคุกคาม สภาวะการทำงานที่ไม่เหมาะสม ขณะทำงาน เลิกงาน หรือภายหลังที่ออกจากงาน โรคจากสิ่งแวดล้อม จากกลุ่มคนทั่วไป ทุกวัยการได้รับสัมผัสสิ่งคุกคามสุขภาพจากสภาวะสิ่งแวดล้อมที่ไม่เหมาะสมทุกเวลา

โรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม แนวทางการให้รหัส (ICD-10) การให้รหัสใช้แนวทางจากเอกสารขององค์การอนามัยโลก เรื่อง International Statistical Classification of Diseases and Related Health Problems (ICD-10) in Occupational Health (2) โดยมีหลักการในการให้รหัสโรคหรืออาการ ที่เกิดจากการทำงานและสิ่งแวดล้อม (Occupational and environment disorders) ดังนี้

โรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม การวินิจฉัยหลัก (Principle Diagnosis) ลงเป็นรหัสโรคหลัก(Primary Code)ตามหลักเกณฑ์ของICD-10 การบ่งบอกว่าเป็นโรคจากการทำงานหรือสิ่งแวดล้อม ทำโดยการให้ใช้รหัสเสริม (Secondary Code) คู่กับการวินิจฉัยหลักดังนี้ รหัส Y96 สำหรับโรคที่มีสาเหตุเกิดจากการทำงาน รหัส Y97 สำหรับโรคที่มีสาเหตุเกิดจากสิ่งแวดล้อม (5:External cause)

โรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม ตัวอย่าง โรคหอบหืดทั่วไป (Asthma) ลงรหัสที่1 การวินิจฉัยหลัก (Principle Diagnosis) : J45.9 โรคหอบหืดจากการทำงานในโรงงานขนมปัง (Occupational Asthma) ลงรหัสที่1 การวินิจฉัยหลัก (Principle Diagnosis) : J45.0 ลงรหัสที่ 2 การวินิจฉัยเสริม (Secondary Diagnosis) : Y96

โรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม ตัวอย่าง โรคหัด (Measles) ลงรหัสที่ 1 การวินิจฉัยหลัก (Principle Diagnosis) : B05 พยาบาลติดเชื้อหัดจากคนไข้ (Occupational Measles) ลงรหัสที่1 การวินิจฉัยหลัก (Principle Diagnosis) : B05 ลงรหัสที่ 2 การวินิจฉัยเสริม (Secondary Diagnosis) : Y96

การบันทึกข้อมูลการให้บริการคัดกรองสารเคมีในเกษตรกร เนื่องจากแฟ้ม SpecialPP ได้กําหนดรหัสการคัดกรองสารเคมีในเกษตรกรแล้ว ดังนั้น สําหรับหน่วยบริการที่มีการคัดกรองสารเคมีในเกษตรกรกลุ่มเสี่ยง ขอให้บันทึกผลการให้บริการ ใน one stop service โดยให้ ICD-10 : Z100 การตรวจสุขภาพด้านอาชีวอนามัย และให้บันทึกในแฟ้ม special PP ดังรายละเอียดต่อไปนี้

สวัสดีครับ