เรวัต แสงสุริยงค์ rewat@buu.ac.th ระเบียบวิธีวิจัยสำหรับการบริการสังคม (Research Method of Social Service) กระบวนการวิจัย เรวัต แสงสุริยงค์ rewat@buu.ac.th.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โดย อาจารย์ ดร.มาเรียม นิลพันธุ์
Advertisements

ระเบียบวิธีวิจัยทางธุรกิจ
มโนทัศน์เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิจัย
How do scientists think and find( พบ ) answers?.
การประเมินรายงาน การวิจัย (An Evaluation of Research Report) โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์พีระ ครึกครื้น จิตร ภาควิชาบริหารงานสาธารณสุข คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล.
ศึกษาพฤติกรรมการเรียนรายวิชาพิมพ์ดีดอังกฤษ 1 ของนักเรียน
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
การเขียนโครงร่างวิจัย
กลุ่ม rraid. What's your name. คุณชื่ออะไร = Miss Bangon Buntanoom How old are you. - คุณอายุเท่าไหร่ = Ages 36 Years What you have finished your course.
ประเภทของการวิจัย. แบ่งตามวัตถุประสงค์ ของการศึกษา การวิจัยเพื่อสำรวจ (Exploratory Research) การวิจัยเพื่อพรรณนา (Descriptive Research) การวิจัยเพื่ออธิบาย.
วิธีการและเทคนิค การตรวจสอบ และการรายงาน ผลการตรวจสอบ ( Auditing )
By : Mr.Theerawat Duangsin Khlung ratchadapisake school
16. การเขียนงานวิจัยแบบง่าย ๆ
ระเบียบวิธีวิจัยทางการบัญชีบริหาร
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการเงิน
การวิเคราะห์และออกแบบระบบสารสนเทศ (Information System Analysis and Design) โดย อ.ประจักษ์ เฉิดโฉม.
การใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ทางสถิติในด้านสังคมศาสตร์ (The Application of Statistical Package in Social Sciences) การวิจัยเชิงปริมาณ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.
การออกแบบปัญหาการวิจัย
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ คุณภาพของเครื่องมือวัด
การศึกษาชีววิทยา.
เรวัต แสงสุริยงค์ ระเบียบวิธีวิจัยสำหรับการบริการสังคม (Research Method of Social Service) ประเภทของการวิจัย เรวัต แสงสุริยงค์
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการเงิน
การวเคราะห์ข้อมูล เชิงคุณภาพ
โดย ผศ.ดร.สำราญ กำจัดภัย การจัดประเภทของการวิจัย
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการตลาด
GS 3305 Research in Educational Administration
แนวคิดการวิจัย เชิงคุณภาพ รศ
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการตลาด
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
ความรู้เบื้องต้นเรื่องการวิจัย
วิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research)
เกริ่นนำงานวิจัยเบื้องต้น
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการเงิน
ระเบียบวิธีวิจัยทางการบัญชีบริหาร
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการตลาด
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการเงิน
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการจัดการโลจิสติกส์
Computer Project I โครงงานด้านวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ 1 1(0-3)
ความแตกต่างระหว่างการวิจัยเชิงคุณภาพกับการวิจัยเชิงปริมาณ
วิจัยทางการพยาบาล ดร.อัญชลี จันทาโภ.
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการจัดการโลจิสติกส์
หลักเทคนิคการเขียน SAR
การวิจัยเพื่อพัฒนา การเรียนการสอน
Review of the Literature)
เทคนิคการตั้งชื่อเรื่องวิทยานิพนธ์
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางธุรกิจระหว่างประเทศ
ระเบียบวิธีวิจัยทางการบัญชีบริหาร
(The Marketing Information Gathering)
การวิเคราะห์งาน.
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทาง การตลาด
สถิติเพื่อการวิจัยทางการเกษตร STATISTICS FOR AGRICULTURAL RESEARCH
กระบวนการวิจัย (Research Process)
หลัก MAX MIN CON การออกแบบแผนการวิจัยเชิงทดลอง
การวิจัยทางธุรกิจ Business Research
Helpful Questions ทำไมเราไม่ควรอยู่ในที่นั่งคนขับเมื่อพูดกับคนอื่นเกี่ยวกับสิ่งที่พวกเขาเชื่อในการเปรียบเทียบกับความเชื่อของคริสเตียน? Why shouldn’t we.
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางธุรกิจ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การกำหนดประเด็นปัญหา
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางธุรกิจ
บทที่ 7 การเก็บรวบรวมข้อมูล
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการตลาด
การสร้างแบบทดสอบ อาจารย์ ปรีชา เครือวรรณ อาจารย์ สมพงษ์ พันธุรัตน์
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
Introduction to Public Administration Research Method
คณะกรรมการจริยธรรมการวิจัย
ระเบียบวิธีวิจัยทางการบัญชีบริหาร
งานวิจัย.
ระเบียบวิธีวิจัยทางการบัญชีบริหาร
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เรวัต แสงสุริยงค์ rewat@buu.ac.th ระเบียบวิธีวิจัยสำหรับการบริการสังคม (Research Method of Social Service) กระบวนการวิจัย เรวัต แสงสุริยงค์ rewat@buu.ac.th

วิธีการหาความรู้ (Logic of Inquiry)

วัฏจักรการค้นหาความรู้ทางสังคมศาสตร์ (Generalized Wheel of Social Science) วิธีการนิรนัย (DEDUCTION SCIENCE) ทฤษฎี (Theories) สมมติฐาน (Hypotheses) ข้อสรุปทั่วไป (Generalizations) การสังเกต (Observations) วิธีการอุปนัย (INDUCTION)

วิธีการนิรนัย (Deduction) อาศัยหลักฐานจากความรู้เดิม เริ่มต้นจากข้ออ้างซึ่งมีลักษณะทั่วไป (universal) ไปสู่ข้อสรุปซึ่งมีลักษณะเฉพาะ (particular) ความน่าเชื่อถือของข้อสรุปอยู่ในขั้นความแน่นอน (certainty) ไม่ให้ความรู้ใหม่

วิธีการนิรนัย (Deduction) การใช้เหตุผลจากบนลงล่าง (Top down reasoning) ทฤษฎี (Theory) สร้างสมมติฐานสำหรับทดสอบ (Hypothesis To Test) สังเกตเพื่อยืนยันสมมติฐาน (Observations to address the hypothesis) ทดสอบสมมติฐานด้วยข้อมูลเฉพาะ (Test the hypothesis with specific data) ยืนยัน/ปฏิเสธสมมติฐาน (Confirm/or disconfirm the original hypothesis)

การวิจัยแบบนิรนัย (Deductive Research) A top down approach GENERAL SPECIFIC IF: All oranges are fruit and all fruit grows on trees THEN: oranges grow on trees Conclusion guaranteed to follow if the evidence given is true and the reasoning used to reach the conclusion is correct

วิธีการอุปนัย (Induction) อาศัยหลักฐานจากประสบการณ์ เริ่มต้นจากข้อมูลที่มีลักษณะเฉพาะ (particular) ไปสู่ข้อสรุปซึ่งมีลักษณะทั่วไป (universal) ความน่าเชื่อถือของข้อสรุปอยู่ในระดับ ความน่าจะเป็น (probability) มีความรู้ใหม่เกิดขึ้น

วิธีการอุปนัย (Induction) การใช้เหตุผลจากล่างขึ้นบน (Form of reasoning – bottom up) ทฤษฎี (Theory) สร้างสมมติฐานชั่วคราวหรือข้อเสนอเชิงทฤษฎี (Tentative Hypothesis or proposition) สร้างรูปแบบ (Identifying Patterns) กำหนดเกณฑ์การสังเกต (Observations Measures)

การวิจัยแบบอุปนัย (Inductive Research) A bottom up approach GENERAL SPECIFIC Starts with observation (data collection) Behavioural patterns and regularities are detected from the observations Hypotheses are formulated to explore patterns Hypotheses used to develop theory Iterative process Examples: Grounded theory Interviews

ตัวอย่างการใช้เหตุผลในการวิจัย การอุปนัย (Inductive) ฤดูนี้เป็นฤดูฝน มีฝนตก ฤดูฝนฤดูที่แล้ว มีฝนตก ฤดูฝนก่อนฤดูที่แล้ว มีฝนตก การนิรนัย (Deductive) ฤดูฝนในฤดูต่อไป จะมีฝนตก เหตุการณ์เฉพาะ (Specifics) ข้อสรุป (Generalization) ในฤดูฝน มีฝนตก ในฤดูฝน มีฝนตก

กระบวนการวิจัยแบบนิรนัยและแบบอุปนัย วิธีนิรนัย (Deductive Method) วิธีอุปนัย (Inductive Method) กำหนดปัญหาการวิจัย (Define the research problem) ทบทวนวรรณกรรม (Review the literature) ออกแบบการวิจัย (Research design) สร้างสมมติฐาน (Formulate the hypothesis) รวบรวม/วิเคราะห์ข้อมูล (Collect and Analyze the Data) เขียนข้อสรุปและรายการค้นพบ (Draw conclusions and report the findings) (Collect and analyze the data) สร้างสมมติฐานสำหรับสร้างทฤษฎี เขียนข้อสรุปและรายงานการค้นพบ (Generate hypotheses for theory construction, draw conclusions, and report the findings)

กระบวนการวิจัย (Research Process) #1 กรอบแนวคิด (Conceptual Framework) (ทฤษฎี และทบทวนเอกสาร) คำถามการวิจัยและสมมติฐาน (Research Questions, Hypotheses) นิรนัย (Deductive) อุปนัย (Inductive) รวบรวมข้อมูล (Data Collection) วิเคราะห์ข้อมูล (Data Analysis) การสังเกตเชิงประจักษ์ (Empirical Observations) ข้อเสนอ/ปัญหาที่จะต้องพิสูจน์ (Propositions) ที่มา: Rudestam & Newton, 2001

กระบวนการวิจัย (Research Process) #2 กำหนดปัญหาและวัตถุประสงค์การวิจัย (Define Problem, Research Objectives) อย่างไร (HOW?) สำรวจ (Survey) ทดลอง (Experiment) กรณีศึกษา (Case Study) ข้อมูลทุติยภูมิ (Secondary Data) อะไร (What?) แนวคิด (Concepts) ตัวแปร (Variables) การวัด (Measures) ใคร (Who?) ประชากร (Population) การสุ่มตัวอย่าง (Sampling) รวบรวมข้อมูล (Data Gathering) วิเคราะห์ (Analysis) การนำไปประยุกต์ใช้ (Application)

กระบวนการวิจัย (Research Process) #3 เลือกหัวข้อกว้าง ๆ (Choose a General Topic) บีบงานให้อยู่ในทฤษฎี (Focus Project with in a Theory) ออกแบบการศึกษา (Design the Study) เก็บข้อมูล (Collect Data) วิเคราะห์ข้อมูล (Analyze Data) ตีความข้อค้นพบและสรุป (Interpret Findings and Draw Conclusions) เขียนหรือนำเสนอในรูปของรายงาน (Inform Others in a Report)

กระบวนการวิจัย (Research Process) #4 คำถามวิจัย (Research Questions) ผลลัพธ์ (Results) ทบทวนวรรณกรรม (Lit Review) หัวข้อ (Topic) วิธีการ (Methods) อภิปราย/เสนอแนะ (Discussion / Implications) สมมติฐาน (Hypothesis) ทำอย่างไรให้ผลการวิจัยน่าเชื่อถือ (How confident are you in results?) ผลการวิจัยสนับสนุนสมมติฐานและตอบคำถามการวิจัยหรือไม่ (Do results support hypotheses and address questions?) ความบังเอิญที่เกิดจากผลการวิจัยมีมากน้อยเพียงใด (To what extent did results occur by chance?) ผลการวิจัยสามารถสรุปเป็นกฎทั่วไปหรือไม่ (Can results be generalized?)

กระบวนการวิจัย (Research Process) #5 Selection of exploratory research technique กำหนดปัญหา (Problem Discovery and Definition) Problem discovery สุ่มตัวอย่าง (Sampling) Selection of exploratory research technique Probability Nonprobability Secondary (historical) data Experience survey Pilot study Case study การรวบรวมข้อมูล (Data Gathering) Collection of data (fieldwork) Editing and coding data Problem definition (statement of research objectives) การประมวลและวิเคราะห์ข้อมูล (Data Processing And Analysis) Data processing Selection of basic research method ออกแบบการวิจัย (Research Design) การสรุปและรายงาน (Conclusions and Report) Interpretation of findings Experiment Survey Observation Secondary Data Study Report Laboratory Field Interview Questionnaire

ขั้นตอนของกระบวนการวิจัยเชิงปริมาณ (Steps in the Quantitative Research Process) 1. เลือกหัวข้อ (Select topic) 2. ตั้งคำถามที่ชัดเจน (Focus question) 7. นำเสนอผลการวิจัย (Inform others) ทฤษฎี 3. ออกแบบการศึกษา (Design study) 6. ตีความข้อมูล (Interpret data) 5. วิเคราะห์ข้อมูล (Analyze data) 4. รวบรวมข้อมูล (Collect data)

ขั้นตอนของกระบวนการวิจัยเชิงคุณภาพ (Steps in the Qualitative Research Process) 1. ทำความเข้าใจสังคม (Acknowledge social self) 7. นำเสนอผลการวิจัย (Inform others) 2. เกิดมุมมองและความเข้าใจ (Adopt perspective) ทฤษฎี 3. ออกแบบการศึกษา (Design study) 6. ตีความข้อมูล (Interpret data) 5. วิเคราะห์ข้อมูล (Analyze data) 4. รวบรวมข้อมูล (Collect data)

The ‘scientific’ method A generally accepted set of procedures for developing and testing theories An idealised model to arrive at “the truth” through: Objective observation Measurement Careful and accurate analysis of data Minimising pre-conceptions about how the world works What paradigm are we in here? Maylor and Blackmon (2005)

The Positivistic approach Define your research topic Define your research question(s) i.e. hypothesis Literature review Collect data Analyse data Interpret results Report your findings Design data collection Design data analysis Pilot study Deductive Adapted from Maylor and Blackmon (2005)

The Phenomenological approach A generally accepted set of procedures for collecting information about the world An idealised model to arrive at “the data” through: Subjective observation Being led by the data (ie. induction) Trying to overcome biases about the situation Avoiding conceptual frameworks or instruments that might influence what is observed Maylor and Blackmon (2005)

The Phenomenological approach Define your research topic Define your research question(s) Literature review Collect data Analyse data Interpret data Report your findings Research question answered? Design data collection Inductive Adapted from Maylor and Blackmon (2005)

เอกสารอ้างอิง Neuman, W. Lawrence. 2006. Social research methods: qualitative and quantitative approaches. 6th ed. Boston: Pearson A and B. William G. Zikmund. Business Research Methods. [Online]. Available from: http://www.swlearning.com/management/zikmund/bus_research/powerpoint/ch06.ppt