บทที่ 5 ระบบจัดการฐานข้อมูล

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ซอฟแวร์ SOFTWARE น า ง ส า ว ฐ ิ ติ ม า น า ม ว ง ศ์ เ ล ข ที่ 4 3 ชั้ น ม. 4 / 7.
Advertisements

BY KIADTIPONG YORD. CHANDRA 2004 :: COMPUTER NETWORK ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ และการกระจาย Computer Network and Distributed LAN Software เกียรติพงษ์ ยอดเยี่ยมแกร.
การจัดการองค์ความรู้ ( KM )
การพัฒนาระบบทะเบียน ของ โรงเรียนเมโทรเทคโนโลยี จังหวัดเชียงใหม่
การจัดทำเว็บไซต์สำเร็จรูปด้วยโปรแกรม Joomla!
 เครือข่ายคอมพิวเตอร์  การที่ระบบเครือข่ายมีบทบาทและ ความสำคัญเพิ่มขึ้น เพราะไมโครคอมพิวเตอร์ได้รับ การใช้งานอย่างแพร่หลาย จึงเกิดความต้องการที่จะ.
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
จัดทำโดย น. ส. ดวงกมล งามอยู่เจริญ เลขที่ 8 น. ส. ณัชชา เชื้อตา เลขที่ 6 เตรียมบริหารธุรกิจปี 1.
การใช้งานระบบ MIS ความสำคัญและผลกระทบของระบบสารสนเทศที่มีต่อธุรกิจ
ซอฟต์แวร์ระบบที่รู้จักกันดี คือซอฟต์แวร์ควบคุมการปฏิบัติการ ของคอมพิวเตอร์ที่เรียกว่า ระบบปฏิบัติการ ระบบปฏิบัติการเป็นชุดคำสั่งที่ใช้ควบคุมระบบฮาร์ดแวร์และ.
FIX COMMON PC PROBLEMS By Missis Jatuporn Surinseng Missis Chamaiporn Sommit.
Computer in Business เรื่อง การใช้งาน Access เบื้องต้น.
1. Select query ใช้สำหรับดึงข้อมูลที่ต้องการ
ซอฟต์แวร์และการเลือกใช้
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
การรักษาความปลอดภัยข้อมูลขั้นพื้นฐาน
ในเครือข่ายอินเทอร์เน็ต โปรแกรมประยุกต์ หลายชนิด มีการทำงานร่วมกันระหว่างเครื่อง คอมพิวเตอร์ ที่ต่ออยู่ในเครือข่าย โดยอาศัยเครือข่ายเป็น สื่อกลาง ในการติดต่อสื่อสารระหว่างกันและกัน.
ระบบจัดการพนักงาน E-Clocking. E-clocking Application คืออะไร E-clocking ย่อมาจากคำว่า Easy Clocking ก็คือทำงานและ ดูแลข้อมูลการบริหารบันทึกเวลาการทำงานของพนักงานแบบ.
ซอฟต์แวร์ Software รายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 3. ความหมายและความสำคัญของซอฟต์แวร์ ซอฟต์แวร์ (Software) หมายถึง ชุดคำสั่งหรือโปรแกรม ที่คอยสั่งการให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำงาน.
CSIT-URU อ. กฤษณ์ ชัยวัณณคุปต์ Mathematics and Computer Program, URU บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ เทคโนโลยีสารสนเทศ Introduction to Information.
การจัดเก็บข้อมูลในแฟ้มข้อมูลธรรมดา นั้น อาจจำเป็นที่ใช้แต่ละคน จะต้องมีแฟ้มข้อมูลของตนไว้เป็นส่วนตัว จึง อาจเป็นเหตุให้มีการเก็บข้อมูล ชนิดเดียวกันไว้หลาย.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบ คุณภาพ ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบ คุณภาพ.
LOGO ภาษาซี 1.1 อ. กฤติเดช จินดาภัทร์. LOGO ตัวอย่างโค้ดภาษาซี
บทที่ 3 นักวิเคราะห์ระบบและการ วิเคราะห์ระบบ. 1. นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) 1.1 ความหมายของนักวิเคราะห์ระบบ นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis:
ระบบงานธุรการ (GA Center). นายวรากร หอมมณฑา รหัสนิสิต สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะวิทยาการสารสนเทศ มหาวิทยาลัยบูรพา ตำแหน่งงาน System Programmer.
ซอร์ฟแวร์ ( Software ). Microsoft excel Microsoft excel Microsoft power point.. Link Link.
วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อชีวิต
เทคโนโลยีพื้นฐานของระบบสารสนเทศ
ฐานข้อมูล.
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
หน่วยการเรียนที่ 6 เรื่อง การจัดการฐานข้อมูลด้วย PHP Function
การใช้ Social Media เพื่อการสื่อสาร
บทสรุป ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ฐานข้อมูลและ ระบบจัดการฐานข้อมูล
ระบบ ISO 9001:2015 สำหรับธุรกิจบริหารจัดการเรือ
บทที่ 1 สถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมูล (Database Architecture)
การจัดการระบบฐานข้อมูล ภาษาที่ใช้ในระบบจัดการฐานข้อมูล
บทที่ 7 การวิเคราะห์และพัฒนาระบบ
การพัฒนาการใช้งานในระบบเว็บ
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 โครงสร้างคอมพิวเตอร์พื้นฐาน
Basic Input Output System
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
บทที่ 3 แฟ้มข้อมูลและฐานข้อมูล
บทที่ 4 ความรู้เกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
บทที่ 5 ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารทรัพยากรมนุษย์
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
ระบบบริหารจัดการงานวิจัยของหน่วยงาน Department Research Management System DRMS โดยทีมพัฒนาระบบ DRMS สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.)
บทที่ 8 การควบคุมระบบสารสนเทศทางการบัญชี : การควบคุมเฉพาะระบบงาน
การจัดการข้อมูล ดร. นพ. วรสิทธิ์ ศรศรีวิชัย
เทคโนโลยีสารสนเทศ.
ขั้นตอนการออกแบบ ผังงาน (Flow Chart)
ระบบการจัดการคลินิกครบวงจร
บทที่ 7 การวิเคราะห์และพัฒนาระบบ
บทที่ 3 ซอฟต์แวร์ประยุกต์
การบริหารโครงการซอฟต์แวร์
พื้นฐานการออกแบบ กราฟิก หมายถึง ศิลปะแขนงหนึ่งซึ่งใช้การสื่อความหมาย ด้วยเส้น สัญลักษณ์ รูปวาด ภาพถ่าย กราฟ แผนภูมิ การ์ตูน ฯลฯ เพื่อให้สามารถสื่อความหมายของข้อมูลได้ถูกต้องตรง.
คำรับรองการปฏิบัติราชการ
หน่วยที่ 3 การประมวลผลข้อมูลให้เป็นสารสนเทศ
บทที่ 6 แนวคิดเทคโนโลยีเสมือนจริง
บริษัท พัฒนาวิชาการ (2535) จำกัด
บทสรุป ระดับของข้อมูล มีการจัดแบ่งระดับของข้อมูลเป็น 3 ระดับ
Internet Technology and Security System
SMS News Distribute Service
ผู้ช่วยศาสตราจารย์จุฑาวุฒิ จันทรมาลี
การสร้างแบบสอบถาม และ การกำหนดเงื่อนไข.
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
บทที่ 4 การให้บริการแพลตฟอร์ม Platform as a service(PaaS) 4.1 ความหมาย
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 5 ระบบจัดการฐานข้อมูล ระบบฐานข้อมูลเป็นตัวกลางในการเชื่อมโยงระหว่างผู้ใช้งานกับซอฟต์แวร์ประยุกต์ที่เกี่ยววข้องกับฐานข้อมูล เพื่อให้ผู้ใช้งานสามารถเข้าถึงและจัดเก็บข้อมูลในฐานข้อมูล 1. ความหมายของระบบจัดการฐานข้อมูล การจัดการฐานข้อมูล (database management) คือการบริหารจัดการแหล่างข้อมูลที่ถูกเก็บรวบรวมไว้ที่ศูนย์กลางในลักษณะข้อมูล เพื่อลดการซ้ำซ้อนและความขัดแย้งของข้อมูลและสามารถตอบสนองต่อการเรียกใช้งานจากซอฟต์แวร์ประยุกต์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ระบบจัดการฐานข้อมูล (Database Management System; DBMS) เป็นซอฟต์แวร์ที่ทำหน้าที่เป็นตัวกลางในการติดต่อระหว่างผู้ใช้กับฐานข้อมูล เพื่อทำหน้าที่บริหารจัดการข้อมูลได้อย่างมีประสิทธิภาพ จัดการและควบคุมความถูกต้อง ความซ้ำซ้อน และความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลต่างๆ ภายในฐานข้อมูล (http://th.rikipedia.org/wiki)

ระบบจัดการฐานข้อมูล (Database Management System; DBMS) ระบบจัดการฐานข้อมูลที่นิยมใช้ 1. โพสต์แกรสเอสคิวแอล (PostgreSQL) 2. มายเอสคิวแอล (MySQL) 3. ไมโครซอฟท์เอสคิวแอลเซิร์ฟเวอร์ (Microsoft SQL Server) 4. ไมโครซอฟท์แอ็กเซส (Microsoft Access) 5. ออราเคิล (Oracle) 6. ไอบีเอ็มดีบีทู (IBM DB2)

โพสต์แกรสเอสคิวแอล (PostgreSQL) มายเอสคิวแอล (MySQL) Microsoft Access (Microsoft SQL Server) ไอบีเอ็มดีบีทู (IBM DB2) ออราเคิล (Oracle)

ระบบจัดการฐานข้อมูล (Database Management System; DBMS) 1. โพสต์แกรสเอสคิวแอล (PostgreSQL) หรือนิยมเรียก โพสต์เกรส (Postgres) เป็นระบบจัดการฐานข้อมูลในลักษณะของซฟต์แวร์เสรีภายใต้สัญญาอนุญาตบีเอสดี ชื่อของโพสต์เกรสมาจากชื่อ post-Ingres ซึ่งหมายถึงตัวซอฟต์แวร์ที่พัฒนาต่อจากซอฟต์แวร์ชื่อ อินเกรส

ระบบจัดการฐานข้อมูล (Database Management System; DBMS) 2. มายเอสคิวแอล (MySQL) เป็นระบบจัดการฐานข้อมูลประเภทโอเพ่นซอร์ส แต่แตกต่างจากซอฟต์แวร์โอเพ่นซอฟต์ทั่วไป โดยมีการพัฒนาภายในบริษัท MySQL AB ในประเทศสวีเดน ซึ่งจัดการมายเอสคิวแอลในรูปแบบให้ใช้ฟรีและแบบที่ใช้ในเชิงธุรกิจ

ระบบจัดการฐานข้อมูล (Database Management System; DBMS) 3. ไมโครซอฟท์เอสคิวแอลเซิร์ฟเวอร์ (Microsoft SQL Server) คือ ระบบจัดการฐานข้อมูลที่พัฒนาโดยบริษัทไมโครซอฟ โดยมีเอสคิวแอลเซิร์ฟเวอร์ เอ็กเพรส เอดิชัน เป็นรุ่นที่สามารถแจกจ่ายและดาวน์โหลดฟรี ซึ่งมีเป้าหมายสำหรับใช้งาส่วนตัวหรือทดลอง

ระบบจัดการฐานข้อมูล (Database Management System; DBMS) 4. ไมโครซอฟท์แอ็กเซส (Microsoft Access) เป็นระบบจัดการฐานข้อมูลที่นิยมใช้ในงานองค์กรขนาดเล็ก ซึ่งสามารถเก็บข้อมูล ประมวลผลข้อมูล ออกแบบฟอร์มเก็บข้อมูล ออกแบบคิวรี่(Query) และพิมพ์รายงานได้ โดยสามารถเชื่อมต่อกับระบบจัดการฐานข้อมูล MySQL Server

ระบบจัดการฐานข้อมูล (Database Management System; DBMS) 5. ออราเคิล (Oracle) คือซอฟต์แวร์จัดการฐานข้อมูลที่บลิตโดยบริษัทออราเคิล มีด้วยกัน 2 ประเภท คือ 1. Personal Oracle ซึ่งซอฟต์แวร์จัดการฐานข้อมูลที่เมื่อติดตั้งบนเครื่องคอมพิวเตอร์แล้วผู้ใช้ต้องนั่งทำงานที่เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ติดตั้งเท่านั้น 2. Oracle Server เป็นซอฟต์แวร์จัดการฐานข้อมูลในลักษณะเซิร์ฟเวอร์ (Server) คือยอมให้ผู้ใช้งานเรียกใช้หรือจัดการกับข้อมูลจากเครื่องคอมพิวเตอร์อื่นได้

ระบบจัดการฐานข้อมูล (Database Management System; DBMS) 6. ไอบีเอ็มดีบีทู (IBM DB2) เป็นระบบจัดการฐานข้อมูลของบริษัทไอบีเอ็ม ปัจจุบันเรียก ไอบีเอ็ม DB2 Data Server แบ่งเป็นหลายแบบตามความเหมาะสมในการใช้งาน สามารถทำงานกับเครื่องส่วนบุคคล (Personal Computer; PC) จนถึงเมนเฟรมคอมพิวเตอร์ (mainframe computer) และบริษัทไอบีเอ็มยังมีระบบจัดการฐานข้อมูลอีตัวหนึ่งคือ อินฟอร์มิกซ์ (Informix)

Interface between system users and applications. 2. หน้าที่ของระบบจัดการฐานข้อมูล System User Application Program Interface between system users and applications. Backup Recovery Mngr Performance Mngr Securlity Mngr Data Intergrity Mgr Securrity Mgr Application Development Mgr DBMS ระบบปฏิบัติการ Repository (Metadata) ฐานข้อมูล

2. หน้าที่ของระบบจัดการฐานข้อมูล การจัดเก็บข้อมูล ระบบจัดการฐานข้อมูลจะช่วยลดความยุ่งยากในการนิยามข้อมูลในฐานข้อมูลและการจัดเก็บข้อมูล โดยการสร้างโครงสร้างที่จำเป็นต่อการจัดเก็บ เพื่อให้สามารถจัดเก็บข้อมูลได้ง่ายขึ้น การจัดทำพจนานุกรมข้อมูล ระบบจัดการฐานข้อมูลจะทำการจัดเก็บนิยามข้อมูลและโครงสร้างของข้อมูล รวมถึงความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลไว้ในพจนานุกรมข้อมูล และเมื่อซอฟต์แวร์ประยุกต์ต้องการรเรียกใช้ข้อมูลในฐานข้อมูล โดยผ่านระบบจัดการฐานข้อมูลก็จะมีการใช้พจนานุกรมข้อมูลในการค้นหาโครงสร้างข้อมูลและความสัมพันธ์ของข้อมูล การจัดการและเรียกค้นข้อมูล ระบบจัดการฐานข้อมูลสามารถให้ผู้ใช้งานจัดการและเรียกค้นข้อมูลได้ โดยมีภาษาที่ใช้ในการจัดการและเรียกค้นข้อมูล เรียกว่า ภาษาสอบถาม หรือภาษาคิวรี่ (Query Language) ซึ่งประกอบด้วยคำสั่งสำหรับเรียกค้นข้อมูล แก้ไขเปลี่ยนแปลง ลบข้อมูล และยังสามารถนำไปใช้ร่วมกับการพัฒนาซอฟต์แวร์ประยุกต์ทางด้านฐานข้อมูล

2. หน้าที่ของระบบจัดการฐานข้อมูล การแปลคำสั่งที่ใช้ในการจัดการกับข้อมูลในฐานข้อมูล ระบบจัดการฐานข้อมูลมีหน้าที่ในการแปลคำสั่งที่ใช้ในการจัดการฐานข้อมูลภายในฐานข้อมูลให้อยู่ในรูปแบบที่ฐานข้อมูลเข้าใจ โดยนำคำสั่งที่แปลแล้วไปสั่งให้ฐานข้อมูลทำงาน การดูแลความปลอดภัยและความถูกต้องของข้อมูล ระบบจัดการฐานข้อมูลทำหน้าที่ในการตรวจสอบการร้องขอการเข้าถึงฐานข้อมูลของผู้ใช้ ซึ่งหากเป็นการละเมิดความปลอดภัยหรือกฎควบคุมความถูกต้องของข้อมูล ก็จะทำการยกเลิกการร้องขอทันที

2. หน้าที่ของระบบจัดการฐานข้อมูล การควบคุมการเข้าถึงข้อมูลจากผู้ใช้หลายคน ระบบจัดการฐานข้อมูลมีวิธีการควบคุมความเหมาะสมให้กับผู้ใช้หลายคนสามารถใช้ข้อมูลในกรณีที่ผู้ใช้เข้ามาใช้ข้อมูลเดี่ยวกันในฐานข้อมูลพร้อมกัน โดยที่ยังคงความถูกต้องของข้อมูลไว้ได้ การฟื้นสภาพข้อมูล ระบบจัดการฐานข้อมูลมีส่วนสนับสนุนการสำรองข้อมูล และหากระบบเกิดความล้มเหลว อาจจะด้วยสาเหตุใดก็ตาม ระบบจัดการฐานข้อมูลสามารถกูคืนข้อมูลและฟื้นสภาพข้อมูลให้กลับสู่สภาพที่สมบูรณ์และถูกต้องที่สดฃุดจากข้อมูลที่เก็บสำรองไว้ ดังนั้นผู้บริหารฐานข้อมูลสามารถใช้คำสั่งสำรองข้อมูลและคำสั่งกู้คืนข้อมูลได้

3. การเลือกระบบจัดการฐานข้อมูล ระบบจัดการฐานข้อมูลมีความสามารถตั้งแต่ระดับมาตรฐาน ISO โดยมีระบบดูแลความปลอดภัยสูง ระบบควบคุมความถูกต้อง ความเป็นอิสระของข้อมูล การใช้ข้อมูลร่วมกันในช่วงเวลาเดียวกัน (Concurrency control) ระบบสำรองข้อมูลและประสิทธิภาพการฟื้นคืนข้อมูล เป็นต้น จนถึงระบบจัดการฐานข้อมูลขนาดเล็กบนเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์สำหรับผู้ใช้คนเดียว การเลือกระบบจัดการฐานข้อมูลที่เหมาะสมและคุ้มค่าการลงทุนควรพิจารณา ดังนี้ 1. ต้นทุนในการจัดหาระบจัดการฐานข้อมูลมาใช้งาน ได้แก่ ค่าใช้จ่ายของซอฟต์แวร์ ฮาร์ดแวร์ การติดตั้งและดำเนินการ การบำรุงรักษา และบุคลากรที่เกี่ยวข้อง 2. คุณสมบัติของระบบจัดการฐานข้อมูล ได้แก่ เครื่องมือที่ช่วยในการจัดทำและเรียกใช้ฐานข้อมูลเพื่อใช้งานสามารถจัดการกับฐานข้อมูลได้สะดวกเร็วขึ้น เช่น การสร้างรายงาน การใช้งานกับแพลตฟอร์มที่หลากหลาย เป็นต้น 3. โครงสร้างของฐานข้อมูล พิจารณาจากโครงสร้างฐานข้อมูลที่ทำการออกแบบไว้ เช่น ออราเคิล ไมโครซอฟท์เอสคิวแอลเซิร์ฟเวอร์ เป็นต้น

กิจกรรมที่ 5 1. จงอธิบายความหมายของระบบจัดการฐานข้อมูล กิจกรรมที่ 5 1. จงอธิบายความหมายของระบบจัดการฐานข้อมูล 2. หลักในการพิจารณาเลือกระบบจัดการฐานข้อมูลมาใช้งานมีอะไรบ้าง 3. จงยกตัวอย่างซอฟต์แวร์ระบบจัดการฐานข้อมูลที่มีการใช้งานมา 3 ตัวอย่าง