จังหวัดสุรินทร์ วันที่ 1 – 3 กรกฎาคม 2558

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ผลการตรวจวัดคุณภาพสิ่งแวดล้อมบริเวณห้วยคลิตี้ ต. ชะแล อ. ทองผาภูมิ จ
Advertisements

ผลการตรวจวัดคุณภาพสิ่งแวดล้อมบริเวณห้วยคลิตี้ ต. ชะแล อ. ทองผาภูมิ จ
กรมสรรพากร กระทรวงการ คลัง. การบริหารงานสรรพากร จัดเก็บภาษีให้ทั่วถึงเป็นธรรม มี ความโปร่งใส ค่าใช้จ่ายต่ำ ทั้งส่วนของ ทางการ และเอกชน มุ่งพัฒนาเป็นองค์กรแห่งการ.
ศูนย์โรงเรียนคุณธรรม มูลนิธิยุวสถิรคุณ การอบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนา วิทยากรแกนนำ เพื่อพัฒนาโรงเรียนคุณธรรม สพฐ. รุ่นที่ 2.
ด้าน สิ่งแวดล้อ มและ สุขภาพ EHA อสธ จ. ระบบอนามัย สิ่งแวดล้อม ศูนย์อนามัยที่ 12 ยะลา.
สรุปผลการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ.ศ รอบที่ 1/2558 คณะที่ 4 ด้านระบบการคุ้มครองผู้บริโภคด้านบริการ อาหารและ ผลิตภัณฑ์สุขภาพ และด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ.
การบูรณาการยุทธศาสตร์ ด้านพัฒนาระบบการคุ้มครองผู้บริโภค ด้านบริการ อาหาร และผลิตภัณฑ์สุขภาพ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ วันที่ 25 กันยายน 2558 ณ โรงแรมอีสเทิร์น.
แผนบูรณาการเชิง ยุทธศาสตร์ การพัฒนาศักยภาพ คนตามช่วงวัย ประจำปีงบประมาณ พ. ศ วันที่ 24 ก. พ
ประชุมผู้บริหารการศึกษา และผู้บริหารสถานศึกษา
พ.ศ.๒๕๕๘ พ.ศ.๒๕๕๙ สิงหาคม กันยายน ตุลาคม พฤศจิกายน ธันวาคม มกราคม
การประเมินและการประกันคุณภาพการศึกษาแนวใหม่
ยุทธศาสตร์กองทุนพัฒนาบทบาทสตรี พ.ศ
EEN3204 การออกแบบและผลิตสื่อการศึกษา กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ 2 (1-2-3)
แผนงาน ที่ 3 การป้องกันควบคุมโรคและลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ
ผลการดำเนินงาน 3 Cluster สตรีและเด็กปฐมวัย วัยเรียน และ วัยรุ่น
กองทุนประกันสังคม พ.จ.อ.พิชิต ศรีทองหนา จนท.สิทธิประกันสังคม
การประชุมหัวหน้ากลุ่มบริหารยุทธศาสตร์ กรมอนามัย ครั้งที่ 4/2559
ขั้นตอนการร้องเรียน.
ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน
พ.ร.บ. ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540
การตรวจราชการแบบบูรณาการ ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข
เทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อการศึกษา โดย อาจารย์สุวิสาข์ เหล่าเกิด
ผลการดำเนินงานในภาพรวมของ โครงการ TO BE NUMBER ONE ประจำปี 2559
สรุปรายงานการตรวจนิเทศงานกระทรวงสาธารณสุข รอบที่ 1/ จังหวัดกาญจนบุรี
สหกรณ์ออมทรัพย์ข้าราชการกรมตรวจบัญชีสหกรณ์ จำกัด
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
เข้าสู่วาระการประชุม
สิทธิมนุษยชน ขั้นพื้นฐาน.
กลุ่ม 2 เทคนิคการบริหารหลักสูตรสู่ความเป็นเลิศ
โรงเรียนคุณภาพประจำตำบล
โครงการชลประทานมุกดาหาร สำนักงานชลประทานที่ 7
ตัวชี้วัด1.3 ร้อยละของเด็กอายุ 6-14 ปีสูงดีสมส่วน
บทบาทของกระทรวงสาธารณสุขกับการดำเนินงานOSCC ศูนย์ช่วยเหลือสังคม
องค์ความรู้ การจัดทำดัชนีชี้วัดและการกำหนดค่าเป้าหมายผลสัมฤทธิ์ของงาน (Key Performance Indication : KPI) สำนักวิเคราะห์ วิจัยและพัฒนา.
“การบริหารจัดการแรงงานต่างด้าว” ผู้ช่วยจัดหางานจังหวัดนครสวรรค์
กุลพร สุขุมาลตระกูล นักโภชนาการชำนาญการพิเศษ
สรุปความก้าวหน้าการดำเนินงาน ตามแผนบูรณาการสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ
สถาบันพัฒนาบุคลากรด้านการพัฒนาเมือง
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (อพ.สธ.)
การเป็นศูนย์กลางข้อมูลแรงงานระดับจังหวัด Provincial Data
แผนกิจกรรมการสร้างการรับรู้ และส่งเสริมการใช้ประโยชน์จากเน็ตประชารัฐ
สิทธิรับรู้ของประชาชน
ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
บรรยายโดย คุณครูกิริยา ทิพมาตย์ สพม. เขต 23
ผลการเข้าร่วมประชุมวิชาการนานาชาติและเสวนาวิชาการ
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ของธุรกิจขายสินค้าออนไลน์
สถาบันพัฒนาบุคลากรด้านการพัฒนาเมือง
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
รับฟัง วีดีทัศน์แนะนำ HRCI
EDT2303 การออกแบบเว็บไซต์เพื่อการศึกษา 3 (2-2-5)
การจัดระบบบริการสุขภาพสำหรับผู้ต้องขังในเรือนจำ
ส่วนการเงิน กองการเงินและบัญชี
สำนักงาน กศน.จังหวัดยะลา
แนวทางการประเมิน กองทุนหลักประกันสุขภาพ
สรุปรายงานการตรวจนิเทศงานกระทรวงสาธารณสุข รอบที่ 1/2559 จังหวัดประจวบคีรีขันต์ คณะที่ 4.2 แผนงานคุ้มครองผู้บริโภคและสิ่งแวดล้อม คณะที่ 5 แผนขยะและสิ่งแวดล้อม.
การประชุมแลกเปลี่ยน เรียนรู้และสังเคราะห์บทเรียน 3 ปี
การวิเคราะห์ข้อมูล เขตเศรษฐกิจพิเศษ เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
แผนที่ 4. การบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม
ศูนย์พัฒนาการจัดบริการอาชีวอนามัยจังหวัดสมุทรปราการ
โครงการสานพลังเครือข่ายและพัฒนาต้นแบบ การลด ละ เลิกสุรา
ตัวชี้วัดกรมตรวจบัญชีสหกรณ์ ปี 2549
ยุทธศาสตร์ ที่ 1 การเผยแพร่ความรู้ และประชาสัมพันธ์ให้กับสาธารณชนทราบ
การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม
การส่งเสริมการจ้างยุวแรงงานและพัฒนาทักษะผู้ต้องขังที่จะพ้นโทษในรูปแบบกลไกประชารัฐ นโยบายเร่งด่วน (Agenda Based) : ส่งเสริมการจ้างยุวแรงงาน เป้าหมาย 10,230.
สรุปผลการดำเนินงานประจำปี 2558 กองทุนหลักประกันสุขภาพ
อัตราส่วนการตายมารดาไทย ต่อการเกิดมีชีพแสนคน
พ.ศ.๒๕๕๘ พ.ศ.๒๕๕๙ สิงหาคม กันยายน ตุลาคม พฤศจิกายน ธันวาคม มกราคม
การประชุมสรุปงานสภาอาจารย์ วิทยาเขตปัตตานี ประจำปีงบประมาณ 2561
นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการพิเศษ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

จังหวัดสุรินทร์ วันที่ 1 – 3 กรกฎาคม 2558 สรุปผลการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 รอบที่ 2/2558 คณะที่ 4 ด้านระบบการคุ้มครองผู้บริโภคด้านบริการ อาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพ และด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ วันที่ 1 – 3 กรกฎาคม 2558

ด้านระบบการคุ้มครองผู้บริโภคด้านบริการ อาหาร และผลิตภัณฑ์สุขภาพ ประเด็น 4.1 ด้านระบบการคุ้มครองผู้บริโภคด้านบริการ อาหาร และผลิตภัณฑ์สุขภาพ

ตัวชี้วัดสำคัญ 1. มีคณะอนุกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ ระดับเขต ดำเนินการตามอำนาจ หน้าที่ที่กำหนด 2. มีคณะอนุกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ ระดับจังหวัด อำเภอ ดำเนินการตามอำนาจ หน้าที่ที่กำหนด 3. ร้อยละ 100 ของเกลือบริโภคเสริมไอโอดีน ณ สถานที่ผลิต ผ่านมาตรฐาน ตามประกาศกำหนด (20-40 ppm) 4. ร้อยละ 100 ของการโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพ อาหารเสริมและสถานพยาบาล ผิดกฎหมายซึ่งเฝ้าระวังจากสื่อวิทยุกระจายเสียงหรือสื่ออื่นในพื้นที่รับผิดชอบ ได้รับการจัดการ 5.ร้อยละ 100 คลินิกเวชกรรมที่ให้บริการด้านเสริมความงามและคลินิก ที่ไม่ได้รับอนุญาตให้ประกอบกิจการสถานพยาบาลได้รับการเฝ้าระวังให้ ดำเนินการตามกฎหมาย

จัดประชุมครั้งที่ 1 / 2558 เมื่อ 12 มิถุนายน 2558 คณะอนุกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ ระดับเขตดำเนินการตามอำนาจ หน้าที่ที่กำหนด จัดประชุมครั้งที่ 1 / 2558 เมื่อ 12 มิถุนายน 2558 ที่โรงแรมสยามรีเวอร์ จังหวัดชัยภูมิ 1.ผลงานปี 2558 ตัวชี้วัดของกรมที่เกี่ยวข้อง 2.ปัญหาที่เป็นปัญหาร่วมของเขต สารปนเปื้อน ตู้น้ำหยอดเหรียญ การลดใช้โฟม ขยะติดเชื้อในคลินิกและโรงพยาบาล 3.สิ่งสนับสนุนที่ต้องการจากส่วนกลาง 4.การวางแผนการดำเนินงานร่วมกันในปี 2559

ปัญหาในการดำเนินงานในระดับอำเภอ คณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ ระดับจังหวัดและอำเภอ ดำเนินการตามอำนาจหน้าที่ 1.มีคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคระดับจังหวัด แต่ยังไม่มีการประชุม 2. การดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคในระดับอำเภอใช้แนวทางของจังหวัด ปัญหาในการดำเนินงานในระดับอำเภอ การดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคระดับอำเภอโดย เจ้าหน้าที่ ที่ไม่ใช่ พนักงานเจ้าหน้าที่

ผลงาน ไม่มีสถานที่ผลิตเกลือใน จังหวัดสุรินทร์ เกลือบริโภคเสริมไอโอดีน ณ สถานที่ผลิต ผ่านมาตรฐาน ตามประกาศกำหนด (20-40 ppm) เป้าหมาย : ร้อยละ 100 แนวทางการดำเนินการ ผลงาน ไม่มีสถานที่ผลิตเกลือใน จังหวัดสุรินทร์ มีการตรวจเกลือเสริมไอโอดีนในสถานที่จำหน่าย ด้วย I-KID จำนวน 53 ตังอย่าง ผ่าน 48 ตัวอย่าง

เป้าหมาย : ร้อยละ 100 แนวทางการดำเนินการ การโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพ อาหารเสริม และสถานพยาบาล ผิดกฎหมายซึ่งเฝ้าระวังจากสื่อวิทยุกระจายเสียงหรือสื่ออื่นในพื้นที่รับผิดชอบได้รับการจัดการ เป้าหมาย : ร้อยละ 100 แนวทางการดำเนินการ ตรวจพบการกระทำผิด 10 สถานี/ดำเนินการแล้ว 3 สถานี รายการโฆษณาที่ผิดกฎหมาย 14 รายการ/ดำเนินการแล้ว 3 รายการ รอดำเนินการ 7สถานี/11 รายการคือ อาหาร 6 รายการ ยา 4 รายการ เครื่องสำอาง 1รายการ การดำเนินการโฆษณาที่ผิดกฎหมาย อยู่ระหว่างรอประชุมคณะกรรมการพิจารณาทางคดีเพื่อดำเนินการเปรียบเทียบปรับและส่งดำเนินคดี

เป้าหมาย : ร้อยละ 100 แนวทางการดำเนินการ คลินิกเวชกรรมที่ให้บริการด้านเสริมความงามและคลินิก ที่ไม่ได้รับอนุญาตให้ประกอบกิจการสถานพยาบาลได้รับการเฝ้าระวังให้ดำเนินการตามกฎหมาย เป้าหมาย : ร้อยละ 100 แนวทางการดำเนินการ สถานพยาบาลเสริมความ 13 แห่ง ได้รับการตรวจ 13 แห่ง (ร้อยละ 100) สถานพยาบาลที่ไม่ได้รับอนุญาต (ปราสาท,ท่าตูม)ได้รับการจัดการ 2 แห่ง (ร้อยละ 100) ดำเนินงานตรวจมาตรฐานคลินิก ทั้ง 13 แห่ง (มีคลินิก 2 แห่ง โฆษณาไม่ได้ขออนุญาต และมียาไม่มี เลขทะเบียน) ขณะนี้อยู่ระหว่างดำเนินคดี

ผลงานเด่น โครงการพัฒนาศักยภาพชุมชนอำเภอบัวเชด ในการจัดการลดความเสี่ยง การใช้ยาอันตรายในชุมชนแบบบูรณาการ **มีคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคระดับอำเภอ สำรวจวิเคราะห์ปัญหาและวางแผนการดำเนินงาน จัดทำประชาคม ลงนามข้อตกลง(MOU) ผู้ประกอบการ-ผู้นำชุมชน อสม-เครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภค จัดตั้งศูนย์เฝ้าระวังระดับอำเภอ สร้างเครือข่ายเฝ้าระวังแบบ Online ประเมินและรับรองร้านชำคุณภาพ

ผลงานเด่น กิจกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคระดับอำเภอ ผลงานเด่น กิจกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคระดับอำเภอ อำเภอบัวเชด จังหวัดสุรินทร์ สร้างเครือข่ายระดับตำบล

การเฝ้าระวังการจำหน่ายยารถเร่ในชุมชน อ.บัวเชด ยาน้ำกษัย ตราเทพธิดา ผลตรวจชุดทดสอบ สเตียรอยด์ ให้ผลบวก(Positive)

ผลงานด้านคุ้มครองผู้บริโภคระดับอำเภออื่นๆ ผลงานเด่น ผลงานด้านคุ้มครองผู้บริโภคระดับอำเภออื่นๆ 1.โครงการส่งเสริมการใช้ยาปลอดภัยในชุมชนนำร่อง ตำบลตานี อำเภอปราสาท จังหวัดสุรินทร์ ดำเนินการ ได้ถึงระดับ 4 มีการสรุปผลงาน และวิเคราะห์ผลงาน 2.การดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคของอำเภอ โนนนารายณ์ที่เป็นระบบและต่อเนื่อง สามารถดำเนินการได้เอง เช่น จัดอบรม ทำคู่มือได้เอง

ปัญหาและอุปสรรค กลไกและการดำเนินงานระดับอำเภอในรูปแบบคณะกรรมการยังดำเนินการไม่ครบทุกอำเภอ สาธารณสุขอำเภอ (พนักงานเจ้าหน้าที่) มอบหมายเจ้าหน้าที่ (ไม่ใช่พนักงานเจ้าหน้าที่)เป็นผู้ปฏิบัติงาน ซึ่งทำให้การปฏิบัติงานไม่เป็นไปตามที่กฎหมายมอบอำนาจ จึงขาดความมั่นใจในการจัดการแก้ไขปัญหา เจ้าหน้าที่ขาดทักษะในการทำงานเฉพาะด้าน เช่น การตรวจมาตรฐานสถานพยาบาลคลินิกที่ให้บริการ เสริมความงาม

แนวทางการแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับ การโฆษณาทางสื่อต่าง ๆ 1.จัดทำสื่อประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับการโฆษณาที่ ถูกต้องให้ประชาชนทราบในวงกว้าง พร้อม สร้างเครือข่ายภาคประชาชนในการเฝ้าระวัง โฆษณาที่ไม่ถูกต้อง 2.จัดทำแนวทางการทำงานร่วมกันระหว่าง สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดกับ กสทช.เขต 3.พัฒนาความรู้ให้เจ้าหน้าที่และเครือข่าย

แนวทางการแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับ การโฆษณาทางสื่อต่าง ๆ 4.ปรับปรุงกฎหมายให้เพิ่มบทลงโทษที่สูงขึ้น 5. ประชาสัมพันธ์การตรวจสอบข้อมูล สถานพยาบาลที่ถูกต้อง ผ่าน Website สำนักสถานพยาบาลและการประกอบโรคศิลปะ http://mrd-hss.moph.go.th

ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย 1. ให้แต่งตั้งเจ้าหน้าที่ระดับอำเภอ ที่ทำงาน คุ้มครองผู้บริโภค เป็นพนักงานเจ้าหน้าที่ เพิ่มขึ้น เพื่อร่วมกันปฏิบัติงานฯ ได้อย่างเต็ม ประสิทธิภาพ 2. กำหนดค่าตอบแทนของผู้เชี่ยวชาญ เฉพาะด้าน ที่ร่วมตรวจประเมินการขออนุญาต สถานพยาบาลเฉพาะทาง

ประเด็น 4.2 คณะอนุกรรมการสาธารณสุขจังหวัด (อสธจ.) ดำเนินงานตามอำนาจหน้าที่และแนวทางที่กำหนดได้อย่างมีประสิทธิภาพ

ข้อสังเกต ปัญหาอุปสรรค จำนวนการจัดประชุม ปี 2557 ประชุม อสธจ. จำนวน 2 ครั้ง ปี 2558 ดำเนินการแล้ว 3 ครั้ง จะดำเนินการอีก1ครั้ง สาระสำคัญจากที่ประชุม อสธจ. ปีงบประมาณ 2558 1.มีมติเร่งรัด อปท.เพื่อปรับปรุงตลาดสดประเภท 1 ที่ไม่ได้มาตรฐาน ตลาดสดน่าซื้อ 4 แห่งโดยเชิญเทศบาลมาชี้แจงแผนพัฒนา 2 อสธจ. สนับสนุนการแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมที่สำคัญของจังหวัด

ข้อสังเกต ปัญหาอุปสรรค สาระสำคัญจากที่ประชุม อสธจ.(ต่อ) 2 อสธจ. สนับสนุนการแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมที่สำคัญของจังหวัด *ให้นายอำเภอและท้องถิ่นจังหวัดเข้มงวดกับเจ้าของประปาหมู่บ้าน ที่คุณภาพน้ำประปายัง ไม่ผ่านมาตรฐาน *มีการบูรณาการการแก้ปัญหาผลกระทบจากโรงโม่หิน โดยรพ.สต. นาบัว/รพ.สุรินทร์./โรงโม่หิน/ทสจ./อุตสาหกรรม โดยการสนับสนุนตรวจสุขภาพจากกองทุนประทานบัตรฯปี56-58 มติที่ประชุม ให้เสนอผวจ.สั่งการหน่วยงานที่เกี่ยวข้องร่วมป้องกัน/แก้ปัญหา

ข้อสังเกต ปัญหาอุปสรรค สาระสำคัญจากที่ประชุม อสธจ.(ต่อ) 2 อสธจ. สนับสนุนการแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมที่สำคัญของจังหวัด *ให้ เทศบาลทุกแห่ง สมัครเข้าร่วมโครงการ EHA - สมัคร26 แห่ง ร้อยละ92.8 -ผ่านมาตรฐานพื้นฐาน 19 แห่ง ร้อยละ67.8 * ส่งเสริมอปท.ให้ออกข้อกำหนดท้องถิ่น - มีอปท.ออกข้อบัญญัติอย่างน้อย 1 เรื่อง ร้อยละ 99.42 * การสำรวจและวิเคราะห์ข้อมูลด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ - สำรวจแล้ว 71 แห่ง ร้อยละ41.27 จะแล้วเสร็จภายใน ก.ย.58

ข้อสังเกต ปัญหาอุปสรรค 3 .ปัญหาอุปสรรค * 1. อปท.บางแห่งยังขาดความรู้ความเข้าใจและไม่เห็น ความจำเป็นในการออกข้อกำหนด 2. ข้อมูลที่สำรวจท้องถิ่นมีรายละเอียดมาก ต้องใช้เวลาใน การสำรวจและบันทึกข้อมูล 3 .แผนที่จะดำเนินการต่อ * 1. ติดตามแบบสำรวจและวิเคราะห์ข้อมูลด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมและ สุขภาพ จากท้องถิ่น * 2.พัฒนาศักยภาพ จพง.ท้องถิ่น/จพง.สาธารณสุข/ผู้ได้รับการแต่งตั้ง ( 22กรกฎาคม 2558 )

ข้อเสนอแนะต่อหน่วยรับตรวจ * มีกลไกระดับอำเภอรองรับการทำงานตามมติอสธจ. * มีการจัดทำbaseline data พื้นที่เสี่ยง * เร่งรัด การสำรวจ/บันทึกข้อมูล ให้แล้วเสร็จตามเวลา ข้อเสนอแนะต่อส่วนกลาง -ไม่มี สิ่งดีดีทีพบจากพื้นที่ * อำเภอโนนนารายณ์มีกลไกระดับอำเภอรองรับแผนสิ่งแวดล้อม ชื่อ คำสั่งคณะกรรมการด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ มีนายอำเภอเป็นประธาน ตั้งเมื่อธค.57 สามารถเป็นกลไกระดับอำเภอรูปแบบหนึ่ง รองรับอสธจ

ขอขอบคุณ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กรมอนามัย