จังหวัดสุรินทร์ วันที่ 1 – 3 กรกฎาคม 2558 สรุปผลการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 รอบที่ 2/2558 คณะที่ 4 ด้านระบบการคุ้มครองผู้บริโภคด้านบริการ อาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพ และด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ วันที่ 1 – 3 กรกฎาคม 2558
ด้านระบบการคุ้มครองผู้บริโภคด้านบริการ อาหาร และผลิตภัณฑ์สุขภาพ ประเด็น 4.1 ด้านระบบการคุ้มครองผู้บริโภคด้านบริการ อาหาร และผลิตภัณฑ์สุขภาพ
ตัวชี้วัดสำคัญ 1. มีคณะอนุกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ ระดับเขต ดำเนินการตามอำนาจ หน้าที่ที่กำหนด 2. มีคณะอนุกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ ระดับจังหวัด อำเภอ ดำเนินการตามอำนาจ หน้าที่ที่กำหนด 3. ร้อยละ 100 ของเกลือบริโภคเสริมไอโอดีน ณ สถานที่ผลิต ผ่านมาตรฐาน ตามประกาศกำหนด (20-40 ppm) 4. ร้อยละ 100 ของการโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพ อาหารเสริมและสถานพยาบาล ผิดกฎหมายซึ่งเฝ้าระวังจากสื่อวิทยุกระจายเสียงหรือสื่ออื่นในพื้นที่รับผิดชอบ ได้รับการจัดการ 5.ร้อยละ 100 คลินิกเวชกรรมที่ให้บริการด้านเสริมความงามและคลินิก ที่ไม่ได้รับอนุญาตให้ประกอบกิจการสถานพยาบาลได้รับการเฝ้าระวังให้ ดำเนินการตามกฎหมาย
จัดประชุมครั้งที่ 1 / 2558 เมื่อ 12 มิถุนายน 2558 คณะอนุกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ ระดับเขตดำเนินการตามอำนาจ หน้าที่ที่กำหนด จัดประชุมครั้งที่ 1 / 2558 เมื่อ 12 มิถุนายน 2558 ที่โรงแรมสยามรีเวอร์ จังหวัดชัยภูมิ 1.ผลงานปี 2558 ตัวชี้วัดของกรมที่เกี่ยวข้อง 2.ปัญหาที่เป็นปัญหาร่วมของเขต สารปนเปื้อน ตู้น้ำหยอดเหรียญ การลดใช้โฟม ขยะติดเชื้อในคลินิกและโรงพยาบาล 3.สิ่งสนับสนุนที่ต้องการจากส่วนกลาง 4.การวางแผนการดำเนินงานร่วมกันในปี 2559
ปัญหาในการดำเนินงานในระดับอำเภอ คณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ ระดับจังหวัดและอำเภอ ดำเนินการตามอำนาจหน้าที่ 1.มีคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคระดับจังหวัด แต่ยังไม่มีการประชุม 2. การดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคในระดับอำเภอใช้แนวทางของจังหวัด ปัญหาในการดำเนินงานในระดับอำเภอ การดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคระดับอำเภอโดย เจ้าหน้าที่ ที่ไม่ใช่ พนักงานเจ้าหน้าที่
ผลงาน ไม่มีสถานที่ผลิตเกลือใน จังหวัดสุรินทร์ เกลือบริโภคเสริมไอโอดีน ณ สถานที่ผลิต ผ่านมาตรฐาน ตามประกาศกำหนด (20-40 ppm) เป้าหมาย : ร้อยละ 100 แนวทางการดำเนินการ ผลงาน ไม่มีสถานที่ผลิตเกลือใน จังหวัดสุรินทร์ มีการตรวจเกลือเสริมไอโอดีนในสถานที่จำหน่าย ด้วย I-KID จำนวน 53 ตังอย่าง ผ่าน 48 ตัวอย่าง
เป้าหมาย : ร้อยละ 100 แนวทางการดำเนินการ การโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพ อาหารเสริม และสถานพยาบาล ผิดกฎหมายซึ่งเฝ้าระวังจากสื่อวิทยุกระจายเสียงหรือสื่ออื่นในพื้นที่รับผิดชอบได้รับการจัดการ เป้าหมาย : ร้อยละ 100 แนวทางการดำเนินการ ตรวจพบการกระทำผิด 10 สถานี/ดำเนินการแล้ว 3 สถานี รายการโฆษณาที่ผิดกฎหมาย 14 รายการ/ดำเนินการแล้ว 3 รายการ รอดำเนินการ 7สถานี/11 รายการคือ อาหาร 6 รายการ ยา 4 รายการ เครื่องสำอาง 1รายการ การดำเนินการโฆษณาที่ผิดกฎหมาย อยู่ระหว่างรอประชุมคณะกรรมการพิจารณาทางคดีเพื่อดำเนินการเปรียบเทียบปรับและส่งดำเนินคดี
เป้าหมาย : ร้อยละ 100 แนวทางการดำเนินการ คลินิกเวชกรรมที่ให้บริการด้านเสริมความงามและคลินิก ที่ไม่ได้รับอนุญาตให้ประกอบกิจการสถานพยาบาลได้รับการเฝ้าระวังให้ดำเนินการตามกฎหมาย เป้าหมาย : ร้อยละ 100 แนวทางการดำเนินการ สถานพยาบาลเสริมความ 13 แห่ง ได้รับการตรวจ 13 แห่ง (ร้อยละ 100) สถานพยาบาลที่ไม่ได้รับอนุญาต (ปราสาท,ท่าตูม)ได้รับการจัดการ 2 แห่ง (ร้อยละ 100) ดำเนินงานตรวจมาตรฐานคลินิก ทั้ง 13 แห่ง (มีคลินิก 2 แห่ง โฆษณาไม่ได้ขออนุญาต และมียาไม่มี เลขทะเบียน) ขณะนี้อยู่ระหว่างดำเนินคดี
ผลงานเด่น โครงการพัฒนาศักยภาพชุมชนอำเภอบัวเชด ในการจัดการลดความเสี่ยง การใช้ยาอันตรายในชุมชนแบบบูรณาการ **มีคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคระดับอำเภอ สำรวจวิเคราะห์ปัญหาและวางแผนการดำเนินงาน จัดทำประชาคม ลงนามข้อตกลง(MOU) ผู้ประกอบการ-ผู้นำชุมชน อสม-เครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภค จัดตั้งศูนย์เฝ้าระวังระดับอำเภอ สร้างเครือข่ายเฝ้าระวังแบบ Online ประเมินและรับรองร้านชำคุณภาพ
ผลงานเด่น กิจกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคระดับอำเภอ ผลงานเด่น กิจกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคระดับอำเภอ อำเภอบัวเชด จังหวัดสุรินทร์ สร้างเครือข่ายระดับตำบล
การเฝ้าระวังการจำหน่ายยารถเร่ในชุมชน อ.บัวเชด ยาน้ำกษัย ตราเทพธิดา ผลตรวจชุดทดสอบ สเตียรอยด์ ให้ผลบวก(Positive)
ผลงานด้านคุ้มครองผู้บริโภคระดับอำเภออื่นๆ ผลงานเด่น ผลงานด้านคุ้มครองผู้บริโภคระดับอำเภออื่นๆ 1.โครงการส่งเสริมการใช้ยาปลอดภัยในชุมชนนำร่อง ตำบลตานี อำเภอปราสาท จังหวัดสุรินทร์ ดำเนินการ ได้ถึงระดับ 4 มีการสรุปผลงาน และวิเคราะห์ผลงาน 2.การดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคของอำเภอ โนนนารายณ์ที่เป็นระบบและต่อเนื่อง สามารถดำเนินการได้เอง เช่น จัดอบรม ทำคู่มือได้เอง
ปัญหาและอุปสรรค กลไกและการดำเนินงานระดับอำเภอในรูปแบบคณะกรรมการยังดำเนินการไม่ครบทุกอำเภอ สาธารณสุขอำเภอ (พนักงานเจ้าหน้าที่) มอบหมายเจ้าหน้าที่ (ไม่ใช่พนักงานเจ้าหน้าที่)เป็นผู้ปฏิบัติงาน ซึ่งทำให้การปฏิบัติงานไม่เป็นไปตามที่กฎหมายมอบอำนาจ จึงขาดความมั่นใจในการจัดการแก้ไขปัญหา เจ้าหน้าที่ขาดทักษะในการทำงานเฉพาะด้าน เช่น การตรวจมาตรฐานสถานพยาบาลคลินิกที่ให้บริการ เสริมความงาม
แนวทางการแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับ การโฆษณาทางสื่อต่าง ๆ 1.จัดทำสื่อประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับการโฆษณาที่ ถูกต้องให้ประชาชนทราบในวงกว้าง พร้อม สร้างเครือข่ายภาคประชาชนในการเฝ้าระวัง โฆษณาที่ไม่ถูกต้อง 2.จัดทำแนวทางการทำงานร่วมกันระหว่าง สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดกับ กสทช.เขต 3.พัฒนาความรู้ให้เจ้าหน้าที่และเครือข่าย
แนวทางการแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับ การโฆษณาทางสื่อต่าง ๆ 4.ปรับปรุงกฎหมายให้เพิ่มบทลงโทษที่สูงขึ้น 5. ประชาสัมพันธ์การตรวจสอบข้อมูล สถานพยาบาลที่ถูกต้อง ผ่าน Website สำนักสถานพยาบาลและการประกอบโรคศิลปะ http://mrd-hss.moph.go.th
ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย 1. ให้แต่งตั้งเจ้าหน้าที่ระดับอำเภอ ที่ทำงาน คุ้มครองผู้บริโภค เป็นพนักงานเจ้าหน้าที่ เพิ่มขึ้น เพื่อร่วมกันปฏิบัติงานฯ ได้อย่างเต็ม ประสิทธิภาพ 2. กำหนดค่าตอบแทนของผู้เชี่ยวชาญ เฉพาะด้าน ที่ร่วมตรวจประเมินการขออนุญาต สถานพยาบาลเฉพาะทาง
ประเด็น 4.2 คณะอนุกรรมการสาธารณสุขจังหวัด (อสธจ.) ดำเนินงานตามอำนาจหน้าที่และแนวทางที่กำหนดได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ข้อสังเกต ปัญหาอุปสรรค จำนวนการจัดประชุม ปี 2557 ประชุม อสธจ. จำนวน 2 ครั้ง ปี 2558 ดำเนินการแล้ว 3 ครั้ง จะดำเนินการอีก1ครั้ง สาระสำคัญจากที่ประชุม อสธจ. ปีงบประมาณ 2558 1.มีมติเร่งรัด อปท.เพื่อปรับปรุงตลาดสดประเภท 1 ที่ไม่ได้มาตรฐาน ตลาดสดน่าซื้อ 4 แห่งโดยเชิญเทศบาลมาชี้แจงแผนพัฒนา 2 อสธจ. สนับสนุนการแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมที่สำคัญของจังหวัด
ข้อสังเกต ปัญหาอุปสรรค สาระสำคัญจากที่ประชุม อสธจ.(ต่อ) 2 อสธจ. สนับสนุนการแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมที่สำคัญของจังหวัด *ให้นายอำเภอและท้องถิ่นจังหวัดเข้มงวดกับเจ้าของประปาหมู่บ้าน ที่คุณภาพน้ำประปายัง ไม่ผ่านมาตรฐาน *มีการบูรณาการการแก้ปัญหาผลกระทบจากโรงโม่หิน โดยรพ.สต. นาบัว/รพ.สุรินทร์./โรงโม่หิน/ทสจ./อุตสาหกรรม โดยการสนับสนุนตรวจสุขภาพจากกองทุนประทานบัตรฯปี56-58 มติที่ประชุม ให้เสนอผวจ.สั่งการหน่วยงานที่เกี่ยวข้องร่วมป้องกัน/แก้ปัญหา
ข้อสังเกต ปัญหาอุปสรรค สาระสำคัญจากที่ประชุม อสธจ.(ต่อ) 2 อสธจ. สนับสนุนการแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมที่สำคัญของจังหวัด *ให้ เทศบาลทุกแห่ง สมัครเข้าร่วมโครงการ EHA - สมัคร26 แห่ง ร้อยละ92.8 -ผ่านมาตรฐานพื้นฐาน 19 แห่ง ร้อยละ67.8 * ส่งเสริมอปท.ให้ออกข้อกำหนดท้องถิ่น - มีอปท.ออกข้อบัญญัติอย่างน้อย 1 เรื่อง ร้อยละ 99.42 * การสำรวจและวิเคราะห์ข้อมูลด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ - สำรวจแล้ว 71 แห่ง ร้อยละ41.27 จะแล้วเสร็จภายใน ก.ย.58
ข้อสังเกต ปัญหาอุปสรรค 3 .ปัญหาอุปสรรค * 1. อปท.บางแห่งยังขาดความรู้ความเข้าใจและไม่เห็น ความจำเป็นในการออกข้อกำหนด 2. ข้อมูลที่สำรวจท้องถิ่นมีรายละเอียดมาก ต้องใช้เวลาใน การสำรวจและบันทึกข้อมูล 3 .แผนที่จะดำเนินการต่อ * 1. ติดตามแบบสำรวจและวิเคราะห์ข้อมูลด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมและ สุขภาพ จากท้องถิ่น * 2.พัฒนาศักยภาพ จพง.ท้องถิ่น/จพง.สาธารณสุข/ผู้ได้รับการแต่งตั้ง ( 22กรกฎาคม 2558 )
ข้อเสนอแนะต่อหน่วยรับตรวจ * มีกลไกระดับอำเภอรองรับการทำงานตามมติอสธจ. * มีการจัดทำbaseline data พื้นที่เสี่ยง * เร่งรัด การสำรวจ/บันทึกข้อมูล ให้แล้วเสร็จตามเวลา ข้อเสนอแนะต่อส่วนกลาง -ไม่มี สิ่งดีดีทีพบจากพื้นที่ * อำเภอโนนนารายณ์มีกลไกระดับอำเภอรองรับแผนสิ่งแวดล้อม ชื่อ คำสั่งคณะกรรมการด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ มีนายอำเภอเป็นประธาน ตั้งเมื่อธค.57 สามารถเป็นกลไกระดับอำเภอรูปแบบหนึ่ง รองรับอสธจ
ขอขอบคุณ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กรมอนามัย