เลขยกกำลัง Potenser สมบัติของเลขยกกำลัง Regneregler gjelder for potensen รูปแบบมาตรฐาน Normalform/standardform จำนวนรากกำลังสอง Kvadratrot
เลขยกกำลัง คืออะไร เลขยกกำลัง คือ การคูณตัวเลขนั้นๆตามจำนวนของเลขชี้กำลัง ซึ่งตัวเลขนั้นๆจะคูณตัวของมันเองและเมื่อแทน A เป็นจำนวนใด ๆ และแทน n เป็นจำนวนเต็มบวก โดยที่มี A เป็นฐานหรือตัวเลข และ n เป็นเลขชี้กำลัง(An/An) จะได้ว่า a คูณกัน n ตัว (AxAxAxAxAx…xA) เช่น 10x10x10 = 103 = 1000 เลขชี้กำลัง Ekponent จะเป็นตัวบอกเราว่าเลขฐานจะคูณกันเป็นจำนวนกี่ครั้ง
สมบัติของเลขยกกำลัง 1. สมบัติการคูณเลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็มบวก เมื่อ a เป็นจำนวนใด ๆ และ m, n เป็นจำนวนเต็มบวก เช่น 43.42 =4.4.4.4.4=43+2 = 45 2. สมบัติการหารเลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็มบวก 2.1 เมื่อ a เป็นจำนวนจริงใดๆที่ไม่ใช่ศูนย์ และ m, n เป็นจำนวนเต็มบวกที่ n > m เช่น
สมบัติของเลขยกกำลัง 2.2 ถ้า a เป็นจำนวนจริงใดๆ ที่ไม่ใช่ศูนย์ และ m, nเป็นจำนวนเต็มบวกที n = m ถ้า a เป็นจำนวนจริงใดๆ ที่ไม่ใช่ศูนย์ (a0 = 1) เช่น 2.3 เมื่อ a เป็นจำนวนจริงใดๆที่ไม่ใช่ศูนย์ และ m, n เป็นจำนวนเต็มบวกที่ n < m เช่น
สมบัติของเลขยกกำลัง 2.3 (ต่อ) ถ้า a เป็นจำนวนจริงใดๆ ที่ไม่ใช่ศูนย์ และ n เป็นจำนวนเต็มบวก แล้ว หรือ เช่น หรือ
สมบัติของเลขยกกำลัง 3. สมบัติอื่นๆของเลขยกกำลัง 3.1. เลขยกกำลังที่มีฐานเป็นเลขยกกำลัง เมื่อ a ≥ 0 และ n, m เป็นจำนวนเต็ม ตัวอย่างเช่น 1. 2. 3.
สมบัติของเลขยกกำลัง 3.2 เลขยกกำลังที่มีฐานอยู่ในรูปการคูณ หรือการหารของจำนวนหลาย ๆจำนวน เมื่อ a ≠ 0, b ≠ 0 และ n เป็นจำนวนเต็ม เช่น
สมบัติของเลขยกกำลัง 3.3 เลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นเศษส่วน 1. เมื่อ a > 0 และ n เป็นจำนวนเต็มบวกที่มากกว่า 1 เช่น 2. เมื่อ a ≠ 0 และ m เป็นจำนวนเต็มบวก ; n ≥ 2
รูปแบบมาตรฐานStandardform รูปแบบมารตฐานจริงๆแล้วก็คือเลขยกกำลังของ 10 เราสามารถเขียนจำนวน 100 เป็น 102 ได้ แต่ถ้าจำนวน 300 เราสามารถเขียนได้เป็น 3.100 หรือ 3.102 ในกรณีเดียวกันเราสามารถเขียนจำนวน 320 ให้อยู่ในรูปมาตรฐานได้คือ 3,2 . 102 ลักษณะของรูปแบบมาตรฐานสามารถเขียนได้ คือ ±k . 10n เมื่อ n เป็นจำนวนเต็ม และ 1≤ k ≤ 10 ตัวอย่าง : เมื่อแสงเคลื่อนไหวด้วยความเร็วประมาณ 300.000กม./วินาที เราสามารถเขียนในรูปแบบมาตรฐานได้ คือ 3.105 กม/วินาที
ตารางเลขยกกำลังและรูปแบบมาตรฐาน
จำนวนรากกำลังสองและรากอื่นๆ ถ้าให้ n เป็นจำนวนจริงบวกใดๆหรือศูนย์ รากที่สองของ n คือจำนวนจริงที่ยกกำลังสองแล้วได้ n สัญลักษณ์รากกำลังสอง คือ เช่น รากที่สองของ 4 คือ สามารถเขียนเป็นสัญลักษณ์ได้คือ
จำนวนรากกำลังสองและรากอื่นๆ ถ้ารากที่เป็นลบจะใช้สัญลักษณ์ โดยที่ ตัวอย่าง เช่น *รากที่สองของ 0 คือ 0
จำนวนรากกำลังสองและรากอื่นๆ เราสามารถเขียนรากกำลังอื่นๆได้ คือ
ที่มา Litteraturliste matematikk.net phakhanun.เลขยกกำลัง/ bpcd421.bpcd.net sinus.cappelendamm.no