แผนปฏิบัติการ เร่งรัดการยุติปัญหาเอดส์ ประเทศไทย พ.ศ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สรุป assignment ที่ 1 มีทั้งหมด สอง file เป็น slide ประกอบเสียงเปิด เสียงฟังดังๆ จะเปลี่ยนรูปเอง โดยอัตโนมัติค่ะ.
Advertisements

ภูษิต ประคองสาย สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ (IHPP)
ศูนย์ความร่วมมือไทย-สหรัฐด้านสาธารณสุข
บทบาทของผู้ให้บริการ ในการเสริมสร้างคุณภาพระบบบริการ ในการเพิ่มประสิทธิภาพการดูแล รักษา มุมมองผู้ให้บริการในพื้นที่ พญ.พัชรี ขันติพงษ์ โรงพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห์
Elimination of Mother-to-Child HIV Transmission: Knowledge to Practice
Skills Development and Lifelong Learning: Thailand in 2010s Tipsuda Sumethsenee Office of the Education Council Thailand’s Ministry of Education.
งานข้อมูลสารสนเทศ กลุ่มยุทธศาสตร์และงานวิชาการ
โรงเรียนจิตรลดา (สายวิชาชีพ)
Chapter 6 Entrepreneurship Financing - Innofund
พรทิพย์ เข็มเงิน ศูนย์อำนวยการบริหารจัดการปัญหาเอดส์แห่งชาติ
พื้นฐานการเขียนแบบทางวิศวกรรม
ก้าวย่างไปข้างหน้าอย่างไร... เพื่อมุ่งสู่การยุติปัญหาเอดส์
การพัฒนาความเข้มแข็งของระบบบริการ RRTTR
การยุติปัญหาเอดส์ในประเทศไทย
การเตรียมความพร้อมข้าราชการ สู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558
PCT / ระบบสำคัญ : ใช้ Cycle of Learning ในการหมุน PDSA
การแบ่งส่วนตลาด การตลาดเป้าหมาย และการวางตำแหน่งผลิตภัณฑ์ Market Segmentation, Market Targeting, and Product Positioning การแบ่งส่วนตลาด (Market Segmentation)
HON’s activities Care and Support Program
การยุติการถ่ายทอดเชื้อตับอักเสบบีจากแม่สู่ลูก สถานการณ์ในไทยและก้าวต่อไป พญ รังสิมา โล่ห์เลขา Chief, HIV Prevention and Care among Children, Adolescents,
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการเงิน
โดย พระมหาปรีชา ปภสฺสโร พระวิทยากร มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
รู้เท่าทัน... พนมพร ห่วงมาก พยาบาลวิชาชีพ ชำนาญการ
กลุ่มระบาดวิทยาและข่าวกรอง สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 12 สงขลา
Thailand Standards TMC.WFME.BME. Standards (2017)
Pre-Exposure Prophylaxis for HIV prevention
AIDs/ STI/ TB/ Leprosy/ Hepatitis
แนวทางการพัฒนางานป้องกันควบคุมโรค ของกรมควบคุมโรค
บูรณาการ“เข้าใจ เข้าถึง”
เพศสัมพันธ์ในวัยเรียน
TB HIV ประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อขยายผลแนวทาง การให้บริการ IPT
ความก้าวหน้าการดำเนินงานตามนโยบายตัวชี้วัดวัณโรค
แนวทางปฏิบัติ กรณีหญิงตั้งครรภ์ที่ติดเชื้อเอชไอวี ด้อยสิทธิ์/ต่างด้าว
แอปพลิเคชันขององค์กรในยุคอินเทอร์เน็ต
มุ่งสู่ความเป็นศูนย์: การเลือกปฏิบัติด้านเอดส์ 10 กันยายน 2557
(ร่าง) กรอบยุทธศาสตร์ 20 ปี กรมควบคุมโรค
บทที่ 6 การแบ่งส่วนตลาด การตลาด เป้าหมาย และการวางตำแหน่ง ผลิตภัณฑ์
การกำหนด STP Segmentation Target Positioning
นโยบายการดำเนินงาน PrEP กับการยุติปัญหาเอดส์
ก้าวทันโรค - - ก้าวต่อไปในการดำเนินโครงการ
ASEAN - China Free Trade Agreement (ACFTA)
ความเป็นมาของโครงการ และแนวคิดของรูปแบบการจัดบริการปรึกษาและตรวจเอชไอวีโดยเน้นชุมชนเป็นศูนย์กลาง (community-centered service model) พญ.นิตยา ภานุภาค พึ่งพาพงศ์
ณ โรงแรมรัตนโกสินทร์ อ.เมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan)
การติดตามและประเมินผล การดำเนินการโครงการฯ
รพ.บัวเชด อ.บัวเชด จ.สุรินทร์
นายแพทย์สราวุฒิ บุญสุข กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข
การจัดการเชิงรุกรายบุคคล
บทที่ 6 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
ทิศทาง นโยบาย และเป้าหมายการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ กรมควบคุมโรค ปีงบประมาณ พ.ศ นายแพทย์ภาณุมาศ ญาณเวทย์สกุล รองอธิบดีกรมควบคุมโรค.
อัตราความสำเร็จการรักษา ผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่ (≥ 85 %)
การแบ่งส่วนตลาด การตลาดเป้าหมาย และการวางตำแหน่งผลิตภัณฑ์ Market Segmentation, Market Targeting, and Product Positioning การแบ่งส่วนตลาด (Market Segmentation)
ชื่อผลงาน:การพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วย HIV/TB แบบบูรณาการ
สถานการณ์ นโยบาย และการดำเนินงาน
สำนักโรคเอดส์ วัณโรค และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
หลักการทางด้านการตลาด
สำนักโรคเอดส์ วัณโรคและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 23 เมษายน 2557
วิภาส วิมลเศรษฐ มีนาคม 2556
เครือข่ายโภชนาการช่วงแรกของชีวิต ประเทศไทย
การทำงาน MSM-TG สำคัญอย่างไร มุมมองทั่วไปและด้านระบาด สาธารณสุข
Real Time Cohort Monitoring RTCM
การดำเนินงานการจัดบริการเอชไอวี/เอดส์ โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์และวัณโรค สำหรับภาคีเครือข่ายศูนย์บริการชุมชน (DIC- Cluster) ในระดับ อำเภอ/องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ.
แนวทางการใช้กระบวนการประเมินความเสี่ยงวัตถุอันตรายทางอุตสาหกรรม
แพทย์หญิงประนอม คำเที่ยง
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางธุรกิจ
สำนักโรคเอดส์ วัณโรค และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 29 สิงหาคม 2557
Management Review Based On ISO 9001 : 2008
การพัฒนาคุณภาพการดูแลรักษาผู้ติดเชื้อเอชไอวี
การจัดบริการ PrEP พญ. นิตยา ภานุภาค ศูนย์วิจัยโรคเอดส์ สภากาชาดไทย
การติดตามและประเมินผล การดำเนินการโครงการฯ
คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แผนปฏิบัติการ เร่งรัดการยุติปัญหาเอดส์ ประเทศไทย พ.ศ.2558 - 2562 แผนปฏิบัติการ เร่งรัดการยุติปัญหาเอดส์ ประเทศไทย พ.ศ.2558 - 2562  

การยุติปัญหาเอดส์ (Ending AIDS) การติดเชื้อเอชไอวีรายใหม่ลดลง ร้อยละ 90 (<1,000 ราย/ปี) ไม่มีเด็กติดเชื้อเอชไอวีเมื่อแรก เกิด ผู้ติดเชื้อเอชไอวีทุกคนเข้าถึงการ รักษาด้วยยาต้านไวรัสฯ แต่ เนิ่นๆ ช่วยให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี และป้องกันการถ่ายทอดเชื้อฯให้ ผู้อื่น

หลักการ ผลการศึกษา HPTN 052 ที่ศึกษาในคู่ชาย-หญิง ที่มีผล เลือดต่าง พบว่ากลุ่มที่รักษาเมื่อ CD4 มากกว่า 250 กับ น้อยกว่า 250 สามารถป้องกันการติดเชื้อฯในคู่ มี ประสิทธิผลสูง 96% การศึกษานี้ เป็นที่มาของ การใช้ประโยชน์ของการรักษาใน การป้องกันด้วย เรียกว่า Treatment as Prevention (TasP)

มาตรการเพื่อยุติปัญหาเอดส์ของประเทศไทย ขยายความครอบคลุมการดำเนินงาน ป้องกันผสมผสานการปรับเปลี่ยน พฤติกรรม (ใช้ถุงยางอนามัย ใช้เข็มและอุปกรณ์ฉีดยาปลอดเชื้อ) การให้การ ปรึกษาและตรวจเอชไอวี ในกลุ่มประชากรหลัก คือ ชายมีเพศสัมพันธ์กับชาย พนักงานบริการ (sex worker) ผู้ใช้ยาด้วยวิธีฉีด ครอบคลุม 90% รักษาผู้ติดเชื้อฯด้วยยาต้านไวรัสฯแต่เนิ่นๆ ในทุกคนที่ตรวจพบเชื้อฯ ไม่จำกัด ระดับ CD4 สนับสนุนให้ผู้ติดเชื้อฯกินยาสม่ำเสมอ มีอัตรากินยาต่อเนื่อง (Adherence > 90%) บริหารจัดการข้อมูลและการรายงานแนวใหม่ ที่สามารถเชื่อมต่อการบริการ เป็นรายบุคคล ทำให้เรื่องเอดส์ และการตรวจเอชไอวี เป็นเรื่องปกติวิสัย (Normalize HIV)

Changing our approach: from controlling AIDS to ending AIDS Strategic focus on addressing the gap between the current response and the optimal response needed to effectively end AIDS in Thailand by: 1. Geographically and demographically tailored and targeted service packages 2. Combination prevention and treatment approaches that leverage ART’s preventive benefits

ถูกที่ ถูกกลุ่มเป้าหมาย ชุดกิจกรรมที่เหมาะสม การจัดลำดับความสำคัญการดำเนินงานสู่การ ยุติปัญหาเอดส์ หลักสำคัญ 3 ประการมุ่งสู่ผลสัมฤทธิ์ ถูกที่ ถูกกลุ่มเป้าหมาย ชุดกิจกรรมที่เหมาะสม

หลักสำคัญ 3 ประการสู่ผลสัมฤทธิ์: Concentrated Epidemics Geographic Prioritization มุ่งการดำเนินงานในพื้นที่มีการระบาด มีภาระของโรคสูง Target Population Prioritization พิจารณาช่องทางสำคัญการรับและถ่ายทอดเชื้อฯ มุ่งทำงานในกลุ่มประชากรหลักที่มีภาวะเปราบางต่อการติดเชื้อเอชไอวี Correct program mix and tailored-made approach ใช้มาตรการหรือชุดการจัดบริการที่เหมาะสมกับบริบท ใช้มาตรการผสมผสานอย่างมีประสิทธิภาพ

Population and geographic targeting Of the 38,883 new cases pro, 89% are among key populations 33 provinces contain 66% of all new HIV infections

ชุดบริการที่มีความเหมาะสม ด้านพื้นที่: จังหวัดเป้าหมายซึ่งมีความชุกสูงที่สุด, ขนาดประชากรเป้าหมายสำคัญมากที่สุด และลักษณะเฉพาะอื่นๆ ด้านประชากร : มุ่งการทำงานในกลุ่มประชากรที่อยู่ในภาวะเสี่ยงสูงสุด ชายมีเพศสัมพันธ์กับชาย สาวประเภทสอง พนักงานบริการชาย พนักงานบริการหญิง ผู้ใช้ยาด้วยวิธีฉีด ผู้ต้องขัง เยาวชนที่มีภาวะเสี่ยงสูง ประชากรข้ามชาติที่มีภาวะเสี่ยงสูง คู่ของ : สมาชิกในกลุ่มประชากรหลัก ผู้ติดเชื้อฯซึ่งอยู่ในระบบดูแลสุขภาพ ART clinic ANC clinic Package 1: Most intensive Package 2: Intensive Package 3: Specific context PWID คือ? Package 4: Basic services

REACH การเข้าถึง ผลลัพธ์: กลุ่มประชากรเป้าหมายตระหนักในความเสี่ยง ใช้ถุงยางอนามัยเมื่อมีเพศสัมพันธ์ ใช้เข็มและอุปกรณ์ฉีดยาปลอดเชื้อ รู้และเข้าใจประโยชน์ของการตรวจเอชไอวีและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ต้องการตรวจเอชไอวีและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ และรู้ว่าจะรับบริการได้ที่ไหน แนวคิดหลัก: ต้องเข้าถึงกลุ่มประชากรเป้าหมายที่มีภาวะเสี่ยงสูงในพื้นที่เร่งรัด เพื่อสร้างความต้องการตรวจเอชไอวีและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ให้ได้ครอบคลุมมากพอ นวัตกรรมสำคัญ: การขยายการเข้าถึงกลุ่มประชากรเป้าหมายผ่านเครือข่ายทางสังคมของกลุ่มประชากรเป้าหมาย และใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ในการเข้าถึงกลุ่มประชากรเป้าหมายได้มากขึ้น การสร้างเครือข่ายร้านยาให้กลุ่มประชากรเป้าหมายเข้าถึงบริการเพิ่มขึ้น

RECRUIT การเข้าสู่บริการ ผลลัพธ์: กลุ่มประชากรเป้าหมายเข้าสู่ระบบบริการ ได้รับบริการให้การปรึกษาเพื่อตรวจเอชไอวี ได้ตรวจและรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ได้รับบริการ รักษาด้วยสารทดแทนฝิ่น (MMT) แนวคิดหลัก: ต้องทำให้กลุ่มประชากรเป้าหมายในพื้นที่เร่งรัด มีความต้องการตรวจเอชไอวี และเข้าสู่ระบบบริการป้องกันและดูแลรักษา ได้ครอบคลุมมากพอ นวัตกรรมสำคัญ: การสร้าง Brand ของหน่วยบริการ, การประยุกต์ใช้ RDS ในการชวนเพื่อนที่มีพฤติกรรมเสี่ยงเข้าสู่บริการ, การร่วมบริการของภาคเอกชน ได้แก่ ร้านยา, การนัดหมายเข้ารับบริการโดยระบบออนไลน์, การใช้บัตรสมาชิก

TEST การตรวจเอชไอวี ผลลัพธ์: ครอบคลุมการตรวจเอชไอวีเพิ่มขึ้น ประชากรหลัก รู้สถานะการติดเชื้อ ของตนเองมากขึ้น คนที่ติดเชื้อฯได้รับการ วินิจฉัยแต่แรกเริ่ม และได้รับการส่งต่อเพื่อการรักษา แนวคิดหลัก: เพิ่ม หน่วยบริการในระดับชุมชน ขยายบริการตรวจเอชไอวีที่สามารถแจ้งผลได้ภายในวันเดียว และมี บริการที่เป็นมิตร ต่อกลุ่มประชากรหลัก นวัตกรรมสำคัญ: บริการตรวจเอชไอวีที่สามารถแจ้งผลได้ในวันเดียวในระดับชุมชนที่ดำเนินการโดยองค์กรชุมชน หน่วยเคลื่อนที่และในสถานบริการ, บริการสายด่วนเพื่อให้คำปรึกษาก่อนการตรวจเอชไอวี, การวิจัยเชิงปฏิบัติการเรื่องการตรวจเอชไอวีด้วยตัวเองที่บ้าน การสร้าง Brand บริการที่มีคุณภาพ และเป็นมิตรต่อประชากรหลัก

TREAT การรักษา ผลลัพธ์: กลุ่มประชากรหลักติดเชื้อฯ เริ่มรักษาด้วยยาต้านไวรัสฯ เมื่อระดับ CD4ยังสูงอยู่ แนวคิดหลัก: ต้องเริ่มการรักษาด้วยยาต้านไวรัสฯใน ระยะเริ่มแรก และพัฒนาการกระจายบริการและร่วมให้บริการของหน่วยบริการใน ระดับชุมชน ด้วยบริการที่เป็นมิตรต่อกลุ่มประชากรหลัก นวัตกรรมสำคัญ: การ กระจายบริการรักษาด้วยยาต้านไวรัสฯ สู่ระดับตำบล, การบูรณาการบริการเอชไอวีกับบริการวัณโรคและไวรัสตับอักเสบซี, ประสานการทำงานระหว่างระบบประกันสุขภาพเพื่อครอบคลุมค่าใช้จ่ายในการรักษา

ความเป็นไปได้ที่จะกลับมามี CD4 ในระดับปกติ ขึ้นอยู่กับระดับ CD4 ก่อนเริ่มยาต้านไวรัส ATHENA National Cohort[2] Johns Hopkins HIV Clinical Cohort[1] BL CD4+ Cell Count BL CD4+ Cell Count > 350 1000 1000 201-350 < 200 800 800 600 600 Median CD4+ Cell Count (cells/mm3) 400 400 สไลด์ 2 แผ่นต่อไปนี้ สนับสนุนว่านอกจากประโยชน์ในแง่การป้องกันการถ่ายทอดเชื้อเอชไอวีไปสู่คนอื่นจากการ “รู้ผลเลือดเร็วและรักษาเร็ว” แล้ว การรู้และรักษาเร็วยังมีแนวโน้มที่จะนำไปสู่สุขภาพของผู้ติดเชื้อเองที่ดีขึ้นในระยะยาวด้วย โดยดูจากโอกาสที่ CD4 จะสูงขึ้นจนเทียบเท่าคนที่ไม่ติดเชื้อ (เส้นกราฟด้านบน) จะเป็นไปได้ไม่ยากในผู้ที่เริ่มรักษาเร็ว ซึ่งจะต่างจากผู้ที่เริ่มรักษาช้า (เส้นกราฟด้านล่าง) ซึ่งถึงแม้รักษาไปแล้วเกิน 5 ปีก็มักจะไม่ค่อยสามารถทำให้ CD4 สูงขึ้นไปเกิน 500 ได้ 200 200 < 50 351-500 51-200 > 500 201-350 1 2 3 4 5 6 48 96 144 192 240 288 336 Yrs on HAART Wks From Starting HAART ยิ่งรู้สถานะการติดเชื้อเร็ว เข้าสู่การรักษาเร็ว อายุขัยจะยืนยาวได้เทียบเท่าคนไม่ติดเชื้อ Moore RD, et al. Clin Infect Dis. 2007;44:441-446. Published by The University of Chicago Press. Copyright © 2009. University of Chicago Press. All rights reserved. http://www.journals.uchicago.edu/toc/cid/current . Gras L, et al. J Acquir Immune Defic Syndr. 2007;45:183-192. Reproduced with permission. clinicaloptions.com/hiv 15

RETAIN การคงอยู่ในระบบ (ติดเชื้อฯ และ ไม่ติดเชื้อฯ) ผลลัพธ์: ผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่ได้รับการรักษาด้วยยาต้านไวรัสฯ มี ปริมาณไวรัสฯลดลง <50 copies /ลบ.มม. และอัตราการคงรับบริการเพิ่มสูงขึ้น, กลุ่มประชากรหลักที่ผลเลือดลบตรวจซ้ำเพิ่มขึ้น แนวคิดหลัก: ต้องหานวัตกรรมส่งเสริมรักษาต่อเนื่อง ได้แก่ การดูแลผู้ติดเชื้อฯเป็นรายบุคคล (case management) ในระดับชุมชน และทำให้ กลุ่มประชากรหลักที่มีผลตรวจเอชไอวีเป็นลบยังอยู่ในระบบการป้องกัน นวัตกรรมหลัก: การใช้เทคโนโลยีผ่านโทรศัพท์มือถือเพื่อแจ้งเตือนให้ผู้ที่ตรวจเอชไอวีแล้วมีผลลบให้มาตรวจซ้ำ และผู้ที่ติดเชื้อฯ รับบริการรักษาต่อเนื่อง, การสร้างความรู้ความเข้าใจในการดูแลตนเองของผู้ติดเชื้อฯ, การดูแลผู้ติดเชื้อเป็นรายบุคคล (case management) ในระดับชุมชน

กรอบแผนปฏิบัติการ ให้บริการ: R-R-T-T-R พัฒนาบริการ: Service branding (เครือข่ายบริการ), ขยายบริการสู่ ร.พ.สต., พัฒนาระบบบริการโดยชุมชน การสร้างสภาวะแวดล้อมที่เอื้ออำนวยต่อการยุติปัญหาเอดส์ การลดการตีตราและเลือกปฏิบัติ การปรับนโยบายและกฎหมาย การสร้างการเป็นเจ้าของของพื้นที่ -ท้องถิ่น การบริหารจัดการ การวางแผนระดับพื้นที่ การใช้ข้อมูลเชิงยุทธศาสตร์และการติดตามประเมินผล