แผนงานป้องกันและลดการตายจากบาดเจ็บทางถนน ในทศวรรษแห่งความปลอดภัยทางถนน ปีงบประมาณ 2560 กระทรวงสาธารณสุข สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค วันที่ 3 - 4 พ.ย. 2559 ณ โรงแรมมิราเคิลแกรนด์ กรุงเทพมหานคร
การดำเนินงานป้องกันการบาดเจ็บจากการจราจร Road Traffic Injury ตาย >40 คน/วัน ปี 58 = 14,504 (ข้อมูลมรณบัตร) Admitted >500 คน/วัน พิการ >6,000 คน/ปี (4.6%ของ admitted) • Cost > 200,000 ล้านบาท/ปี • บาดเจ็บจาก รถ จยย. 80% การดำเนินงานป้องกันการบาดเจ็บจากการจราจร Road Traffic Injury อัตราการเสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนนปี 2560 ไม่เกิน 18 ต่อประชากรแสนคน เป้า Thai Roads . สวมหมวก 42% รถจยย.(IS ปี 58) . สวมหมวก <10% . Head Injury 50% . เมาขับ 30% . 15-19ปี สูงสุด ถนน รถ มาตรการ ขยับ : จุดคานงัด จุดจัดการ สู่อำเภอ RISK เร็ว ดื่มขับ อื่น ๆ ใม่ใช้ หมวก/ belt กรอบมาตรการ 5 เสาหลัก 1) การบริหารจัดการ (ข้อมูล) 2) ถนนและการสัญจรปลอดภัย 3) ยานพาหนะ ปลอดภัย 4) ผู้ใช้รถใช้ถนนปลอดภัย 5) การตอบสนองหลังเกิดเหตุ
การดำเนินงานป้องกันการบาดเจ็บจากการจราจรทางถนน ปี 2560 การบริหารจัดการ กิจกรรมการดำเนินงาน ส่วนกลาง SAT - มี Situation Awareness Team รายงานสถานการณ์และติดตาม ทุกสัปดาห์ EOC – มี แผนการและพร้อมปฏิบัติการ กรณีเหตุการณ์สำคัญ Virtual office พัฒนาศูนย์รวมข้อมูล ประมวลผล และติดตามการดำเนินงาน สามารถเข้าถึงได้ผ่านระบบ online ผลักดันกระบวนการบริหารงาน ศูนย์อำนวยการความปลอดภัยทางถนน ให้เอื้อต่อการทำงานกับ สธ. เขตสุขภาพ เขตสุขภาพมีแผนงานสนับสนุนงบประมาณในพื้นที่และระบบกำกับติดตามประเมินผล สคร.จัดตั้งโครงสร้างและแผนงาน SAT/EOC – RTI อย่างเหมาะสมและมีรูปธรรม สสจ. สสจ. จัดตั้งโครงสร้างและแผนงาน SAT/EOC – RTI อย่างเหมาะสมและมีรูปธรรม รพ. TEA Unit (รพ. A S M1) อำเภอ สสอ./รพช. เป็นเลขาร่วมใน ศปถ.อำเภอ Virtual office ส่วนกลางจะสร้างรูปแบบการทำศูนย์ข้อมุลและสั่งการแบบ Online หากสำเร็จและปฏิบัติการได้ดี ในอนาคตจะเอื้อประโยชน์ให้ระดับพื้นที่ได้เข้าใช้ด้วย เขตสุขภาพควรมีแผนงานสนับสนุนงาน RTI โดยมองปัญหาอุบัติเหตุเป็น สายทาง โดยเฉพาะเคสทางหลวงแผ่นดินที่มี fatality rate ค่อนข้างสูง การแก้ปัญหาจะต้องมีความต่อเนื่อง ไร้รอยต่อบนสายทาง งาน SAT และ EOC ในระดับ สคร. และ สสจ. ควรมีความเป็นรูปธรรม มีผู้รับผิดชอบชัดเจน โดยโครงสร้างอาจอยู่ร่วมกับงานระบาด งาน EMS หรืองานควบคุมโรคก็ได้ ตามความเหมาะสมของแต่ละหน่วยงาน
SAT / EOC-RTI คุณภาพ SAT (Situation Awareness Team) ทีมรวบรวมข้อมูลเพื่อติดตาม ตรวจจับและประเมินสถานการณ์พร้อมทั้งแจ้งเตือนแก่ผู้บริหารและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อพิจารณาตอบสนองต่อสถาณการณ์นั้นๆ โดยมีทีมประเมินสถานการณ์ เป็นแกนหลักในการปฏิบัติงาน บทบาทหน้าที่ ติดตาม เฝ้าระวัง ประเมินสถานการณ์ และประเมินความเสี่ยงของการเกิดอุบัติเหตุจากการจราจรทางถนนที่เกิดขึ้น จัดทำสรุปรายงานเหตุการณ์การบาดเจ็บจากการจราจรทางถนนสำคัญและรายงานเหตุการณ์เร่งด่วนให้ผู้บริหารทราบภายในเวลาที่กำหนด พิจารณาวิธีการป้องกัน ควบคุมสถานการณ์การตามความเหมาะสมกับขนาดและความรุนแรงของเหตุการณ์ เช่น การส่งทีมเข้าดำเนินการสวบสวน หรือแจ้งเครือข่าย พร้อมทั้งรายงานเหตุการณ์ต่อผู้บริหารและนำเสนอข้อมูลเข้าสู่การประชุม ศปถ จังหวัด/อำเภอ เสนอข้อพิจารณาเพื่อตัดสินใจ ยกระดับศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน Input 1.ระบบข้อมูลการบาดเจ็บจากแหล่งต่างๆทุกช่องทาง, IS, 43 แฟ้ม, บริษัทกลาง, สพฉ., ตำรวจ, TEA Unit 2.รายงานการสอบสวน Output ข้อเสนอเพื่อตัดสินใจในการแก้ไขปัญหา สรุปรายงานประจำเดือน
Trauma & Emergency Admin Unit คุณภาพ วัตถุประสงค์ เพื่อให้เกิดหน่วยที่เป็นรูปธรรมชัดเจนในการจัดการ ด้าน อุบัติเหตุและฉุกเฉิน รวมทั้งสร้างความก้าวหน้าในสายงานเฉพาะ INPUT 1. IS 2. 43 แฟ้ม 3. การเสียชีวิต 3 ฐาน ( ตำรวจ ประกันฯ สนย ) 4. ข้อมูลการสอบสวนโรค OUTPUT นำข้อมูลที่ได้ไปปรับปรุงแก้ไขปัญหาอย่างเป็นรูปธรรม 1. Service improvement - EMS - ER - Definitive care - Trauma Audit 2. จัดการข้อมูลร่วมกับเครือข่าย - สสจ. - DHS-RTI - ศปถ. และอื่น ๆ บทบาท หน้าที่ 1. พัฒนา รวบรวม ข้อมูลการบาดเจ็บ 2. วิเคราะห์ สังเคราะห์ 3. ประสานงาน ส่งมอบผลผลิต เพื่อดำเนินการต่อ 4. ติดตามกำกับการทำงานใน โรงพยาบาล บุคลากร 1. แพทย์ 2. พยาบาลผู้ประสานงาน 3. จนท.บันทึกข้อมูล/นวก./
การดำเนินงานป้องกันการบาดเจ็บจากการจราจรทางถนน ปี 2560 ระบบข้อมูล กิจกรรมการดำเนินงาน ส่วนกลาง บูรณาการข้อมูลตาย 3 ฐานในระดับประเทศ ชี้เป้าอัตราตายระดับประเทศและ พื้นที่ โดยจัดทำ รายงาน และ แสดงผล online พัฒนาระบบรายงาน IS Online ในระดับ A S M1 ส่วนกลาง พัฒนา software, server, system และจัด training ร่วมกับเครือข่าย พัฒนาระบบรายงานการสอบสวน Web based reporting system นำข้อมูลมาสังเคราะห์และขับเคลื่อนในระดับประเทศ เขตสุขภาพ เขตสุขภาพ วิเคราะห์สถานการณ์และชี้เป้าภายในเขต สคร. สนับสนุนการพัฒนาทักษะการวิเคราะห์ข้อมูล สสจ. จังหวัดบูรณาการข้อมูลกับหน่วยงานต่างๆ และนำข้อมูลไปใช้แก้ไขปัญหาและติดตามผล จังหวัดสอบสวน Case ตามเกณฑ์ และรายงานผ่านระบบ Online จังหวัดชี้เป้าจุดเสี่ยง ผ่าน ศปถ.จังหวัด 5 จุด ต่อจังหวัด ต่อไตรมาส รพ. รพ. A S M1 เตรียม Set up ระบบ IS online, เข้ารับการอบรมและรายงานข้อมูลลงระบบ รพ. มีการใช้ประโยชน์ข้อมูล IS online ในการประเมินและพัฒนาคุณภาพงานรักษาพยาบาล อำเภอ จัดการข้อมูลในระดับอำเภอ สอบสวน Case ตามความเหมาะสม การชี้เป้าจุดเสี่ยง ผ่าน ศปถ.อำเภอ บูรณาการข้อมูลตาย 3 ฐานในระดับประเทศ ชี้เป้าอัตราตายระดับประเทศและ พื้นที่ โดยจัดทำ รายงาน และ แสดงผล online พัฒนาระบบรายงาน IS Online ในระดับ A S M1 ข้อมูลเชื่อมโยงกับระบบแฟ้ม และ IS stand alone เดิม มีฐานข้อมูล เชื่อมโยง real time กับส่วนกลาง ส่วนกลาง พัฒนา software, server, system และจัด training ร่วมกับเครือข่าย พัฒนาระบบรายงานการสอบสวน Web based reporting system สร้างฐานข้อมูลบนเวบไซท์เพื่อให้ทุกระดับสามารถค้นคว้าได้ นำข้อมูลมาสังเคราะห์นโยบาย ที่จำเป็นจะต้องขับเคลื่อนในระดับประเทศ
การดำเนินงานป้องกันการบาดเจ็บจากการจราจรทางถนน ปี 2560 การป้องกัน กิจกรรมการดำเนินงาน ส่วนกลาง จัดทำคู่มือแนวทางการดำเนินงาน DHS – RTI Ambulance Safety วิจัยและประเมินผลมาตรการ รถพยาบาลปลอดภัย มาตรการองค์กร ผลักดันแนวทางมาตรการ และ นโยบาย มาตรการองค์กรไปสู่กระทรวงอื่นๆ เขตสุขภาพ สคร. ร่วมดำเนินการ DHS กับพื้นที่จังหวัด สสจ. ดำเนินการ DHS ในพื้นที่อย่างน้อย 30 % ของอำเภอในจังหวัด แต่งตั้งเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยทางถนน (จปถ.) และมีการดำเนินงาน รพ. ดำเนินมาตรการ Ambulance safety แต่งตั้งเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยทางถนน (จปถ.) และมีการดำเนินงานมาตรการองค์กร อำเภอ ดำเนินการ DHS
มาตรการองค์กรความปลอดภัยทางถนน เจ้าหน้าที่ความปลอดภัย (จปถ.มาตรการองค์กร) Ambulance safety GPS ติดตั้งระบบ GPS สสจ. X 76 แห่ง = 76 คน Car DVR ติดตั้งกล้องบันทึกภาพ หน้ารถ/คนขับ รพศ./รพท./รพช. X 994 แห่ง = 994 คน 80 km/hr จำกัดความเร็วไม่เกิน 80 km/hr (ขณะมีผู้ป่วย) สสอ. X 878 แห่ง = 878 คน Training พนักงานขับรถผ่านการอบรม รวมทั้งสิ้น 1,948 คน Insurance ประกันภัยภาคสมัครใจชั้น 1
กรอบการดำเนินงาน 10 กระบวนการ DHS-RTI + ศปถ.อำเภอ กิจกรรม ระดับดี (Good) ระดับ ดีมาก (Excellent) ระดับดีเยี่ยม (Advanced) 1) จัดการข้อมูลในระดับอำเภอ ย้อนหลัง 2 ปี 3 ปี ≥ 3 ปี 2) การสอบสวน Case อุบัติเหตุ 3 cases 5 cases ≥ 5 cases 3) การประชุมแบบมีส่วนร่วม ของทีมสหสาขา 3 ครั้ง 5 ครั้ง ≥ 5 ครั้ง 4) มีแผนงาน/โครงการ 1 แผนงาน 5) การขับเคลื่อนให้เกิด RTI Team ระดับพื้นที่ 3 ทีม 5 ทีม ≥ 5 ทีม 6) การชี้เป้าจุดเสี่ยงและแก้ไข 3 จุด/ปี 5 จุด/ปี ≥ 5 จุด/ปี 7) มาตรการชุมชน/ด่านชุมชน 5 ด่าน 10 ด่าน ≥ 15 ด่าน 8) มาตรการองค์กร 3 หน่วยงาน 5 หน่วยงาน ≥ 5 หน่วยงาน 9) สื่อสารความเสี่ยง ≥ 5 ครั้ง 10) การสรุปการดำเนินงาน 1 ฉบับ DHS-RTI + ศปถ.อำเภอ หมายถึง อำเภอมีการขับเคลื่อนการดำเนินงานป้องกันการบาดเจ็บทางถนนผ่านระบบสุขภาพอำเภอ (DHS) และเชื่อมโยงกับศูนย์ปฎิบัติการความปลอดภัยทางถนนระดับอำเภอ (ศปถ.อำเภอ) เป้าหมาย หมายถึง ดำเนินการ 30 % ของอำเภอในจังหวัด ผ่านเกณฑ์การประเมินระดับดี (Good) 50 % ของอำเภอที่ดำเนินการ ระดับดี (Good) 6 กระบวนการ ระดับดีมาก (Excellent) 7 กระบวนการ ระดับดีเยี่ยม (Advanced) ≥ 8 กระบวนการ
เป้าหมายการดำเนินงาน (DHS-RTI) เขตสุขภาพ/สคร. จำนวนอำเภอ จำนวนอำเภอที่ดำเนินการตามเป้าหมาย 30% ของอำเภอในจังหวัด จำนวนอำเภอที่ดำเนินการ ผ่านเกณฑ์ระดับดี (Good) 50% ของอำเภอที่ดำเนินการ ประเทศ 878 264 132 เขต. 1 103 35 18 เขต. 2 47 16 8 เขต. 3 54 19 10 เขต. 4 70 25 13 เขต. 5 62 21 11 เขต. 6 69 เขต. 7 77 27 14 เขต. 8 87 29 15 เขต. 9 88 28 เขต 10 24 12 เขต 11 74 22 เขต 12 26 จำแนกเป้าหมายเป็น รายเขตสุขภาพ/สคร. เป้าหมายการดำเนินงาน ร้อยละ 30 ของอำเภอใน จังหวัด รวม 264 อำเภอ ผ่านเกณฑ์ประเมินระดับดี ร้อยละ 50 (132 อำเภอ) สคร.1 = 35 อำเภอ สคร.2 = 16 อำเภอ สคร.3 = 19 อำเภอ สคร.4 = 25 อำเภอ สคร.5 = 21 อำเภอ สคร.6 = 25 อำเภอ สคร.7 = 27 อำเภอ สคร.8 = 29 อำเภอ สคร.9 = 28 อำเภอ สคร.10 = 24 อำเภอ สคร.11 = 22 อำเภอ สคร.12 = 26 อำเภอ รวมทั้งสิ้น 297 อำเภอ
ตัวอย่าง การกำหนดเป้าหมายระดับอำเภอ ข้อมูลอ้างอิง : การเสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนน (V01-V89) มรณะบัตร สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ สป. 2558 วิเคราะห์โดย : สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 9 นครราชสีมา
การดำเนินงานป้องกันการบาดเจ็บจากการจราจรทางถนน ปี 2560 การรักษาพยาบาล กิจกรรมการดำเนินงาน ส่วนกลาง จัดทำแนวทาง Service Plan Trauma and Emergency พัฒนาแนวทาง ER คุณภาพ เขตสุขภาพ จัดทำแผนปฏิบัติงานและติดตามประเมินผลตาม Service Plan Trauma and Emergency จัดทำแผนปฏิบัติงานการพัฒนาระบบ รีเฟอร์ สสจ. ดำเนินงานตามแผนเขต ด้าน Service Plan Trauma and Emergency รพ. ดำเนินงานตาม Service Plan Trauma and Emergency มีการทบทวนเคส Injury ที่มี Ps score > 0.75 แต่เสียชีวิต หรือเคสอื่นๆที่น่าสนใจอย่างสม่ำเสมอ อำเภอ
เป้าหมายการดำเนินงานรายไตรมาส Quick win RTI ปี 2560 (กระทรวงสาธารณสุข) 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน เขตสุขภาพมีแผนและสนับสนุนงบประมาณ RTI ครบทุกเขต (เขตสุขภาพ/สคร.) มีแผนปฏิบัติการ SAT/EOC-RTI ในจังหวัดครบทุกจังหวัด (สสจ./รพ.) สสอ./รพช.เป็นเลขาร่วม ใน ศปถ.อำเภอ โดย นำเสนอข้อมูลของ พื้นที่ อย่างน้อย 50% (อำเภอ/คปสอ) มีการดำเนินงานของ TEA Unit คุณภาพ ในรพ. A S M1 มากกว่า 30% (รพ.) มีการปรับข้อมูลการตายของประเทศ โดยใช้ข้อมูล 3 ฐาน (สสจ.) มีอำเภอดำเนินงาน DHS-RTI มากกว่า 80% ของอำเภอในจังหวัด (สคร/สสจ/อำเภอ/คปสอ) 1. มีระบบรายงานข้อมูล IS Online (ส่วนกลาง) 2. มีระบบรายงานการ สอบสวน Online และ การสังเคราะห์ข้อมูล (ส่วนกลาง) 3. จำนวนผู้บาดเจ็บ (Admit)รวมกับผู้เสียชีวิต ในอำเภอ DHS-RTI ที่ ดำเนินการด่านชุมชน ลดลง 5% ในช่วงเทศกาล (ปีใหม่และสงกรานต์) มี one stop center นำเสนอ ข้อมูล RTI ผ่าน web & mobile (ส่วนกลาง) 2. มีอำเภอเป้าหมาย ผ่านเกณฑ์ DHS-RTI ระดับดี 50% 3. มีการนำเสนอจุดเสี่ยงมากกว่า 1,520 จุด (สสจ.) 4. ไม่มีผู้เสียชีวิตจากอุบัติเหตุ รถพยาบาล (สสจ./รพ.) 5. ผู้บาดเจ็บที่มีค่า Ps>0.75 เสียชีวิต ไม่เกิน 1.5% (รพ.)
ความเชื่อมโยงตัวชี้วัดกระทรวง สำนักตรวจฯ กรม ประจำปีงบประมาณ 2560 ตัวชี้วัดภายใต้แผนยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี (ประกอบด้วย 16 แผนงาน 48 โครงการ 96 ตัวชี้วัด) ความเชื่อมโยงตัวชี้วัดกระทรวง สำนักตรวจฯ กรม ประจำปีงบประมาณ 2560 ตัวชี้วัด เป้าหมาย 2560 ประเด็นเน้นหนัก ระดับ การรายงาน ข้อมูล PA ปลัด สตป. กรม Promotion & Prevention Excellence (ส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคเป็นเลิศ) แผนงานที่ 2 : การป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ 1. อัตราการเสียชีวิตจากการจมน้ำ ≤ 5.0 ต่อประชากรเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปีแสนคน √ ประเทศ 2. อัตราการเสียชีวิตจากการบาดเจ็บ ทางถนน ไม่เกิน 18 ต่อประชากรแสนคน 3. อัตราผู้ป่วยความดันโลหิตสูงและ/หรือเบาหวานรายใหม่ DM รายใหม่ (< 258ต่อแสนประชากร) HT รายใหม่ (< 536ต่อแสนประชากร) จังหวัด Service Excellence (บริการเป็นเลิศ) แผนงานที่ 6 : การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan) 4. ร้อยละของผู้ป่วย DM, HT ที่ขึ้นทะเบียนได้รับการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด ≥ ร้อยละ 80 5. ร้อยละของผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมได้ DM = เพิ่มขึ้นอย่างน้อย 5 %จากปี 2559 หรือมากกว่า 40% HT = เพิ่มขึ้นอย่างน้อย 5 %จากปี 2559 หรือมากกว่า 50% เขต
การติดตามประเมินผล PA ปลัดกระทรวงสาธารณสุข จัดทำระบบติดตามการดำเนินงานผ่าน Quick Win ของกระทรวงสาธารณสุข รายไตรมาส ผ่าน Web Base ของสำนักสาธารณสุขฉุกเฉิน สป. http://ict-pher.moph.go.th/quickwin ใช้ประโยชน์ร่วมกัน (จังหวัด/เขตสุขภาพ/ส่วนกลาง) สำนักตรวจและประเมินผล สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข (สตป.) จัดทำประเด็นตรวจราชการ กลุ่มวัยทำงาน (คณะที่ 1) และแบบฟอร์ม ตก.1 และ ตก.2 การตรวจราชการแบบบูรณาการ (คณะ 5 ) PA กรมควบคุมโรค DHS-RTI มากกว่า 30% ของอำเภอในจังหวัด หรือมากกว่า 264 อำเภอ ผ่านเกณฑ์ประเมินระดับดี (Good) มากกว่า 50% ของอำเภอที่ดำเนินการหรือมากกว่า 132 อำเภอ
Small Success กรมควบคุมโรค (PA) 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน 1. หน่วยงานระดับเขต (สคร.) มีแผนงาน DHS-RTI และ มีกิจกรรมขับเคลื่อนในพื้นที่ ครบทุกเขต 100% จำนวนอำเภอที่ดำเนินการ DHS-RTI มากกว่า 30% ของอำเภอในจังหวัด หรือมากกว่า 264 อำเภอ 2. จำนวนอำเภอที่ดำเนินการ DHS-RTI มีการขับเคลื่อน ด่านชุมชน ไม่น้อยกว่า 5 ด่าน/อำเภอ ในช่วง เทศกาลปีใหม่ ได้มากกว่า 264 อำเภอ จำนวนอำเภอที่ดำเนินการDHS-RTI มีการขับเคลื่อนด่านชุมชน ไม่น้อยกว่า 5 ด่าน/อำเภอ ในช่วงเทศกาลสงกรานต์ ได้มากกว่า 264 อำเภอ จำนวนอำเภอที่ดำเนินการ DHS-RTI ผ่านเกณฑ์ประเมินระดับดี (Good) มากกว่า 50% ของอำเภอที่ดำเนินการหรือมากกว่า 132 อำเภอ จำนวนผู้เสียชีวิตรวมผู้บาดเจ็บ ทางถนนใน อำเภอที่ดำเนินการ DHS-RTI ผ่านเกณฑ์ ระดับดี ลดลงอย่างน้อย 5%
ดร.ขจรศักดิ์ จันทร์พาณิชย์ THANK YOU ดร.ขจรศักดิ์ จันทร์พาณิชย์ สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค Khajohn_j@hotmail.com