ประวัติศาสตร์อารยธรรมอินเดีย Indian Civilization

Slides:



Advertisements
Similar presentations
บทที่ 3 หลักการพื้นฐานของพุทธศาสนามหายาน
Advertisements

ศิลปะอินเดีย.
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ
1. นักเรียนศึกษาคำถามเพื่อศึกษาค้นคว้าตามประเด็น ต่อไปนี้ 1.1 อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุพบบริเวณใดของโลก 1.2. อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุมีความเจริญจากอดีตถึง.
ผู้ลี้ภัยการเมือง จัดทำโดย นางสาว อำพันธ์ แสนคำวัง ลำดับ 106.
รายงานประเทศอาเซียน จัดทำโดย
การจัดการศูนย์สารสนเทศ หน่วยที่ 10 “ ความร่วมมือในการบริการ สารสนเทศ ” อาจารย์ ดร. นฤมล รักษาสุข.
จัดทำโดย ด. ช. กรธวัช นนทนาคร ม.1/4 เลขที่ 1 ด. ช. ไชยภัทร ธรรมเพียร ม.1/4 เลขที่ 4 เสนอ อ. ฐิตาพร ดวงเกตุ Next.
ราชวงศ์ฉิน.
โครงงานเว็บไซต์ภูมิปัญญาท้องถิ่นของจังหวัดอุทัยธานี
ประวัติบ้านเหล่าจั่น
ประวัติความเป็นมา บ้านสระแก้วก่อตั้งขึ้น เมื่อปี พ.ศ 2419 โดย พ่อใหญ่จารย์แก้ว เป็นผู้นำพาลูกหลานจากบ้านงัวบา ตำบลงัวบา อำเภอวาปีปทุม จังหวัดมหาสารคาม.
เครื่องเบญจรงค์.
การขัดเกลาทางสังคมซ้ำเพื่อสร้างพฤติกรรมการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ ของเยาวชนในศูนย์ฝึกและอบรมเด็กและเยาวชน ผู้วิจัย นภัสวรรณ บุญประเสริฐ หลักสูตรปริญญาศิลปศาสตรดุษฎี
กระบวนการของการอธิบาย
1.1 อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุพบ บริเวณใดของโลก แหล่งอารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุนับเป็นแหล่งอารยธรรม เริ่มแรกของอินเดีย อยู่บริเวณดินแดนภาค ตะวันออกเฉียงเหนือของอินเดีย.
พระเครื่องเมืองกำแพงเพชร
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
ของฝากสุรินทร์ : เม็ดบัวอบกรอบมาย, ผ้าไหม , ผักกาด ( Best 3 Souvenirs of Surin)
ศาสนาคริสต์111
ประวตศาสตร์เป็ นวชาทศี่ ึกษาเกยวกบอดตี โดยศึกษาถึง พฤตกิ รรมของมนุษย์ ตามบริบทของช่วงเวลาทเกดขึนซึ่งมผล ต่อมนุษยชาตเิ มอื่ เหตุการณ์น้ันเปลยี่
วิชากฎหมายอาคาร รหัสวิชา ท-ป-น (2-0-2) หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ ปวช.2556 ประเภทวิชาช่างอุตสาหกรรม สาขาวิชาช่างก่อสร้าง สาขาวิชาช่างโยธา.
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
ประวัติศาสตร์ศิลป์ตะวันออก History of Oriental Arts 2 (2-0-4) รหัสวิชา
History TAWEESAK KUNYOCHAI อาจารย์สอง Satit UP
GEOGRAPHY OF ASIA TAWEESAK KUNYOCHAI อาจารย์สอง Satit UP
ศิลปะโรมัน (ROMAN ART)
GEOGRAPHY OF ASIA TAWEESAK KUNYOCHAI อาจารย์สอง Satit UP
เทศบาลเมืองวังน้ำเย็น อำเภอวังน้ำเย็น จังหวัดสระแก้ว
อารยธรรมกรีกโบราณ Bilde: Akropolis.
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ชาติพันธุ์ / เชื้อชาติ อนุทวีปอินเดีย
ยินดีต้อนรับ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน (พลเอก สุรศักดิ์ กาญจนรัตน์) และคณะ ในโอกาสตรวจเยี่ยมจังหวัดตาก วันที่ กรกฎาคม 2558.
เครือข่ายความร่วมมือ เพื่อการพัฒนาห้องสมุดและ แหล่งเรียนรู้
GEOGRAPHY OF ASIA TAWEESAK KUNYOCHAI อาจารย์สอง Satit UP
World Time อาจารย์สอง Satit UP
Nikola Tesla . . อัจฉริยะโลกลืม
โดย ผศ.ดร.ทศพล ทรรศนกุลพันธ์
GEOGRAPHY OF ASIA TAWEESAK KUNYOCHAI อาจารย์สอง Satit UP
YRC LANNA LOCAL WISHDOM
เรื่อง การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน
การออกแบบลวดลาย ประวัติและความเป็นมา โดย อ.จรรจิรา โมน่า.
ทดสอบหลังเรียนพระพุทธหน่วย8
หลุยส์ ปาสเตอร์.
. ระบบการปกครอง & การเมืองการปกครอง ของประเทศใน S.E.A.
ภูมิศาสตร์การท่องเที่ยว
สภาพแวดล้อมทางกายภาพ
แผนที่กรีกโบราณ. แผนที่กรีกโบราณ ไอโอเนียน เอเคียน และดอเรียน จึงได้อพยพเข้าไปอยู่ในแหลมกรีก ตามลำดับ ชาวกรีกเป็นพวกอินโด – ยูโรเปียน ซึ่งมีหลักแหล่งดั้งเดิมอยู่ที่ลุ่มแม่น้ำดานูบ.
GEOGRAPHY OF ASIA TAWEESAK KUNYOCHAI อาจารย์สอง Satit UP
ทรัพยากรไทย:ก้าวสู่โลกกว้างอย่างมั่นใจ
คำชี้แจง เรื่อง การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน
จุดเริ่มต้นสวนสัตว์ไทย
AUSTRALIA GEOGRAPHY OF AUSTRALIA-OCEANIA อาจารย์สอง : TAWEESAK GUNYOCHAI : Satit UP.
GEOGRAPHY OF ASIA TAWEESAK KUNYOCHAI อาจารย์สอง Satit UP
ศาสนาเชน Jainism.
ความช้าเร็ว ที่เกิดของวิปัสสนา
ยุคกลาง : Medieval Age The Black Death A.D 1348 อาจารย์สอง Satit UP.
PPA 1106 สถาบันการเมืองและรัฐธรรมนูญ
ระบบวรรณะ Caste System ( Varna )
สถานการณ์เด็กไทยในปัจจุบัน
การท่องเที่ยวโดยชุมชน (Community - Based Tourism)
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
“ทิศทางการขับเคลื่อน คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน” ของสำนักงานคณะกรรมการ
งานสังคมครั้งที 1 เรื่อง การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน โดย น.ส.อธิชา ฤทธิ์เจริญ ม.4 MEP-A เลขที่ 21.
มารู้จักและมีส่วนร่วมในกิจกรรม CSR ของ สศช. กันเถอะ
Singapore ประเทศสิงคโปร์.
กิจกรรมส่งเสริมเกษตรทฤษฎีใหม่
มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม Man and Environment ภาคปลาย ปีการศึกษา 2561
Presentation transcript:

ประวัติศาสตร์อารยธรรมอินเดีย Indian Civilization AJ.2 : Satit UP

อารยธรรมสินธุ-คงคา(Indus-Ganges Civilization) หรือ อารยธรรมอินเดีย(Indian Civilization)

ชนกลุ่มสำคัญที่สร้างสรรค์อารยธรรมลุ่มน้ำสินธุ-คงคา(Indus-Ganges Civilization) หรือ อารยธรรมอินเดีย แบ่งได้เป็น 2 พวก คือ 1) พวกดราวิเดียน(Dravidian) หรือ ทราวิฑ คือชนพื้นเมืองดั้งเดิมที่ตั้งถิ่นฐานบริเวณลุ่มน้ำสินธุราว 4,000 ปีมาแล้ว พวกนี้มีรูปร่างเตี้ย ผิวคล้ำและจมูกแบน คล้ายกับคนทางตอนใต้ในอินเดียบางพวกปัจจุบัน 2) พวกอารยัน(Aryan) หรือ อินโด-อารยัน(Indo-Aryan) เป็นพวกที่อพยพเคลื่อนย้ายจากดินแดนเอเชียกลาง (ทางตะวันตกของเอเชียใต้)ลงมายังตอนใต้กระจายไปตั้งถิ่นฐานในพื้นที่ต่างๆซึ่งอุดมสมบูรณ์และมีภูมิอากาศที่อบอุ่นกว่า พวกอารยันส่วนหนึ่งได้เคลื่อนย้ายเข้ามาตั้งถิ่นฐานอยู่ในลุ่มน้ำสินธุและขับไล่พวกดราวิเดียนให้ถอยร่นไปทางตอนใต้หรือจับตัวเป็นทาส พวกอารยันมีรูปร่างสูงใหญ่ ผิวขาว จมูกโด่ง (ชาวอินเดียที่อยู่ทางตอนเหนือปัจจุบันนี้) พวกอารยันเหล่านี้รับวัฒนธรรมชนพื้นเมืองของชาวดารวิเดียน แล้วนำมาผสมผสานเป็นวัฒนธรรมที่มีเอกลักษณ์เฉพาะและสร้างอารยธรรมของตนมาในยุคต่อมา

ประวัติศาสตร์อินเดียและเอเชียใต้ ประวัติศาสตร์อินเดียและเอเชียใต้    การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์อินเดียตามช่วงเวลาของแต่ละราชวงศ์ที่มีอิทธิพลเหนืออินเดียขณะนั้น 1. สมัยก่อนประวัติศาสตร์ ยุคโลหะของอินเดียเริ่มเมื่อผู้คนรู้จักใช้ทองแดงและสำริด เมื่อประมาณ 2,500 ปี ก่อนคริสต์ศักราช และรู้จักใช้เหล็กในเวลาต่อมา โดยพบหลักฐานเป็นซากเมืองโบราณ 2 แห่ง ในบริเวณที่ราบลุ่มแม่น้ำสินธุ คือ 2. สมัยประวัติศาสตร์ อินเดียเข้าสู่ “สมัยประวัติศาสตร์” เมื่อมีการประดิษฐ์ตัวอักษรขึ้นใช้ประมาณ 700 ปี ก่อนคริสต์ศักราช โดยชนเผ่าอินโด–อารยัน (Indo – Aryan) ซึ่งตั้งถิ่นฐานในบริเวณลุ่มแม่น้ำคงคา สมัยประวัติศาสตร์ของอินเดียแบ่งเป็น 3 ยุค ดังนี้ 1) เมืองโมเฮนโจ ดาโร (Mohenjo Daro) ทางตอนใต้ของประเทศปากีสถาน 2) เมืองฮารับปา (Harappa) ในแคว้นปันจาป ประเทศปากีสถานในปัจจุบัน ประวัติศาสตร์อินเดียสมัยโบราณ ประวัติศาสตร์อินเดียสมัยกลาง ประวัติศาสตร์อินเดียสมัยใหม่

แหล่งอารยธรรมอินเดีย แบ่งออกเป็น 2 ช่วง 1. สมัยก่อนประวัติศาสตร์ พบหลักฐานเป็นซากเมืองโบราณ 2 แห่งในบริเวณลุ่มแม่น้ำสินธุ คือ 1.1 เมืองโมเฮนโจ – ดาโร ทางตอนใต้ของประเทศปากีสถานในปัจจุบัน 1.2 เมืองฮารับปา ในแคว้นปันจาป ประเทศปากีสถานในปัจจุบัน 2. สมัยประวัติศาสตร์ เริ่มเมื่อมีการประดิษฐ์ตัวอักษรขึ้นใช้ โดยชนเผ่าอินโด-อารยัน ซึ่งตั้งถิ่นฐานบริเวณแม่น้ำคงคา แบ่งได้ 3 ยุค 2.1 ประวัติศาสตร์สมัยโบราณ เริ่มตั้งแต่กำเนิดตัวอักษรยุคแรกใช้ในอินเดียจนถึงสิ้นสุดสมัยราชวงศ์ คุปตะ เป็นยุคที่ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู, เชน และพุทธ ได้ถือกำเนิดแล้ว 2.2 ประวัติศาสตร์สมัยกลาง เริ่มตั้งแต่ราชวงศ์คุปตะสิ้นสุดลง จนถึง ราชวงศ์โมกุลเข้าปกครองอินเดีย 2.3 ประวัติศาสตร์สมัยใหม่ เริ่มตั้งแต่ราชวงศ์โมกุลจนถึงการได้รับเอกราชจากอังกฤษ

การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์อินเดีย 2. สมัยประวัติศาสตร์ อินเดียเข้าสู่ “สมัยประวัติศาสตร์” เมื่อมีการประดิษฐ์ตัวอักษรขึ้นใช้ประมาณ 700 ปี ก่อนคริสต์ศักราช โดยชนเผ่าอินโด–อารยัน (Indo – Aryan) ซึ่งตั้งถิ่นฐานในบริเวณลุ่มแม่น้ำคงคา สมัยประวัติศาสตร์ของอินเดียแบ่งเป็น 3 ยุค ดังนี้ 2.1 ประวัติศาสตร์อินเดียสมัยโบราณ เริ่มตั้งแต่การถือกำเนิดตัวอักษรอินเดียโบราณ ที่เรียกว่า “บรามิ ลิปิ” (Brahmi lipi) เมื่อประมาณ 700 ปีก่อนคริสต์ศักราช และสิ้นสุดในราวคริสต์ศตวรรษที่ 6 ซึ่งตรงกับสมัยราชวงศ์คุปตะ(Gupta) เป็นยุคสมัยที่ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู ศาสนาเชน และศาสนาพุทธ ได้ถือกำเนิดขึ้นแล้ว 2.2 ประวัติศาสตร์อินเดียสมัยกลาง เริ่มตั้งแต่เมื่อราชวงศ์คุปตะสิ้นสุดลง ประมาณคริสต์ศตวรรษที่ 6 จนถึงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 16 เมื่อกษัตริย์มุสลิมสถาปนาราชวงศ์โมกุล (Mughul) และเข้าปกครองอินเดีย 2.3 ประวัติศาสตร์อินเดียสมัยใหม่ เริ่มตั้งแต่ต้นราชวงศ์โมกุล ในราวคริสต์ศตวรรษที่ 16 จนถึงการได้รับเอกราชจากอังกฤษ ในปี ค.ศ. 1947

การแบ่งยุคสมัยประวัติศาสตร์ของอินเดียสมัยย่อย ๆ 1 การแบ่งยุคสมัยประวัติศาสตร์ของอินเดียสมัยย่อย ๆ 1.  สมัยอารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ (ประมาณ 2,500-1,500 ปี ก่อน ค.ศ.) 2.  สมัยพระเวท (ประมาณ 1,500-600 ปีก่อน ค.ศ.)   3. สมัยพุทธกาล หรือ สมัยก่อนเมารยะ(Maurya) ประมาณ 600-300 ปีก่อน ค.ศ.)  4.  สมัยเมารยะ (Maurya) (ประมาณ 321-184 ปี ก่อน ค.ศ.) 5.  สมัยกุษาณะ (ประมาณ 200 ปีก่อน ค.ศ. – ค.ศ. 320)  6.  สมัยคุปตะ (Gupta) (ประมาณ ค.ศ. 320-550)  7.  สมัยหลังคุปตะ หรือ ยุคกลางของอินเดีย (ค.ศ. 550 – 1206) 8.  สมัยสุลต่านแห่งเดลฮี หรือ อาณาจักรเดลฮี (สมัยปลายยุคกลาง) (ค.ศ. 1206-1526) 9.  สมัยโมกุล (Mughul) (ประมาณ ค.ศ. 1526 – 1858) 10. ยุคอาณานิคม (ประมาณ ค.ศ. 1858 – 1947) 11. ยุคได้เอกราช  (ค.ศ. 1947 – ปัจจุบัน) สมัยก่อนปวศ. สมัยโบราณ สมัยประวัติศาสตร์ สมัยกลาง สมัยใหม่

ประวัติศาสตร์อินเดียสมัยโบราณ     ประวัติศาสตร์อินเดียโบราณตั้งแต่สมัยอารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ โดยมีพวกฑราวิท หรือ ดราวิเดียน เมื่อ 2,500 ปีก่อนคริสต์ศักราชจนกระทั่งอารยธรรมแห่งนี้ล่มสลายลงเมื่อ 1,500 ปีก่อนคริสต์สักราชเมื่อชนชาวอารยันอพยพเข้ามาตั้งถิ่นฐานและก่อตั้งอาณาจักรหลายอาณาจักรในภาคเหนือของอินเดีย นับว่าเป็นช่วงเวลาที่การเริ่มสร้างสรรค์อารยธรรมอินเดียที่แท้จริง มีการก่อตั้งศาสนาต่าง ๆ เรียกว่า สมัยพระเวท (1,500 – 900 ปีก่อนคริสต์ศักราช) สมัยมหากาพย์ (900 – 600 ปีก่อนคริสต์ศักราช) ต่อมาอินเดียรวมตัวกันในสมัยราชวงศ์มคธ (600 – 300 ปีก่อนคริสต์ศักราช) และมีการรวมตัวอย่างแท้จริงในสมัยราชวงศ์เมารยะ (321 - 184 ปีก่อนคริสต์ศักราช) ระยะเวลานี้เป็นเวลาที่อินเดียเปิดเผยแผ่พระพุทธศาสนาไปยังดินแดนต่าง ๆ ต่อมาราชวงศ์เมารยะล่มสลายอินเดียก็เข้าสู่สมัยแห่งการแตกแยกและการรุกรานจากภายนอก จากพวกกรีกและพวกกุษาณะ รยะเวลานี้เป็นสมัยการผสมผสานทางวัฒนธรรมก่อนที่จะรวมเป็นจักรวรรดิได้อีกครั้งใน ค.ศ. 320 โดยราชวงศ์คุปตะ (สมัยคุปตะ ค.ศ. 320 – ค.ศ. 535)

ประวัติศาสตร์อินเดียสมัยกลาง     อินเดียเข้าสู่สมัยกลาง ค.ศ. 535 – ค.ศ. 1525 สมัยนี้เป็นช่วงเวลาของความวุ่นวายทางการเมือง และการรุกรานจากต่างชาติ โดยพาะชาวมุสลิม สมัยกลางจึงเป็นสมัยที่อารยธรรมมุสลิมเข้ามามีอิทธิพลในอินเดีย สมัยกลางแบ่งได้เป็นสมัยความแตกแยกทางการเมือง (ค.ศ. 535 – ค.ศ. 1200) และสมัยสุลต่านแห่งเดลลี (ค.ศ. 1200 – ค.ศ. 1526)

ประวัติศาสตร์อินเดียสมัยใหม่     พวกโมกุลได้ตั้งราชวงศ์โมกุลถือว่าสมัยโมกุล (ค.ศ. 1526 – ค.ศ. 1857) เป็นการเริ่มต้นสมัยใหม่จนกระทั่งอังกฤษเข้าปกครองอินเดียโดยตรงใน ค.ศ. 1585 จนถึง ค.ศ. 1947 อินเดียจึงได้รับเอกราชจากรปะเทศอังกฤษ ภายหลังได้รับเอกราชและถูกแบ่งออกเป็นประเทศต่าง ๆ ได้แก่ อินเดีย ปากีสถาน และบังคลาเทศ (ค.ศ. 1971) ประวัติศาสตร์อินเดียสมัยใหม่เป็นช่วงเวลาที่วัฒนธรรมเปอร์เซียและวัฒนธรรมตะวันตกเข้ามามีอิทธิพลในสังคมอินเดีย ขณะที่ชาวอินเดียที่นับถือศาสนาฮินดูได้ยึดมั่นในศาสนาของตนเองมากขึ้น และเกิดความแตกแยกในสังคมอินเดีย ดังนั้นประวัติศาสตร์อินเดียสมัยใหม่ สามารถแบ่งได้เป็นสมัยราชวงศ์โมกุล (ค.ศ. 1526 – ค.ศ. 1858) สมัยอังกฤษปกครองอินเดีย (ค.ศ. 1858 – ค.ศ. 1947) อย่างไรก็ตามสมัยที่วัฒนธรรมมุสลิมเข้ามามีอิทธิพลในอารยธรรมอินเดียเรียกรวมว่า สมัยมุสลิม (ค.ศ. 1200 – ค.ศ. 1858) หมายถึง รวมสมัยสุลต่านแห่งเดลฮีกับสมัยราชวงศ์โมกุล

สรุปประวัติศาสตร์ในเอเชียใต้ ในยุคต่างๆ

อารยธรรมอินเดีย อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ สมัยพระเวท สมัยพุทธกาล สมัยราชวงศ์เมารยะ สมัยราชวงศ์กุษาณะ สมัยราชวงศ์คุปตะ สมัยจักรวรรดิโมกุล สมัยอาณานิคมอังกฤษ สมัยเอกราช - เป็นอารยธรรมของชนพื้นเมือง คือ ชาวดราวิเดียน (ชนพื้นเมืองดั้งเดิม) - ศูนย์กลางอยู่ที่เมือง โมเฮนโจดาโร(Mohenodaro)และเมืองฮารับปา(Harappa)(แหล่งโบราณคดีที่ขุดค้นพบ) - เป็นอารยธรรมชนเผ่าอารยัน ที่เข้ายึดครองชาวดราวิเดียนหรือชาวทราวิฑที่ถูกขับไล่ให้ถอยร่นลงทางใต้ - ชาวอารยันให้กำเนิดศาสนาพราหมณ์ และ ระบบวรรณะ (Caste System) - วรรณกรรมสำคัญในยุคนี้ ได้แก่ - คัมภีร์พระเวท เป็นบทสวดของพวกพราหมณ์ ใช้วิธีท่องจำต่อๆกันมา ประกอบด้วย 4 คัมภีร์คือ ฤคเวท ยชุรเวท ไตรเวท และ อาถรรพเวท - มหากาพย์รามายณะ สันนิษฐานว่าแสดงถึงการต่อสู้ระหว่างชาวอารยัน(พระราม) กับชาวทราวิฑ หรือชาวดารวิเดียน (ทศกัณฑ์) แต่งโดยฤษีวาลมิกิ - มหากาพย์มหาภารตยุทธ ว่าด้วยการต่อสู้ของพี่น้องสองตระกูล (ปานฑพ-เการพ) - คัมภีร์ธรรมศาสตร์ ซึ่งเป็นทั้งกฎหมาย ศาสนบัญญัติ จารีตประเพณี หลักศีลธรรม - เกิดศาสนาพุทธ และ มีการใช้ภาษาบาลี (มคธ) - เกิดศาสนาเชน ผู้ก่อตั้งคือ มหาวีระ - กษัตริย์จันทรคุปต์ ได้รวบรวมแว่นแคว้นในดินแดนชมพูทวีปให้เป็นปึกแผ่นเป็นจักรวรรดิที่ยิ่งใหญ่มีอาณาเขตกว้างขวางได้ครั้งแรก ในชมพูทวีป - เริ่มการปกครองโดยรวบอำนาจไว้ที่กษัตริย์และเมืองหลวง - สมัยพระเจ้าอโศกมหาราช ส่งสมทูตไปเผยแผ่พุทธศาสนาในแว่นแคว้นต่างๆ - หลังราชวงศ์เมารยะล่มสลาย เกิดการแตกแยกเป็นแว่นแคว้น - พวกกุษาณะเป็นชนต่างชาติที่เข้ามารุกราน และตั้งอาณาจักรปกครองอินเดียทางตอนเหนือ - ด้านการแพทย์เจริญมากในสมัยพระเจ้ากนิษกะ - ส่งสมทูตไปเผยแผ่พุทธศาสนานิกายมหายานที่จีนและทิเบต - กษัตริย์จันทรคุปต์ที่ 1 ทรงรวบรวมอินเดียให้เป็นจักรวรรดิอีกครั้งหนึ่ง - เป็นยุคทองของอินเดียทั้งด้านศิลปวัฒนธรรม การเมือง ปรัชญา ศาสนา

อารยธรรมอินเดีย อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ สมัยพระเวท สมัยพุทธกาล สมัยราชวงศ์เมารยะ สมัยราชวงศ์กุษาณะ สมัยราชวงศ์คุปตะ สมัยจักรวรรดิโมกุล สมัยอาณานิคมอังกฤษ สมัยเอกราช - กษัตริย์บาบูร์ ผู้ก่อตั้งราชวงศ์โมกุล นับถือศาสนาอิสลาม - เป็นราชวงศ์สุดท้ายของอินเดีย - กษัตริย์อักบาร์มหาราช ทรงทะนุบำรุงอินเดียให้มีความเจริญรุ่งเรืองทุกด้าน และทรงให้เสรีภาพในการนับถือศาสนา สร้างสามัคคีให้เกิดขึ้นในชาติ - กษัตริย์ซาร์ เจฮัน ทรงเป็นมุสลิมที่เคร่งครัดและศรัทธาในศาสนาอิสลาม เป็นผู้สร้าง สุสานทัชมาฮาล ที่งดงาม - ปลายสมัยอาณาจักรโมกุล กษัตริย์ทรงใช้จ่ายฟุ่มเฟือย ต้องเพิ่มภาษีและเพิ่มการเกณฑ์แรงงานทำให้ราษฎรอดอยาก และยังกดขี่ทำลายล้างศาสนาฮินดูและชาวฮินดูอย่างรุนแรง - เกิดความแตกแยกภายในชาติ เป็นเหตุให้อังกฤษค่อยๆเข้าแทรกแซงและครอบครองอินเดียทีละเล็กละน้อย - ในที่สุดอังกฤษล้มราชวงศ์โมกุลและครอบครองอินเดียในฐานะอาณานิคมอังกฤษ - สิ่งที่อังกฤษวางไว้ให้กับอินเดียคือ - รากฐานการปกครองระบอบประชาธิปไตย แบบรัฐสภา - การศาล การศึกษา - ยกเลิกประเพณีบางอย่าง เช่น พิธีสตี (การเผาตัวตายของหญิงฮินดูหลังจากที่สามีตาย) - หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ขบวนการชาตินิยมอินเดียนำโดย มหาตมะ คานธี (Mahatma Gandhi) และ ยาวาหะราล เนห์รู (Jawaharlal Nehru) เป็นผู้นำเรียกร้องเอกราช - มหาตมะ คานธี ใช้หลักอหิงสา (ความไม่เบียดเบียน ความสงบ) ในการเรียกร้องเอกราชจนประสบความสำเร็จ - หลังจากได้รับเอกราชอินเดียปกครองด้วยระบอบประชาธิปไตย - แต่จากความแตกแยกทางเชื้อชาติและศาสนาทำให้อินเดียต้องแตกแยกเป็นอีก 2 ประเทศคือ ปากีสถาน(เดิมคือปากีสถานตะวันตก)และบังคลาเทศ (ปากีสถานตะวันออก)