ของไทยกับประเทศเพื่อนบ้าน การค้า การลงทุน ของไทยกับประเทศเพื่อนบ้าน กรมการค้าต่างประเทศ
สถิติการค้าต่างประเทศของอาเซียนกับทั่วโลก หน่วย : ล้านเหรียญสหรัฐ ประเทศ 2551 2552 ส่งออก นำเข้า ดุลการค้า สิงคโปร์ 338,176 319,780 18,396 269,832 245,785 24,047 มาเลเซีย 194,496 144,299 50,197 156,891 123,330 33,561 ไทย 174,967 177,568 -2,601 152,497 133,770 18,727 อินโดนีเซีย 137,020 129,197 7,823 116,510 96,829 19,681 เวียดนาม 61,778 79,579 -17,801 56,691 69,231 -12,540 ฟิลิปปินส์ 49,029 56,646 -7,617 38,335 45,534 -7,199 บรูไน 10,268 2,507 7,761 7,169 2,400 4,769 พม่า 6,621 3,795 2,826 6,341 3,850 2,491 กัมพูชา 4,358 4,417 -59 4,986 3,901 -1,085 ลาว 828 1,803 -975 1,237 1,725 -488 รวม 977,537 919,590 57,549 810,489 726,354 84,135 ที่มา : สำนักงานเลขาธิการอาเซียน
สถิติการค้าภายในประเทศสมาชิกอาเซียน ปี 2552 หน่วย : ล้านเหรียญสหรัฐ ประเทศ ส่งออก % นำเข้า ดุลการค้า สิงคโปร์ 81,646 40.9 59,048 33.4 22,598* มาเลเซีย 40,365 20.2 31,700 17.9 8,665 ไทย 32,491 16.3 26,760 15.2 5,731 อินโดนีเซีย 24,624 12.3 27,742 15.7 -3,118 เวียดนาม 8,555 4.3 13,567 7.7 -5,012 ฟิลิปปินส์ 5,838 2.9 11,561 6.5 -5,723 พม่า 3,197 1.6 2,066 1.2 1,131 บรูไน 1,229 0.6 1,243 0.7 -14 กัมพูชา 997 0.5 1,481 0.8 -489 ลาว 645 0.4 1,453 -808 รวม 199,587 100.00 176,620* -22,967* ที่มา : สำนักงานเลขาธิการอาเซียน
ยุทธศาสตร์การค้าไทยของกระทรวงพาณิชย์ 1. ปรับปรุงโครงสร้างการผลิตและกระตุ้นให้เกิดการลงทุน 2. พัฒนาการค้าให้เกิดการแข่งขันอย่างเป็นธรรม และสร้างประสิทธิภาพกลไกตลาด เพื่อเสถียรภาพราคาสินค้าเกษตร 3. พัฒนาระบบตลาดและขยายช่องทางการค้า โดยการเน้นพัฒนาระบบตลาดให้กับ ผู้ซื้อ ผู้ขาย ผู้บริโภค เพิ่มขีดความสามารถในการปรับตัวและการแข่งขันของผู้ประกอบการทุกระดับ โดยเฉพาะ SMEs โดยเน้นการพัฒนาธุรกิจ SMEs แบบครบวงจร
ยุทธศาสตร์การค้าไทยของกระทรวงพาณิชย์ 5. สนันสนุนให้องค์ประกอบทางการค้าเอื้อต่อความสามารถในการแข่งขัน 6. เสริมสร้างพาณิชย์ภูมิปัญญา 7. ขับเคลื่อนเศรษฐกิจด้วยการค้าภูมิภาคและการค้าชายแดน 8. พัฒนาการค้าระหว่างประเทศของไทยให้ก้าวหน้า สร้างภูมิคุ้มกันด้านการค้าจากผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมและวิกฤติภาวะ โลกร้อน 10. รองรับและใช้ประโยชน์จากการเข้าสู่การเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
นโยบายการค้า การลงทุนกับประเทศเพื่อนบ้าน 1. ส่งเสริมบทบาทของไทยเป็นศูนย์กลางทางการค้า การลงทุน และโลจิสติกส์ของภูมิภาค สนับสนุนให้ไทยเป็นหุ้นส่วนการพัฒนากับประเทศเพื่อนบ้าน และ ส่งเสริมความร่วมมือการผลิตร่วมกันโดยใช้ประโยชน์จากศักยภาพเกี่ยวข้องเป็นจุดแข็งของแต่ละประเทศ การย้ายฐานการผลิตอุตสาหกรรมที่ใช้แรงงานมากและไม่มีศักยภาพ ในการแข่งขันไปยังประเทศเพื่อนบ้าน พัฒนาเศรษฐกิจจังหวัดชายแดนและสร้างงาน สร้างรายได้แก่ประชาชน บริเวณชายแดน
เวียดนาม สปป.ลาว มาเลเซีย พื้นที่: 331,033 ตร.กม. ประชากร: 86.1 ล้านคน (2553) สหภาพพม่า พื้นที่: 657,740 ตร.กม. ประชากร: 52 ล้านคน (2553) มีเขตแดนติดต่อกับไทย 2,401 กม. สปป.ลาว พื้นที่: 236,800 ตร.กม. ประชากร: 6.8 ล้านคน (2553) มีเขตแดนติดต่อกับไทย 1,810 กม. มาเลเซีย พื้นที่: 330,252 ตร.กม. (ประมาณ 2 ใน 3 ของไทย) ประชากร: 28.3 ล้านคน (2553) มีเขตแดนติดต่อกับไทย 647 กม. กัมพูชา พื้นที่: 181,035ตร.กม. (ประมาณ 1 ใน 3 ของไทย) ประชากร: 14 ล้านคน (2553) มีเขตแดนทางบกติดต่อกับไทย 798 กม.
องค์ประกอบของการค้าชายแดน จุดผ่านแดนทางการค้า มาตรการทางการค้า เส้นทาง คมนาคม ศูนย์กลางการค้า การลงทุน ในภูมิภาค เป้าหมาย มูลค่าการค้า 1ล้านล้านบาท ในปี2555
จุดผ่านแดนทางการค้าไทย - ประเทศเพื่อนบ้าน จังหวัด จุดผ่านแดนถาวร จุดผ่านแดนชั่วคราว จุดผ่อนปรน รวม กัมพูชา ลาว สหภาพพม่า มาเลเซีย 6 14 3 8 - 1 9 30 12 15 44 16 31 51 83
จุดผ่านแดนทางการค้าไทยด้านกัมพูชา จังหวัด จุดผ่านแดนถาวร จุดผ่านแดนชั่วคราว จุดผ่อนปรน รวม ศรีสะเกษ* สุรินทร์ สระแก้ว จันทบุรี ตราด อุบลราชธานี 1 2 - 3 4 5 6 9 15 หมายเหตุ: * 1 จุดผ่อนปรนเพื่อการท่องเที่ยว 1 จุด ที่ จ.ศรีสะเกษ
จุดผ่านแดนทางการค้าไทยด้านสปป.ลาว จังหวัด จุดผ่านแดนถาวร จุดผ่านแดนชั่วคราว จุดผ่อนปรน รวม เชียงราย น่าน นครพนม มุกดาหาร พะเยา เลย หนองคาย อุตรดิตถ์ อำนาจเจริญ อุบลราชธานี 2 1 - 3 6 4 5 8 9 14 30 44
จุดผ่านแดนทางการค้าไทยด้านสหภาพพม่า จังหวัด จุดผ่านแดนถาวร จุดผ่านแดนชั่วคราว จุดผ่อนปรน รวม เชียงราย เชียงใหม่ แม่ฮ่องสอน ตาก กาญจนบุรี ประจวบฯ ระนอง 1 - 4 2 5 3 12 16
จุดผ่านแดนทางการค้าไทยด้านมาเลเซีย จังหวัด จุดผ่านแดนถาวร จุดผ่านแดนชั่วคราว จุดผ่อนปรน รวม ยะลา นราธิวาส สงขลา สตูล 1 2 3 - 8
สินค้าที่มีมาตรการนำเข้าของไทย(59 รายการ) 1. สินค้าห้ามนำเข้า 8 รายการ 2. สินค้าที่ต้องขออนุญาตนำเข้า 17 รายการ 3. สินค้าที่ต้องชำระค่าธรรมเนียมพิเศษการนำเข้า 3 รายการ 4. สินค้าเปิดตลาดตามข้อผูกพันของ WTO 22 รายการ 5. สินค้าที่ต้องมีหนังสือรับรอง/ขึ้นทะเบียนประกอบ การนำเข้า 9 รายการ
สินค้าที่มีมาตรการส่งออกของไทย(34 รายการ) 1. สินค้าห้ามส่งออก 6 รายการ 2. สินค้าที่ต้องขออนุญาตส่งออก 18 รายการ - สินค้าเกษตรกรรม 11 รายการ - สินค้าอุตสาหกรรม 7 รายการ 3. สินค้าที่ต้องมีหนังสือรับรอง/ขึ้นทะเบียน/ขึ้นบัญชีประกอบ การส่งออก 10 รายการ
สินค้าที่มีมาตรการนำเข้าส่งออกของไทย(6 รายการ) 1. สินค้าห้ามนำเข้าส่งออก 4 รายการ 2. สินค้าที่ต้องขออนุญาตนำเข้าส่งออก 2 รายการ
การมอบอำนาจให้ผู้ว่าราชการจังหวัด 76 จังหวัด สินค้าที่มีมาตรการ ส่งออก ข้าว ไม้สน ไม้ยูคาลิปตัส ไม้ยางพารา กุ้งกุลาดำมีชีวิต หอยมุกและผลิตภัณฑ์ ถ่านไม้ นำเข้า สินค้าเกษตร 22 รายการภายใต้องค์การการค้าโลก(เฉพาะการนำเข้า นอกโควตา) ชิ้นส่วนเครื่องแต่งกายเฉพาะที่ยังไม่สำเร็จรูป การออกหนังสือรับรองแหล่งกำเนิดสินค้า การจดทะเบียนเป็นผู้ขอรับหนังสือรับรอง ฟอร์ม A การออกหนังสือรับรอง ฟอร์ม A(สหภาพยุโรป สหรัฐฯ แคนาดา ญี่ปุ่น นอร์เวย์ ตุรกี รัสเซีย สวิสฯ) ฟอร์ม D(ประเทศสมาชิกอาเซียน) ฟอร์ม GSTP(ประเทศกำลังพัฒนา) ทั่วไป (ไม่ใช้สิทธิพิเศษทางภาษีศุลกากร) สินค้ากาแฟ (ตามข้อบังคับองค์การกาแฟระหว่างประเทศ)
การค้าชายแดนไทยกับประเทศเพื่อนบ้าน ปี 2554 มูลค่ารวม : 899 ,783 ส่งออก : 587 ,360 นำเข้า :312 ,423 ดุลการค้า :274 ,936 มาเลเซีย พม่า มูลค่ารวม : 560 ,655 ส่งออก : 379 ,364 นำเข้า : 181 ,291 ดุลการค้า : 198 ,073 มูลค่ารวม : 157 ,591 ส่งออก : 60 ,597 นำเข้า : 96 ,993 ดุลการค้า : -36 ,396 ลาว กัมพูชา มูลค่ารวม : 111 ,019 ส่งออก : 81 ,792 นำเข้า : 29 ,227 ดุลการค้า : 52 ,565 มูลค่ารวม : 70 ,518 ส่งออก : 65 ,606 นำเข้า : 4 ,912 ดุลการค้า : 60 ,694
สถิติการค้าชายแดนไทยกับมาเลเซีย
สินค้าส่งออกและนำเข้า การค้าชายแดนไทย-มาเลเซีย สินค้าส่งออก สินค้านำเข้า 1. ยางพารา 1. สื่อบันทึกข้อมูล ภาพ เสียง 2. เครื่องคอมพิวเตอร์ 2. เครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ 3. ผลิตภัณฑ์ยาง 3. ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์ 4. ไม้ยางพารา 4. เทปและจานแม่เหล็ก คอมพิวเตอร์ 5. มอเตอร์ไฟฟ้า 5. เครื่องจักรอุตสาหกรรม
สถิติการค้าชายแดนไทยกับพม่า
สินค้าส่งออกและนำเข้า การค้าชายแดนไทย-พม่า สินค้าส่งออก สินค้านำเข้า 1. น้ำมันดีเซล 1. ก๊าซธรรมชาติ 2. เครื่องดื่มที่ไม่มีแอลกอฮอลล์ 2. สัตว์น้ำ 3. น้ำมันเบนซิน 3. ผลิตภัณฑ์ไม้ 4. เครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอลล์ 4. โค กระบือ 5. รถยนต์และส่วนประกอบ 5. สินแร่ โลหะ และผลิตภัณฑ์
สินค้าไทย ในพม่า
สถิติการค้าชายแดนไทยกับลาว
สินค้าส่งออกและนำเข้า การค้าชายแดนไทย-ลาว สินค้าส่งออก สินค้านำเข้า 1. น้ำมันดีเซล 1. ทองแดง 2. รถยนต์และส่วนประกอบ 2. เสื้อผ้าสำเร็จรูป 3. น้ำมันเบนซิน 3. มันสำปะหลัง 4. เหล็กและเหล็กกล้า 4. ไม้แปรรูป 5. เครื่องจักรก่อสร้าง 5. ผลไม้และของปรุงแต่งจากผลไม้
สถิติการค้าชายแดนไทยกับกัมพูชา
สินค้าส่งออกและนำเข้าการค้าชายแดนไทย-กัมพูชา สินค้าส่งออก สินค้านำเข้า 1. เครื่องกำเนิดไฟฟ้า 1. เศษเหล็ก 2. น้ำตาลทราย 2. มันสำปะหลัง 3. ยาง รถยนต์, จักรยานยนต์ 3. เศษอลูมิเนียม 4. เครื่องสำอาง สบู่ 4. เศษทองแดง 5. เครื่องยนตร์ ดีเซล, เบนซิน 5. เศษกระดาษ
การค้าผ่านแดนของไทยกับประเทศเพื่อนบ้าน
จีน 29
เครือข่ายเส้นทางคมนาคมไทย-ประเทศเพื่อนบ้าน ไทย-สหภาพพม่า-อินเดีย1) แม่สอด-ผาอัน-ย่างกุ้ง-มัณฑะเลย์-ทามูระยะทาง1,360 กม. ไทย-สหภาพพม่า-จีน 2) แม่สาย-เชียงตุง-ต้าหลั่ว ระยะทาง 248 กม. ไทย-สปป.ลาว-จีน 3) เชียงของ-หลวงน้ำทา-บ่อหานระยะทาง 254 กม. 4) ห้วยโกร๋น-ปากแบ่ง-บ่อหาน ระยะทาง 284 กม.
เครือข่ายเส้นทางคมนาคมไทย-ประเทศเพื่อนบ้าน ไทย-สปป.ลาว-เวียดนาม 5) นครพนม-คำม่วน-ฮาตินห์ ระยะทาง 230 กม. 6) มุกดาหาร-สะหวันนะเขต-ลาวบาวระยะทาง 210 กม. 7) อุบลราชธานี-จำปาสัก-ดั๊กโธ ระยะทาง 250 กม. ไทย-กัมพูชา-เวียดนาม 8) อรัญประเทศ-พนมเปญ-โฮจิมินห์ ระยะทาง 604 กม. 9) ตราด-สแรอัมปึล-ฮาเตียน ระยะทาง 236 กม. ไทย-มาเลเซีย-สิงคโปร์ 10) สะเดา-กัวลาลัมเปอร์-สิงคโปร์ระยะทาง 912 กม.
สถิติการค้าผ่านแดนไทยกับเวียดนาม
สินค้าส่งออกและนำเข้า การค้าผ่านแดนไทย-เวียดนาม สินค้าส่งออก สินค้านำเข้า 1. เครื่องดื่มที่ไม่มีแอลกอฮอลล์ 1. เครื่องส่งสัญญาณภาพ เสียง 2. เหล็กและเหล็กกล้า 2. โครงรถและตัวถัง 3. ผลไม้ 3. เครื่องคอมพิวเตอร์ 4. เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้ความร้อน 4. เครื่องมือวิทยาศาสตร์ 5. ผ้าผืนและด้าย 5. กระจก แก้ว
สถิติการค้าผ่านแดนไทยกับสิงคโปร์
รายงานสถิติการค้าชายแดน - ผ่านแดนระหว่างไทยกับสิงคโปร์ จังหวัด 2553 2554 ส่งออก นำเข้า ดุลการค้า % สงขลา 30,757.3 37,445.1 -6,689.0 20,150.4 - 34.5 34,032.6 -9.1 -13,882.3 อื่นๆ 2.2 2,136 -2,123.0 15.6 605.0 2,670.7 25.0 -2,655.1
สินค้าส่งออกและนำเข้า การค้าผ่านแดนไทย-สิงคโปร์ สินค้าส่งออก สินค้านำเข้า 1. เครื่องคอมพิวเตอร์ 1. เทป, จาน แม่เหล็กคอมพิวเตอร์ 2. แผงวงจรไฟฟ้า 2. แผงวงจรไฟฟ้า 3. เครื่องตัดต่อ, ป้องกันวงจรไฟฟ้า 3. เครื่องส่งสัญญาณภาพ เสียง 4. เครื่องใชไฟฟ้า 4. ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์ 5. กระจก แก้ว 5. เครื่องจักรอุตสาหกรรม
รายงานสถิติการค้าชายแดน - ผ่านแดนระหว่างไทยกับประเทศ จีน (2550-2554)
รายงานสถิติการค้าชายแดน - ผ่านแดนระหว่างไทยกับประเทศ จีน รายจังหวัด 2553 2554 ส่งออก นำเข้า ดุลการค้า % มุกดาหาร 8,690.4 711.2 7,979.2 12,647.3 45.5 846.0 18.9 11,801.3 เชียงราย 4,555.5 2,326.3 2,229.2 7,284.9 37.5 2,850.6 22.5 4,434.3 นครพนม 8.0 943.5 -935.5 7.1 -11.2 1,590.4 68.6 -1,583.3 น่าน 0.0 16.4 -16.4 -100.0 อื่นๆ 1,639.0 -1,639.0 2,388.7 45.7 -2,388.7 รวม 13,253.9 5,636.4 7,617.5 19,939.3 50.4 7,675.7 36.2 12,263.6
สินค้าส่งออกและนำเข้า การค้าผ่านแดนไทย-จีน สินค้าส่งออก สินค้านำเข้า 1. เครื่องคอมพิวเตอร์ 1. เสื้อผ้าสำเร็จรูป 2. น้ำมันดีเซล 2. ผัก 3. รถยนตร์และส่วนประกอบ 3. เครื่องส่งสัญญาณภาพ เสียง 4. น้ำมันเบนซิน 4. ผลไม้ 5. ผลไม้ 5. ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์
การลงทุนของไทยใน ประเทศเพื่อนบ้าน
เวียดนาม : การลงทุนจากต่างประเทศ รายประเทศ(2531-2551) ลำดับที่ ประเทศ จำนวนโครงการ เงินลงทุน/ล้านเหรียญสหรัฐ 1 ไต้หวัน 1,933 19,406.6 2 มาเลเซีย 300 17,761.5 3 ญี่ปุ่น 1,039 16,466.7 4 เกาหลีใต้ 2,149 16,201.5 5 สิงคโปร์ 650 15,525.2 6 บริติทส์เวอร์จิน 391 11,735.7 7 ฮ่องกง 507 6,302.8 8 ไทย 199 5,657.6 9 สหรัฐอเมริกา 429 4,274.5 13 อื่นๆ 2,258 31,995.9 รวม 9, 855 145,328.0 ที่มา : FOREING INVESTMENT AGENCY MINISTRY OF PLANNING & INVESTMENT
เวียดนาม : การลงทุนจากต่างประเทศ รายประเทศ(2531-2551) มูลค่าการลงทุน 145,328.0 ล้านเหรียญสหรัฐ ที่มา : FOREING INVESTMENT AGENCY MINISTRY OF PLANNING & INVESTMENT
เวียดนาม : การลงทุนจากต่างประเทศ รายสาขา(2531-2551) ลำดับที่ สาขาการผลิต จำนวนโครงการ เงินลงทุน/ล้านเหรียญสหรัฐ 1 อุตสาหกรรมหนัก 2,611 43,878.2 2 อาคารสำนักงานและพักอาศัย 187 19,013.4 3 อุตสาหกรรมเบา 2,817 15,371.5 4 โรงแรมและการท่องเที่ยว 253 15,261.3 5 น้ำมันปิโตรเลียมและก๊าซ 48 14,477.9 6 การก่อสร้าง 466 8,764.7 7 การขนส่งและโทรคมนาคม 236 6,182.5 8 การเกษตร 840 4,255.3 9 อุตสาหกรรมอาหาร 347 4,078.1 10 อื่นๆ 2,050 14,045.1 รวม 9,855 145,328.0 ที่มา : FOREING INVESTMENT AGENCY MINISTRY OF PLANNING & INVESTMENT
เวียดนาม : การลงทุนจากต่างประเทศ รายสาขา(2531-2551) มูลค่าการลงทุน 145,328.0 ล้านเหรียญสหรัฐ ที่มา : FOREING INVESTMENT AGENCY MINISTRY OF PLANNING & INVESTMENT
สหภาพพม่า : การลงทุนจากต่างประเทศ รายประเทศ(2531-ม.ค.2552) ลำดับที่ ประเทศ จำนวนโครงการ เงินลงทุน/ล้านเหรียญสหรัฐ 1 ไทย 59 7,406.8 2 อังกฤษ 50 1,860.9 3 สิงคโปร์ 72 1,553.2 4 จีน 28 1,331.4 5 มาเลเซีย 33 660.7 6 ฮ่องกง 31 504.2 7 ฝรั่งเศส 469.0 8 สหรัฐอเมริกา 15 243.5 9 อินโดนีเซีย 12 241.5 10 อื่นๆ 121 1,450.6 รวม 423 15,721.8 ที่มา : MYANMAR INVESTMENT COMMISSION
สหภาพพม่า : การลงทุนจากต่างประเทศ รายประเทศ(2531-ม. ค สหภาพพม่า : การลงทุนจากต่างประเทศ รายประเทศ(2531-ม.ค.2552) มูลค่าการลงทุน 15,721.8 ล้านเหรียญสหรัฐ ที่มา : MYANMAR INVESTMENT COMMISSION
5.2.2สหภาพพม่า : การลงทุนจากต่างประเทศ รายสาขา(2531-ม.ค.2552) ลำดับที่ สาขาการผลิต จำนวนโครงการ เงินลงทุน/ล้านเหรียญสหรัฐ 1 การผลิตไฟฟ้า 2 6,311.2 ปิโตรเลียม 88 3,357.5 3 อุตสาหกรรมการผลิต 154 1,624.6 4 เหมืองแร่ 60 1,395.9 5 อสังหาริมทรัพย์ 19 1,056.4 6 โรงแรมและการท่องเที่ยว 44 1,049.6 7 ปศุสัตว์และประมง 25 324.4 8 การขนส่งและโทรคมนาคม 16 313.3 9 นิคมอุตสาหกรรม 193.1 10 อื่นๆ 12 95.8 รวม 423 15,721.8 ที่มา : MYANMAR INVESTMENT COMMISSION
สหภาพพม่า : การลงทุนจากต่างประเทศ รายสาขา(2531-ม. ค สหภาพพม่า : การลงทุนจากต่างประเทศ รายสาขา(2531-ม.ค.2552) มูลค่าการลงทุน 15,721.8 ล้านเหรียญสหรัฐ ที่มา : MYANMAR INVESTMENT COMMISSION
กัมพูชา : การลงทุนจากต่างประเทศ รายประเทศ(2537-มิย.2552) ลำดับที่ ประเทศ เงินลงทุน/ล้านเหรียญสหรัฐ 1 มาเลเซีย 2,117.8 2 จีน 770.9 3 ไต้หวัน 582.3 4 สหรัฐอเมริกา 334.9 5 เกาหลีใต้ 293.3 6 สิงคโปร์ 251.3 7 ไทย 284.5 8 ฮ่องกง 275.6 9 ฝรั่งเศส 199.3 10 อื่นๆ 455.8 รวมต่างประเทศ 5,556.0 กัมพูชา 2,154.2 รวม 7, 703.2 ที่มา : CAMBODIA INVESTMENT BOARD
กัมพูชา : การลงทุนจากต่างประเทศ รายประเทศ(2537-2551) มูลค่าการลงทุน 7,631.3 ล้านเหรียญสหรัฐ ที่มา : CAMBODIA INVESTMENT BOARD
กัมพูชา : การลงทุนจากต่างประเทศ รายสาขา(2537 - 2551 ) ลำดับที่ สาขาการผลิต เงินลงทุน/ล้านเหรียญสหรัฐ 1 Entertainment complex 1,414.5 2 โรงแรม, การท่องเที่ยว 808.1 3 ผลิตภัณฑ์สิ่งทอ 797.2 4 ปูนซีเมนต์ 488.0 5 ผลิตภัณฑ์ไม้ 479.3 6 ปิโตรเลียม 445.2 7 ก่อสร้าง 365.5 8 อุตสาหกรรมการเกษตร 364.6 9 ไฟฟ้า 238.0 10 อื่นๆ 2,302.9 รวม 7,703.2 ที่มา : CAMBODIA INVESTMENT BOARD หมายเหตุ : เงินลงทุนรวมสัดส่วนการลงทุนของชาวกัมพูชา
กัมพูชา : การลงทุนจากต่างประเทศ รายสาขา(2537- 2551) มูลค่าการลงทุน 7,631.3 ล้านเหรียญสหรัฐ ที่มา : CAMBODIA INVESTMENT BOARD หมายเหตุ : เงินลงทุนรวมสัดส่วนการลงทุนของชาวกัมพูชา
สปป.ลาว : การลงทุนจากต่างประเทศ รายประเทศ(2531-2553) ลำดับที่ ประเทศ จำนวนโครงการ เงินลงทุน/ล้านเหรียญสหรัฐ 1 ไทย 499 4,359.8 2 เวียดนาม 265 3,313.0 3 จีน 465 2,953.4 4 ออสเตรเลีย 66 859.4 5 เกาหลีใต้ 195 533.1 6 มาเลเซีย 58 479.0 7 ฝรั่งเศส 78 456.1 8 ญี่ปุ่น 46 438.7 9 อินเดีย 359.1 10 อื่นๆ 520 2,893.4 รวม 2,200 16,645.0 ที่มา : กรมส่งเสริมและคุ้มครองการลงทุนภายในและต่างประเทศ สปป.ลาว
สปป.ลาว : การลงทุนจากต่างประเทศ รายประเทศ(2531-2553) มูลค่าการลงทุน 16,645.0 ล้านเหรียญสหรัฐ ที่มา : กรมส่งเสริมและคุ้มครองการลงทุนภายในและต่างประเทศ สปป.ลาว
สปป.ลาว : การลงทุนจากต่างประเทศ รายสาขา(2531-2553) ลำดับที่ สาขาการผลิต จำนวนโครงการ เงินลงทุน/ล้านเหรียญสหรัฐ 1 การผลิตไฟฟ้า 52 5,713.1 2 เหมืองแร่ 215 3,276.1 3 บริการ 308 1,916.4 4 การเกษตร 315 1,428.3 5 อุตสาหกรรมและหัตถกรรม 416 1,244.9 6 โทรคมนาคม 19 793.4 7 โรงแรมและร้านอาหาร 144 755.5 8 ก่อสร้าง 86 420.2 9 การค้า 164 377.0 10 อื่นๆ 481 720.1 รวม 2,200 16,645.0 ที่มา : กรมส่งเสริมและคุ้มครองการลงทุนภายในและต่างประเทศ สปป.ลาว
สปป.ลาว : การลงทุนจากต่างประเทศ รายสาขา(2531-2553) มูลค่าการลงทุน 16,645.0 ล้านเหรียญสหรัฐ ที่มา : กรมส่งเสริมและคุ้มครองการลงทุนภายในและต่างประเทศ สปป.ลาว
E-mail : tpisdft@moc.go.th กรมการค้าต่างประเทศ ขอบคุณ โทร. 02-547-4730-32 โทรสาร 02-547- 4728 www.dft.moc.go.th E-mail : tpisdft@moc.go.th
ประวัติวิทยากร 1. ชื่อ นายไพโรจน์ ปฐมวัฒน 2. ประวัติการศึกษา สำเร็จการศึกษา คณะสังคมศาสตร์(เศรษฐศาสตร์) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 3. ประวัติการทำงาน พ.ศ.2525 เข้ารับราชการตำแหน่งนักวิชาการมาตรฐานสินค้า 3 กรมการค้าต่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์ พ.ศ.2538 ตำแหน่งหัวหน้าฝ่ายการค้ากับกลุ่มประเทศอินโดจีนและ สหภาพพม่า กองพาณิชยกิจต่างประเทศ พ.ศ.2543-ปัจจุบัน ตำแหน่งหัวหน้ากลุ่มการค้าชายแดนและศูนย์ข้อมูล ประเทศเพื่อนบ้าน สำนักส่งเสริมการค้าและการลงทุน กรมการค้าต่างประเทศ