บทที่ 1 หน่วยผลิตและทางเลือกภายใต้โครงสร้างตลาด

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บทที่ 5 การดำรงชีวิตของพืช
Advertisements

บทที่ 2 การลงทุนในหุ้นสามัญ
“กลยุทธ์การบริหารความเสี่ยง จากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ”
บทที่ 1 การรวมธุรกิจ.
บทที่ 3 การบริหารพนักงานขาย
ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ (Business Information Systems)
บทที่ 10 ผลตอบแทนที่คำนึงถึงความเสี่ยง ของกลุ่มหลักทรัพย์
บริโภคอย่างมีความสุข งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน
Chapter I พฤติกรรมผู้บริโภค.
การพัฒนาโครงการที่อยู่อาศัยในไทย
7 เทรนด์ การตลาดออนไลน์ปี 2014 แรงแน่ ! ในปีที่ผ่านมา การเปิดตัวเครือข่าย 3G ในประเทศ ทำให้คำว่า “การตลาดออนไลน์ (Online Marketing)” กันมากขึ้น แล้วในปี
บทที่ 1 ความหมายและแนวคิดของการวิจัยการตลาด
สถาบันด้านปัจจัยการ ผลิตทางการเษตร ( ตลาดแรงงาน ) ศ.491 การวิเคราะห์การผลิต และนโยบายการผลิตสินค้าเกษตร รศ. ภราดร ปรีดาศักดิ์ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
เรื่องที่ครอบคลุม การซื้อขายสินค้าในตลาดแข่งขันสมบูรณ์
คนเป็นทรัพย์สินที่มี ค่ายิ่งของหน่วย อ้างอิง : สมาคมการจัดการงานบุคคลแห่งประเทศไทย คน เก่ง คน ดี คน มี ความ สุข เป้าหมายการ พัฒนากำลังพล เพื่อให้ทำงานอย่าง.
Adaptive Software Development. วงจรชีวิตของการพัฒนาซอฟแวร์ หรือ Software Development Life Cycle (SDLC) เป็นโครง ร่างหรือแนวทางวิธีการ เพื่อใช้ทำความเข้าใจและเพื่อ.
ประเภทของ CRM. OPERATIONAL CRM เป็น CRM ที่ให้การสนับสนุนแก่กระบวนการธุรกิจ ที่เป็น “FRONT OFFICE” ต่างๆ อาทิ การขาย การตลาด และการ ให้บริการ SALES FORCE.
เงินเฟ้อ Inflation.
ALLPPT.com _ Free PowerPoint Templates, Diagrams and Charts.
Material requirements planning (MRP) systems
การกำหนดราคาและผลผลิต ในตลาดแข่งขันสมบูรณ์
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
ตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์
บทที่ 6 การพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่
บทที่ 1 สถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมูล (Database Architecture)
ความเค้นและความเครียด
ACCOUNTING FOR INVENTORY
บทที่ 6 ต้นทุนการผลิตและรายรับจากการผลิต
การเงินธุรกิจ (Business Finance) รหัสวิชา FIN1104
การสัมมนาวิชาการ สมาคมนักวิจัยและเพาะเห็ดหอมแห่งประเทศไทย เรื่อง เห็ดไทย ... กับการก้าวสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน วันศุกร์ที่ 11 พฤษภาคม 2555 ณ โรงแรมเอเชียแอร์พอร์ต.
ตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์
การบัญชีต้นทุนช่วง (Process Costing).
บทที่ 2 กลยุทธ์ช่องทางการจัดจำหน่าย (Place Strategy)
Factors Markets of Resource Markets ตลาดปัจจัยการผลิต
บทที่ 8 เงื่อนไขตัดสินใจ
1. การสอบกลางภาค วันที่ 6 ตุลาคม เวลา น. เก็บ 40 % 2
การวิเคราะห์ ต้นทุน ปริมาณ กำไร
บทที่ 5 การวางแผนทางการเงิน ผศ. อรทัย รัตนานนท์ รศ.อรุณรุ่ง วงศ์กังวาน.
บทที่ 4 พฤติกรรมผู้บริโภค
ดีมานด์ ซัพพลาย และราคาตลาด (Demand Supply and Market Price)
ข่าวประชาสัมพันธ์สำนักงานเกษตรจังหวัดสุโขทัย
การรายงานความคืบหน้าหรือสถานะ
บทที่ 3 พฤติกรรมผู้ผลิต.
ความเสี่ยงเรื่องการตลาด
บทที่ 4 ทฤษฎีพฤติกรรมผู้บริโภค (Theory of Consumer Behavior)
วิชา พฤติกรรมผู้บริโภค
บทที่ 5 ทฤษฎีการผลิต การศึกษาด้านอุปทาน ทฤษฏีการผลิต (บทที่ 5)
บทที่ 3 การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ ต้นทุน-ปริมาณ-กำไร
ตัวอย่างการจัดทำรายงานการผลิต และงบการเงิน
“ถ้าหากบริษัทบุหรี่ต้องหยุดทำการตลาดที่พุ่งเป้าไปที่เด็กๆ บริษัทบุหรี่จะล้มละลายภายใน 25 – 30 ปี เพราะจะไม่มีลูกค้าเพียงพอที่ธุรกิจจะอยู่ได้”
โซ่อุปทานและโลจิสติกส์ ญาลดา พรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ
การเงินทางธุรกิจ (Business Finance) รหัสวิชา FIN1103
บทที่ 6 เงินลงทุนในตราสารหนี้และตราสารทุน
แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับการบัญชีต้นทุน
ข้อดี ข้อเสีย ของ ค่าเงินบาทแข็ง
การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี และข้อผิดพลาด
หัวข้อการนำเสนอรายงาน
การวางแผนกำลังการผลิต
นโยบายของรัฐด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม สมุดปกขาว BCG in Action การพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมของประเทศไทย เพื่อเศรษฐกิจชีวภาพ.
Supply Chain Management
การจัดทำแผนการสอบบัญชีโดยรวม
รายได้ประชาชาติ รายวิชา : week 04.
อ.ชิดชม กันจุฬา (ผู้สอน)
กลยุทธ์ราคา (Pricing Strategy)
8/26/2019 ชื่อบริษัท แผนธุรกิจ.
อ. อรนพัฒน์ เหมือนเผ่าพงษ์ สาขาวิชาการจัดการโรงแรมและธุรกิจที่พัก
โซ่อุปทานและโลจิสติกส์ ญาลดา พรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ
โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีถนนรีไซเคิลเพื่อลดขยะพลาสติกใน 4 ภูมิภาค
กำหนดการเชิงเส้น : การแก้ปัญหาด้วยวิธีกราฟ
บทที่ 7 การบัญชีภาษีมูลค่าเพิ่ม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 1 หน่วยผลิตและทางเลือกภายใต้โครงสร้างตลาด บทที่ 1 หน่วยผลิตและทางเลือกภายใต้โครงสร้างตลาด ศุภวัจน์ รุ่งสุริยะวิบูลย์

12.1 ความหมายของตลาดในทางเศรษฐศาสตร์ (Meaning of Market in Economics) ประเภทของตลาดตามเกณฑ์ชนิดของผลผลิต (1) ตลาดสินค้า คือ ตลาดที่มีการซื้อขายสินค้าหรือบริการที่ผู้ซื้อนำไปใช้อุปโภคบริโภคโดยตรง (2) ตลาดปัจจัยการผลิต คือ ตลาดที่มีการซื้อขายปัจจัยการผลิตต่างๆ เช่น แรงงาน วัตถุดิบ สินค้าทุน เป็นต้น โดยผู้ที่ทำการซื้อปัจจัยการผลิตคือผู้ผลิต (3) ตลาดแรงงาน คือ ตลาดที่มีการซื้อขายบริการจากแรงงาน (4) ตลาดการเงิน คือ ตลาดที่มีการซื้อขายสินทรัพย์ทางการเงิน

ประเภทของตลาด ตลาดยังสามารถแบ่งออกตามโครงสร้างโดยอาศัยปัจจัยต่างๆเป็นตัวกำหนด ได้แก่ จำนวนผู้ซื้อหรือผู้ขาย ความสามารถในการแข่งขัน การกำหนดปริมาณและราคาสินค้า

ประเภทของตลาดแบ่งตามจำนวนผู้ขายและลักษณะสินค้า (1) ตลาดแข่งขันสมบูรณ์ (perfect competition) มีผู้ขายจำนวนมากและขายสินค้าเหมือนกัน (2) ตลาดผู้ขายมากราย (monopolistic competition) ผู้ขายมีจำนวนมาก โดยผู้ขายเผชิญกับสภาพการณ์ กึ่งแข่งขัน กึ่งผูกขาด และขายสินค้าที่แตกต่างกันแต่ทดแทนกันได้ (3) ตลาดผู้ขายน้อยราย (oligopoly) ผู้ขายมีน้อยรายขายสินค้าที่คล้ายกัน หรือแตกต่างกันแต่ทดแทนกันได้ (4) ตลาดผูกขาด (monopoly) มีผู้ขายรายเดียวขายสินค้าที่ไม่สามารถทดแทนได้

ประเภทของตลาดแบ่งตามจำนวนผู้ซื้อและลักษณะสินค้า (1) ตลาดแข่งขันสมบูรณ์ (perfect competition) มีผู้ซื้อจำนวนมากและซื้อสินค้าเหมือนกัน (2) ตลาดผู้ซื้อมากราย (monopsonistic competition) ผู้ซื้อมีจำนวนมาก โดยผู้ซื้อเผชิญกับสภาพการณ์ กึ่งแข่งขัน กึ่งผูกขาด และซื้อสินค้าที่แตกต่างกันแต่ทดแทนกันได้ (3) ตลาดผู้ซื้อน้อยราย (oligopsony) ผู้ซื้อมีน้อยรายและซื้อสินค้าที่คล้ายกัน หรือแตกต่างกันแต่ทดแทนกันได้ (4) ตลาดผู้ซื้อคนเดียว (monopsony) มีผู้ซื้อรายเดียวซื้อสินค้าที่ไม่สามารถทดแทนได้

ประเภทตลาดแบ่งตามจำนวนผู้ซื้อและผู้ขายและลักษณะสินค้า (1) ตลาดแข่งขันสมบูรณ์ (perfect competition) เมื่อมีผู้ซื้อและผู้ขายจำนวนมากทำการซื้อขายสินค้าที่มีลักษณะเหมือนกัน (2) ตลาดผู้ซื้อและผู้ขายน้อยราย (bilateral oligopoly) เมื่อทั้งผู้ซื้อและผู้ขายมีน้อยรายทำการซื้อขายสินค้าที่คล้ายกัน หรือแตกต่างกันแต่ทดแทนกันได้ (3) ตลาดผูกขาดทั้งผู้ซื้อและผู้ขาย (monopoly) เมื่อมีผู้ซื้อรายเดียว ผูกขาดการซื้อสินค้าที่ไม่สามารถทดแทนได้อยู่ในตลาดที่มีผู้ขายเพียงรายเดียว

ตลาดแบ่งตามจำนวนผู้ขายและลักษณะสินค้า ตลาดผูกขาด ตลาดแข่งขันสมบูรณ์ ตลาดผู้ขายน้อยราย ตลาดผู้ขายมากราย หรือกึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาด

ข้อสมมติในการวิเคราะห์พฤติกรรมของหน่วยผลิตในตลาด ในที่นี้จะทำการวิเคราะห์ตลาดสินค้าเฉพาะกรณีตลาดแบ่งตามจำนวนผู้ขายและลักษณะสินค้า เนื่องจากมีสภาพใกล้เคียงกับความเป็นจริง พฤติกรรมของหน่วยผลิตในตลาดประเภทต่างๆจะอยู่ภายใต้ข้อสมมติฐานที่ว่า หน่วยผลิตจะทำการผลิตอย่างไรให้ได้รับกำไรสูงสุด (profit maximization)

บทที่ 2 การกำหนดราคาและปริมาณผลิตภายใต้ตลาดแข่งขันสมบูรณ์ บทที่ 2 การกำหนดราคาและปริมาณผลิตภายใต้ตลาดแข่งขันสมบูรณ์ ศุภวัจน์ รุ่งสุริยะวิบูลย์

ตลาดแข่งขันอย่างสมบูรณ์ประกอบด้วยลักษณะ ดังนี้ (1) สินค้าของผู้ผลิตมีคุณสมบัติเหมือนกัน (homogenous product) (2) ผู้บริโภคและผู้ผลิตในตลาดมีจำนวนน้อย นั่นคือ ผู้บริโภคและผู้ผลิตไม่สามารถกำหนดราคาของสินค้าหรือเรียกว่า ผู้รับราคา (price taker) (3) มีข้อมูลเพียงพอในการผลิตและบริโภคสินค้า (perfect information) (4) ผู้ผลิตสามารถเข้าร่วมหรือออกจากตลาดอย่างเป็นอิสระ (free entry & exit) (5) ไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายหรือค่าธรรมเนียมใดๆในการเข้าร่วมในตลาด (no transaction)

การกำหนดราคาและปริมาณผลผลิตในตลาด พฤติกรรมของหน่วยผลิตในตลาด คือ การแสวงหากำไรสูงสุดในการผลิต ปริมาณสินค้าที่หน่วยผลิตจะขึ้นอยู่กับเงื่อนไขของรายรับและต้นทุนการผลิต รายรับของผู้ผลิตจะขึ้นอยู่กับเส้นอุปสงค์ที่ผู้ผลิตเผชิญ ต้นทุนการผลิตขึ้นกับระยะเวลาในการผลิต - ระยะสั้น (short run) - ระยะยาว (long run)

เส้นอุปสงค์ที่หน่วยผลิตเผชิญ หน่วยผลิตในตลาดแข่งขันสมบูรณ์เป็นเพียงหน่วยผลิตเล็กๆซึ่งไม่มีอิทธิพลเหนือตลาด การขายสินค้าของหน่วยผลิตจะขายตามราคาตลาด เส้นอุปสงค์ที่หน่วยผลิตเผชิญ หรือ เส้นอุปสงค์ในสายตาของผู้ผลิต ซึ่งเป็นเส้นที่บอกให้ทราบว่าที่ระดับราคาต่างๆผู้บริโภคต้องการซื้อสินค้าของหน่วยผลิตปริมาณเท่าใด กำหนด P* = ราคาสินค้าที่ถูกกำหนดในตลาด ดังนั้น เส้นอุปสงค์ของหน่วยผลิตในตลาดแข่งขันสมบูรณ์จะเป็นเส้นตรงที่ขนานกับแกนปริมาณสินค้า

เส้นอุปสงค์ที่หน่วยผลิตเผชิญ P* P Q E S D Q* P เส้นอุปสงค์ที่หน่วยผลิตเผชิญ P* Q หน่วยผลิต ตลาด

ดุลยภาพของหน่วยผลิตในระยะสั้น Ps P3 P2 Q1 Q2 Q3 P1 เส้นอุปทานระยะสั้น Q P E S D2 TC, TR D1 D3 หน่วยผลิต ตลาด SMC AVC AC จากรูปพิจารณากรณี ถ้า P = P1 หรือ P1 > min AC ถ้า P = P2 หรือ P2 > min AVC ถ้า P = P3 หรือ P3 < min AVC

ตัวอย่าง TC = 500+20Q-6Q2+Q3 จงหา 1. ราคาแสดงการหยุดผลิต กำหนดฟังก์ชันต้นทุนการผลิตในระยะสั้นของผู้ผลิตรายหนึ่ง คือ TC = 500+20Q-6Q2+Q3 จงหา 1. ราคาแสดงการหยุดผลิต 2. ถ้าราคาสินค้าในตลาด P = 20 ผู้ผลิตสามารถผลิตสินค้าได้ปริมาณเท่าใดและได้กำไรสูงสุดเท่าใด 3. ถ้าราคาสินค้าในตลาด P = 200 ผู้ผลิตสามารถผลิตสินค้าได้ปริมาณเท่าใดและได้กำไรสูงสุดเท่าใด 4. จงหาเส้นอุปทานการผลิตในระยะสั้นของผู้ผลิต

เส้นอุปทานระยะสั้นของอุตสาหกรรม ไม่สามารถรวมเส้นอุปทานของหน่วยผลิตแต่ละรายเนื่องจากเมื่อราคาสินค้าเปลี่ยนแปลง การปรับตัวของหน่วยผลิตแต่ละรายพร้อมกันย่อมส่งผลถึงปริมาณการซื้อปัจจัยการผลิตของอุตสาหกรรม และจะมีผลต่อไปถึงราคาปัจจัยการผลิต ทำให้เส้นต้นทุนการผลิตของผู้ผลิตเปลี่ยนไป