AUSTRALIA GEOGRAPHY OF AUSTRALIA-OCEANIA TAWEESAK KUNYOCHAI อาจารย์สอง : TAWEESAK GUNYOCHAI : Satit UP.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
นโยบายการดำเนินงาน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ศ. นพ. รัชตะ รัชตะนาวิน และ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข นพ. สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์
Advertisements

อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ
สิทธิในการเข้าสู่กระบวนการยุติธรรมทางปกครอง
การจัดการศูนย์สารสนเทศ หน่วยที่ 10 “ ความร่วมมือในการบริการ สารสนเทศ ” อาจารย์ ดร. นฤมล รักษาสุข.
โยธาธิการและผังเมืองจังหวัด สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
ทางรถไฟสายมรณะ ทางรถไฟสายประวัติศาสตร์ ที่ควรรำลึกและจดจำ
โยธาธิการและผังเมืองจังหวัด สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
ประวัติความเป็นมา บ้านสระแก้วก่อตั้งขึ้น เมื่อปี พ.ศ 2419 โดย พ่อใหญ่จารย์แก้ว เป็นผู้นำพาลูกหลานจากบ้านงัวบา ตำบลงัวบา อำเภอวาปีปทุม จังหวัดมหาสารคาม.
ดร. มานะ นิมิตรมงคล เลขาธิการ องค์กรต่อต้านคอร์รัปชันฯ 8 พฤษภาคม 2558
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
ธนาคารออมสิน.
การพัฒนาโครงการที่อยู่อาศัยในไทย
สำนักประสานและติดตามนโยบาย สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี
1.1 อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุพบ บริเวณใดของโลก แหล่งอารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุนับเป็นแหล่งอารยธรรม เริ่มแรกของอินเดีย อยู่บริเวณดินแดนภาค ตะวันออกเฉียงเหนือของอินเดีย.
การมอบนโยบายแนวทาง การปฏิรูปที่ดินประจำปี 2559 โดย นายสรรเสริญ อัจจุตมานัส เลขาธิการ ส. ป. ก.
มอบนโยบายการบริหารราชการให้กับหัวหน้าสถานีตำรวจ วันอังคารที่ 2 ๑ มิ. ย.59 เวลา น. สำนักงานตำรวจแห่งชาติ
กลุ่มวัยผู้สูงอายุ
ของฝากสุรินทร์ : เม็ดบัวอบกรอบมาย, ผ้าไหม , ผักกาด ( Best 3 Souvenirs of Surin)
๕ เรื่องเด่นในร่างรัฐธรรมนูญ
วิชากฎหมายอาคาร รหัสวิชา ท-ป-น (2-0-2) หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ ปวช.2556 ประเภทวิชาช่างอุตสาหกรรม สาขาวิชาช่างก่อสร้าง สาขาวิชาช่างโยธา.
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
GEOGRAPHY OF ASIA TAWEESAK KUNYOCHAI อาจารย์สอง Satit UP
GEOGRAPHY OF ASIA TAWEESAK KUNYOCHAI อาจารย์สอง Satit UP
AUSTRALIA GEOGRAPHY OF AUSTRALIA-OCEANIA อาจารย์สอง : TAWEESAK GUNYOCHAI : Satit UP.
FTA.
สภาพทั่วไป ประวัติและความเป็นมา ลักษณะภูมิประเทศ ตำนานเมืองแก่งคอย
หลักสูตรอาเซียน เพื่อสร้างประชาคมอาเซียน ให้เป็นประชาคมที่มุ่งเน้น การปฏิสัมพันธ์กับต่างประเทศ มีความมั่นคง มีสันติภาพ และมีความมั่งคั่ง.
GALILEO GALILEI กาลิเลโอ กาลิเลอี
Presentation การจัดการข้อร้องเรียนในธุรกิจบริการ Customer Complaint Management for Service.
GEOGRAPHY OF ASIA TAWEESAK KUNYOCHAI อาจารย์สอง Satit UP
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
รายงาน การปฏิวัติอุตสาหกรรม
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
กำหนดกรอบระยะเวลาการขึ้นทะเบียนปี2556/57 1. ข้าว
ขีดความสามารถในการรองรับได้ของแหล่งท่องเที่ยว
การวิเคราะห์องค์กร รู้จักตนเอง
GEOGRAPHY OF ASIA TAWEESAK KUNYOCHAI อาจารย์สอง Satit UP
World Time อาจารย์สอง Satit UP
Nikola Tesla . . อัจฉริยะโลกลืม
จัดทำโดย นาย วรปรัชญ์ ชาวเมือง เลขที่ 8 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4.3
GEOGRAPHY OF ASIA TAWEESAK KUNYOCHAI อาจารย์สอง Satit UP
อำนาจ การปกครอง และการระงับข้อพิพาท
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง
นางสาววิภัทรา จันทร์แดง เลขที่ 31 ม.4.2
กฎกระทรวงสถานีบริการก๊าซปิโตรเลียมเหลว พ.ศ.....
ภูมิศาสตร์การท่องเที่ยว
แนวทางการแก้ไขปัญหาก๊าซ LPG
สภาพแวดล้อมทางกายภาพ
GEOGRAPHY OF ASIA TAWEESAK KUNYOCHAI อาจารย์สอง Satit UP
ทรัพยากรไทย:ก้าวสู่โลกกว้างอย่างมั่นใจ
คำชี้แจง เรื่อง การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน
AUSTRALIA GEOGRAPHY OF AUSTRALIA-OCEANIA อาจารย์สอง : TAWEESAK GUNYOCHAI : Satit UP.
ขดลวดพยุงสายยาง.
การจัดการความรู้ Knowledge Management
ยิ้มก่อนเรียน.
PPA 1106 สถาบันการเมืองและรัฐธรรมนูญ
โปลิโอสายพันธ์วัคซีนกลายพันธุ์ Circulated Vaccine Derived Poliovirus
การปกครองท้องถิ่น ในปัจจุบัน
กรมมีผลการปฏิบัติงานที่ดี เกษตรกรได้รับประโยชน์
งานสังคมครั้งที 1 เรื่อง การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน โดย น.ส.อธิชา ฤทธิ์เจริญ ม.4 MEP-A เลขที่ 21.
Singapore ประเทศสิงคโปร์.
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
การจัดการภาครัฐ และภาคเอกชน Public and private management
มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม Man and Environment ภาคปลาย ปีการศึกษา 2561
“อนาคตการสื่อสารไทย โฉมหน้าใหม่ กสทช. ในร่างรัฐธรรมนูญ”
วัฏจักรของน้ำ + พายุหมุนเขตร้อน
แผ่นดินไหว เกิดจากการเคลื่อนตัวของเปลือกโลกบริเวณแนวรอยเลื่อนของเปลือกโลก หรือการปะทุของภูเขาไฟ ทำให้เกิดการสั่นสะเทือนของแผ่นดิน ซึ่งหากเกิดการสั่นสะเทือนอย่างรุนแรง.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

AUSTRALIA GEOGRAPHY OF AUSTRALIA-OCEANIA TAWEESAK KUNYOCHAI อาจารย์สอง : TAWEESAK GUNYOCHAI : Satit UP

รางรถไฟสายตรงที่ยาวที่สุดในโลก

รางรถไฟสายตรงที่ยาวที่สุดในโลกยาวเป็นระยะทาง 478 กิโลเมตร เส้นทางที่ข้ามที่ราบนัลลาบอร์ (Nullarbor plain) ตั้งอยู่ในรัฐของออสเตรเลียใต้(South Australia)

รางรถไฟสายตรงที่ยาวที่สุดในโลกยาวเป็นระยะทาง 478 กิโลเมตร เส้นทางที่ข้ามที่ราบนัลลาบอร์ (Nullarbor plain) ตั้งอยู่ในรัฐของออสเตรเลียใต้(South Australia)

บูมเมอแรง (Boomerang)

บูมเมอแรง (Boomerang) เป็นอาวุธประจำตัวของชาวอะบอริจิน(ชนพื้นเมืองของออสเตรเลีย) ที่ใช้ล่าสัตว์

ซิดนีย์โอเปร่าเฮาส์ Sydney Opera House

ซิดนีย์โอเปร่าเฮาส์ หรือ โรงอุปรากรซิดนีย์ (Sydney Opera House) ซิดนีย์โอเปร่าเฮาส์ เป็นหนึ่งในสิ่งก่อสร้างสมัยใหม่ที่รู้จักกันดีทั่วโลก ออกแบบโดยสถาปนิกชาวเดนมาร์ก ถือเป็น Landmark ที่สำคัญของ นครซิดนีย์และถือเป็นสัญลักษณ์อย่างหนึ่งของประเทศออสเตรเลีย โดยซิดนีย์โอเปร่าเฮาส์ ตั้งอยู่บริเวณปากอ่าวซิดนีย์ นครซิดนีย์ รัฐนิวเซาท์เวลส์ ประเทศออสเตรเลีย องค์การยูเนสโก(UNESCO)ได้ขึ้นทะเบียนให้โรงอุปรากรซิดนีย์เป็นมรดกโลก ใน ปี ค.ศ. 2007

ซิดนีย์โอเปร่าเฮาส์ หรือ โรงอุปรากรซิดนีย์ (Sydney Opera House) ซิดนีย์โอเปร่าเฮาส์ เป็นหนึ่งในสิ่งก่อสร้างสมัยใหม่ที่รู้จักกันดีทั่วโลก ออกแบบโดยสถาปนิกชาวเดนมาร์ก ถือเป็น Landmark ที่สำคัญของ นครซิดนีย์และถือเป็นสัญลักษณ์อย่างหนึ่งของประเทศออสเตรเลีย โดยซิดนีย์โอเปร่าเฮาส์ ตั้งอยู่บริเวณปากอ่าวซิดนีย์ นครซิดนีย์ รัฐนิวเซาท์เวลส์ ประเทศออสเตรเลีย องค์การยูเนสโก(UNESCO)ได้ขึ้นทะเบียนให้โรงอุปรากรซิดนีย์เป็นมรดกโลก ใน ปี ค.ศ. 2007

ซิดนีย์โอเปร่าเฮาส์ หรือ โรงอุปรากรซิดนีย์ (Sydney Opera House) เป็นหนึ่งในสิ่งก่อสร้างสมัยใหม่ที่รู้จักกันดีทั่วโลก ออกแบบโดยสถาปนิกชาวเดนมาร์ก ถือเป็น Landmark ที่สำคัญของ นครซิดนีย์และถือเป็นสัญลักษณ์อย่างหนึ่งของประเทศออสเตรเลีย ซิดนีย์โอเปร่าเฮาส์ ตั้งอยู่บริเวณปากอ่าวซิดนีย์ นครซิดนีย์ รัฐนิวเซาท์เวลส์ ประเทศออสเตรเลีย องค์การยูเนสโก(UNESCO)ได้ขึ้นทะเบียนให้โรงอุปรากรซิดนีย์เป็นมรดกโลก ใน ปี ค.ศ. 2007

สะพานซิดนีย์ฮาร์เบอร์ Sydney Harbour Bridge

สะพานซิดนีย์ฮาร์เบอร์(Sydney Harbour Bridge) สะพานซิดนีย์ฮาร์เบอร์เป็นสะพานระนาบเดี่ยว ที่ใหญ่ที่สุดในโลก สร้างขึ้นในช่วงเศรษฐกิจตกต่ำในทศวรรษ 1930 เพื่อเป็นสัญลักษณ์แห่งความหวัง เปิดใช้ในปีค.ศ. 1932 และ ถือเป็น Landmark ที่สำคัญของนครซิดนีย์และถือเป็นสัญลักษณ์อย่างหนึ่งของประเทศออสเตรเลียเคียงคู่กับซิดนีย์ (Sydney Opera House)

สะพานซิดนีย์ฮาร์เบอร์(Sydney Harbour Bridge) สะพานซิดนีย์ฮาร์เบอร์เป็นสะพานระนาบเดี่ยว ที่ใหญ่ที่สุดในโลก สร้างขึ้นในช่วงเศรษฐกิจตกต่ำในทศวรรษ 1930 เพื่อเป็นสัญลักษณ์แห่งความหวัง เปิดใช้ในปีค.ศ. 1932 และ ถือเป็น Landmark ที่สำคัญของนครซิดนีย์และถือเป็นสัญลักษณ์อย่างหนึ่งของประเทศออสเตรเลียเคียงคู่กับซิดนีย์ (Sydney Opera House)

สะพานซิดนีย์ฮาร์เบอร์(Sydney Harbour Bridge) สะพานซิดนีย์ฮาร์เบอร์เป็นสะพานระนาบเดี่ยว ที่ใหญ่ที่สุดในโลก สร้างขึ้นในช่วงเศรษฐกิจตกต่ำในทศวรรษ 1930 เพื่อเป็นสัญลักษณ์แห่งความหวัง เปิดใช้ในปี ค.ศ. 1932 และถือเป็น Landmark ที่สำคัญของนครซิดนีย์และถือเป็นสัญลักษณ์อย่างหนึ่งของประเทศออสเตรเลียเคียงคู่กับซิดนีย์(Sydney Opera House)

สะพานซิดนีย์ฮาร์เบอร์(Sydney Harbour Bridge) สะพานซิดนีย์ฮาร์เบอร์ถือเป็น Landmark ที่สำคัญของนครซิดนีย์และถือเป็นสัญลักษณ์อย่างหนึ่งของประเทศออสเตรเลียเคียงคู่กับซิดนีย์ (Sydney Opera House) ตั้งอยู่ปากอ่าวซิดนีย์

Aborigines

ชาวอบอริจินส์(Aborigines) ชนพื้นเมืองดั้งเดิมของออสเตรเลีย

ชาวอบอริจินส์(Aborigines) ชนพื้นเมืองดั้งเดิมของออสเตรเลีย เป็นชาติพันธุ์กลุ่มออสเตรเลยด์(Australoid) ปัจจุบันอาศัยอยู่แถบตอนกลาง ตอนเหนือ และตะวันตกของประเทศ และปัจจุบันทางการออสเตรเลียได้จัดพื้นที่ที่เป็นเขตอาศัยของ กลุ่มชนพื้นเมืองนี้ คือเขตนอร์ทเทิร์นแทริทอรี่ (Northern Territories)

WHITE AUSTRALIAN POLICY

นโยบายไวต์ออสเตรเลีย (White Australia policy) เป็นนโยบายของรัฐบาลออสเตรเลียในอดีตระหว่าง ค.ศ. 1901 - ค.ศ. 1973 ที่ปิดกั้นไม่ให้คนสีผิวอพยพเข้ามาตั้งถิ่นฐานในออสเตรเลีย บรรยากาศการแข่งขันในยุคตื่นทอง ปัญหาแรงงาน และความเป็นชาตินิยมของออสเตรเลีย สร้างบรรยากาศของการกีดกันทางสีผิวในช่วงครึ่งหลังของคริสต์ศตวรรษที่ 19 ซึ่งนำมาสู่การออก Immigration Restriction Act 1901 (พระราชบัญญัติ (พ.ร.บ.) การจำกัดการเข้าเมือง )อันเป็นกฎหมายฉบับแรกๆ ของรัฐสภาออสเตรเลีย ภายหลังการรวมรัฐต่างๆ ขึ้นเป็นประเทศออสเตรเลีย กฎหมายฉบับนี้ถือเป็นจุดเริ่มต้นของนโยบายไวต์ออสเตรเลียโดยรัฐบาลกลาง จนถึงสงครามโลกครั้งที่สองได้มีกฎหมายฉบับอื่นที่รัฐสภาออกมาเพิ่มเติมอีกเพื่อสนับสนุนนโยบายนี้

นโยบายไวต์ออสเตรเลีย(White Australia policy) เป็นนโยบายของรัฐบาลออสเตรเลียในอดีตระหว่าง ค.ศ. 1901 - ค.ศ. 1973 ที่ปิดกั้นไม่ให้คนสีผิวอพยพเข้ามาตั้งถิ่นฐานในออสเตรเลีย ปัจจัยที่ทำให้เกิดนโยบายนี้ คือ - ยุคการตื่นทอง - ปัญหาแรงงาน - ความเป็นชาตินิยมของออสเตรเลีย สร้างบรรยากาศของการกีดกันทางสีผิวในช่วงครึ่งหลังของคริสต์ศตวรรษที่ 19 ซึ่งนำมาสู่การออก Immigration Restriction Act 1901 (พระราชบัญญัติ (พ.ร.บ.) การจำกัดการเข้าเมือง) กฎหมายฉบับนี้ถือเป็นจุดเริ่มต้นของนโยบายไวต์ออสเตรเลียโดยรัฐบาลกลาง นโยบายไวต์ออสเตรเลียค่อยเสื่อมคลายลงไปเป็นลำดับหลังสงครามโลกครั้งที่สองสิ้นสุดลง การค้นพบทองในดินแดนออสเตรเลียเมื่อ ค.ศ. 1851 ทำให้มีผู้คนจำนวนจากทั่วโลกหลั่งไหลกันเข้ามาในประเทศ ในช่วงเวลา 20 ปีหลังการค้นพบทอง ชายชาวจีนราว 40,000 คน และหญิงกว่า 9,000 คน (ส่วนใหญ่เป็นขาวกวางตุ้ง) ได้อพยพเข้ามาในออสเตรเลียเพื่อแสวงโชค การแข่งขันเข้าพื้นที่ขุดทองทำให้เกิดความตึงเครียด เกิดการประท้วง และการจลาจลในที่สุด ในหลายที่ จนกระทั้งนำไปสู่ข้อจำกัดในการเข้าเมืองของคนจีนและมีการเรียกเก็บภาษีการอยู่อาศัยจากชาวจีนในรัฐวิคตอเรีย เมื่อ ค.ศ. 1855 ซึ่งรัฐนิวเซาท์เวลส์ก็ทำตามใน ค.ศ. 1861 ระบบนี้มีผลบังคับใช้จนถึงต้นคริสต์ทศวรรษ 1870

นโยบายไวต์ออสเตรเลีย(White Australia policy) เป็นนโยบายของรัฐบาลออสเตรเลียในอดีตระหว่าง ค.ศ. 1901 - ค.ศ. 1973 ที่ปิดกั้นไม่ให้คนสีผิว อพยพเข้ามาตั้งถิ่นฐานในออสเตรเลีย ปัจจัยที่ทำให้เกิดนโยบายนี้ คือ - ยุคการตื่นทอง - ปัญหาแรงงาน - ความเป็นชาตินิยมของออสเตรเลีย สร้างบรรยากาศของการกีดกันทางสีผิวในช่วงครึ่งหลังของคริสต์ศตวรรษที่ 19 ซึ่งนำมาสู่การออก Immigration Restriction Act 1901 (พระราชบัญญัติ (พ.ร.บ.) การจำกัดการเข้าเมือง) กฎหมายฉบับนี้ถือเป็นจุดเริ่มต้นของนโยบายไวต์ออสเตรเลียโดยรัฐบาลกลาง นโยบายไวต์ออสเตรเลียค่อยเสื่อมคลายลงไปเป็นลำดับหลังสงครามโลกครั้งที่สองสิ้นสุดลง การเติบโตของอุตสาหกรรมน้ำตาลในรัฐควีนส์แลนด์ในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1870 นำไปสู่ความต้องการแรงงานที่สามารถทำงานในสภาพอากาศเขตร้อนชื้นได้ ในช่วงเวลานี้ "Kanakas" (ชาวพื้นเมืองในหมู่เกาะแปซิฟิก) จำนวนมากถูกนำเข้ามาในออสเตรเลีย โดยเฉพาะในการปลูกอ้อยเพื่อทำน้ำตาลในควีนส์แลนด์และฟิจิ ในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1870 และ 1880 กลุ่มสหภาพแรงงานได้ประท้วงต่อต้านแรงงานต่างชาติ โดยกล่าวว่าชาวเอเชียและชาวจีนแย่งงานคนผิวขาว ผู้ถือครองที่ดินที่ร่ำรวยในชนบทปฏิเสธข้อกล่าวอ้างนี้กลุ่มเจ้าของที่ดินเชื่อว่าหากปราศจากชาวเอเชียเหล่านี้มาทำงานในเขตร้อนชื้นของเขตนอร์เทิร์นเทร์ริทอรีและรัฐควีนส์แลนด์จะไม่มีใครเข้ามาอยู่ในเขตดังกล่าวได้ แม้จะมีข้อโต้แย้งจากผู้ถือครองที่ดินเหล่านี้ ระหว่าง ค.ศ. 1875-1888 กลุ่มรัฐและดินแดนที่ยังไม่รวมกันเป็นประเทศออสเตรเลีย ได้ออกกฎหมายห้ามการเข้าเมืองของคนจีน ส่วนชาวเอเชียที่ได้ตั้งรกรากในดินแดนออสเตรเลียก่อนกฎหมายออกมานั้นยังคงได้รับสิทธิ์เท่าเทียมกับพลเมืองผิวขาวอื่นๆ และต่อมาได้มีความพยายามในการเพิ่มข้อจำกัดคนเข้าเมืองนี้ไปสู่คนสีผิวทั้งหมดผ่านการออกกฎหมาย

1880 กลุ่มสหภาพแรงงานได้ประท้วงต่อต้านแรงงานต่างชาติ โดยกล่าวว่าชาวเอเชียและชาวจีนแย่งงานคนผิวขาว ภาพล้อการต่อต้านชาวจีนที่อพยพเข้ามายังออสเตรเลียและเข้ามาแย่งงานชาวผิวขาว

นโยบายไวต์ออสเตรเลีย(White Australia policy) เป็นนโยบายของรัฐบาลออสเตรเลียในอดีตระหว่าง ค.ศ. 1901 - ค.ศ. 1973 ที่ปิดกั้นไม่ให้คนสีผิวอพยพเข้ามาตั้งถิ่นฐานในออสเตรเลีย ปัจจัยที่ทำให้เกิดนโยบายนี้ คือ - ยุคการตื่นทอง - ปัญหาแรงงาน - ความเป็นชาตินิยมของออสเตรเลีย สร้างบรรยากาศของการกีดกันทางสีผิวในช่วงครึ่งหลังของคริสต์ศตวรรษที่ 19 ซึ่งนำมาสู่การออก Immigration Restriction Act 1901 (พระราชบัญญัติ (พ.ร.บ.) การจำกัดการเข้าเมือง) กฎหมายฉบับนี้ถือเป็นจุดเริ่มต้นของนโยบายไวต์ออสเตรเลียโดยรัฐบาลกลาง นโยบายไวต์ออสเตรเลียค่อยเสื่อมคลายลงไปเป็นลำดับหลังสงครามโลกครั้งที่สองสิ้นสุดลง ในช่วงหลังทศวรรษ 1850 เป็นต้นมาออสเตรเลียก็มีการพัฒนามากขึ้นๆในทุกๆด้าน ทั้งด้านการเมือง ด้านเศรษฐกิจ คมนาคม ความเป็นอยู่ทั้งด้านการทำมาหากิน ที่อยู่อาศัยและการศึกษาของประชาชน รวมทั้งด้านความมั่นคงของประเทศ ฯลฯ จนในภายหลังได้สร้างชาตินิยมและความรักชาติที่เพิ่มมากขึ้นในชาวออสเตรเลีย ซึ่งในไปสู่ความเป็นออสเตรเลีย (Australianism) เกิดศิลปะ วรรณกรรมที่สะท้อนให้เห็นถึงอัตลักษณ์และการสร้างบุคลิกภาพของชาวออสเตรเลีย ในขณะที่การพัฒนาด้านการเมืองก็เป็นไปอย่างต่อเนื่องแม้ว่าออสเตรเลียจะได้รับผลกระทบจากสงครามโลกที่ทำให้ต้องส่งคนเป็นจำนวนมาก แต่ก็ได้ทำให้ออสเตรเลียเป็นที่รู้จักของโลก ความเป็นชาตินิยมที่เพิ่มพูนในชาวออสเตรเลียได้ทำให้เกิดความต้องการในการรวมชาติจนทำให้ท้ายที่สุดก็ได้สถาปนาเครือรัฐออสเตรเลียที่เป็นสหพันธรัฐที่ปกครองในระบอบประชาธิปไตยที่มีกษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญเป็นประมุข            การจัดตั้งรัฐเครือรัฐออสเตรเลียขึ้นในปี 1901นี่เองที่เป็นก้าวสำคัญที่ทำให้ออสเตรเลียเป็นประเทศในทุกวันนี้

นโยบายไวต์ออสเตรเลียค่อยเสื่อมคลายลงไปเป็นลำดับหลังสงครามโลกครั้งที่สองสิ้นสุดลง เริ่มต้นจากการสนับสนุนการอพยพให้ชาวยุโรปผิวขาวที่มิใช่ชาวอังกฤษมาตั้งถิ่นฐานในออสเตรเลีย และตามด้วยคนที่มิได้มีผิวขาวในที่สุด ตั้งแต่ ค.ศ. 1973 นโยบายนโยบายไวต์ออสเตรเลียได้หมดสภาพในทางปฏิบัติไปโดยสมบูรณ์ และใน ค.ศ. 1975 รัฐบาลได้ออกกฎหมาย Racial Discrimination Act 1975 (พ.ร.บ.การแบ่งแยกทางเชื้อชาติ)อันทำให้การกีดกันคนโดยอาศัยเกณฑ์ทางเชื้อชาติเป็นสิ่งผิดกฎหมาย

ปัจจุบันออสเตรเลีย ได้ใช้ “นโยบายพหุวัฒนธรรม (Multiculturalism policy)” ที่เปิดกว้างมากขึ้น สำหรับการเข้าเมืองของชาวต่างชาติ โดยหลายคนใช้คำแทนสังคมออสเตรเลียว่า "melting pot" เพราะเป็นที่ ๆ คนกว่า 200 เชื้อชาติ อาศัยอยู่ในออสเตรเลีย

WHAT ?

ประเทศใดต่อไปนี้เป็นประเทศเอกราชโดยสมบูรณ์ ???

ประเทศใดต่อไปนี้เป็นประเทศเอกราชโดยสมบูรณ์ ???

ประเทศใดต่อไปนี้เป็นประเทศเอกราชโดยสมบูรณ์ ???

ประเทศใดต่อไปนี้เป็นประเทศเอกราชโดยสมบูรณ์ ???