Value Chain and Supply Chain ห่วงโซ่คุณค่า และห่วงโซ่อุปทาน
ที่มาของแนวคิด Value Chain การดำเนินกิจกรรมต่างๆ ขาดความสัมพันธ์ และการร้อยเรียงกันอย่างครบวงจรและเป็นระบบ ทำให้ขาดประสิทธิภาพต่อองค์กรในภาพรวม พิจารณาถึงกิจกรรมที่มีคุณค่าในกระบวนการทั้งหมด เพื่อให้เกิดผลลัพธ์ที่มีประสิทธิภาพสูงสุด โดยลดกิจกรรมที่ไม่สร้างมูลค่าเพิ่ม และเพิ่มกิจกรรมที่สร้างมูลค่าในกระบวนการทั้งหมด
ที่มาของแนวคิด Supply Chain การจัดซื้อ การผลิต และการจัดส่งสินค้าในรูปแบบเดิม เป็นระบบที่แยกงานกันทำ มีส่วนเกี่ยวเนื่องกันน้อย จึงเป็นเหตุให้เกิดสินค้าตกค้างอยู่ในระบบ การสูญเสียในธุรกิจ ทั้งโอกาสการขาย และการสูญเสียเนื่องมาจากสินค้าค้างสต๊อก การเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วในสังคม จำเป็นต้องควบคุมการไหลของ “ข้อมูล” และ“เงิน” เพื่อให้กระบวนการทำงานตั้งแต่การจัดซื้อ การผลิต และจำหน่าย จนถึงมือผู้บริโภคมีประสิทธิภาพสูงสุด
VALUE CHAIN Porter (1985) ได้เสนอแบบจำลองห่วงโซ่คุณค่าไว้ โดยมุ่งให้ความสำคัญกับกิจกรรมในโซ่คุณค่าของแต่ละหน่วยธุรกิจ ตั้งแต่การจัดหาแหล่งวัตถุดิบ การแปรรูป ตลอดจนถึงกระบวนการส่งมอบสินค้าและบริการให้กับลูกค้า มุ่งสร้างความสามารถในการแข่งขันทางธุรกิจ ด้วยการวิเคราะห์มูลค่าเพิ่มที่เกิดขึ้นในแต่ละขั้นตอนหรือกิจกรรม ห่วงโซ่คุณค่าจึงเป็นการเชื่อมโยงกิจกรรมต่างๆที่สร้างมูลค่าเพิ่ม (Value-Creation Activities) และเกิดการเชื่อมโยงกับคู่ค้าในโซ่อุปทานด้วยกัน ส่งผลต่อศักยภาพในการแข่งขัน (Competitive position)
VALUE CHAIN
SUPPLY CHAIN กระบวนการที่เชื่อมโยงการดำเนินกิจกรรมต่างๆ เพื่อตอบสนองความต้องการของลูกค้าปลายทางทั้งในด้านสินค้าและบริการ เพื่อให้ลูกค้ามีความพึงพอใจสูงสุด ตั้งแต่ผู้ส่งมอบ (Suppliers) โรงงานผู้ผลิต (Manufactures) ศูนย์กระจายสินค้า (Distribution centers) และร้านค้าย่อยและลูกค้าหรือผู้บริโภค (Retailers or customers ความสำเร็จที่จะเกิดขึ้นในห่วงโซ่อุปทานจะประกอบด้วยการไหลเวียนของข้อมูลข่าวสาร สินค้าและเงินทุน ในการตอบสนองต่อความพึงพอใจของลูกค้า
SUPPLY CHAIN ความสำเร็จที่จะเกิดขึ้นในห่วงโซ่อุปทานจะประกอบด้วยการไหลเวียนของข้อมูลข่าวสาร สินค้าและเงินทุน ในการตอบสนองต่อความพึงพอใจของลูกค้า เป้าหมายของกลยุทธ์ห่วงโซ่อุปทาน คือการทำให้เกิดความสมดุลระหว่างการตอบสนองความต้องการของลูกค้าและประสิทธิภาพ
ตารางเปรียบเทียบ ห่วงโซ่อุปทาน (Supply chain) และ ห่วงโซ่คุณค่า (Value chain) ประเด็นเปรียบเทียบ Supply chain Value chain นิยาม การจัดการการไหลทั้งหมดของสินค้าจากซัพพลายเออร์ถึงผู้บริโภคท้ายสุด โดยพิจารณาถึงการบูรณาการของกระบวนการทางธุรกิจในโซ่อุปทาน ห่วงโซ่ของกิจกรรมที่ทำให้ผลผลิตมีคุณค่ามากกว่าผลรวมของคุณค่าในแต่ละกิจกรรม จุดเน้น เน้นที่กิจกรรมต้นน้ำเพื่อบูรณาการซัพพลายเออร์และกระบวนการของผู้ผลิต ต้นทุนและประสิทธิภาพในการจัดส่ง ลดของเสีย เน้นที่กิจกรรมปลายน้ำเพื่อสร้างคุณค่าในสายตาของลูกค้า
ประเด็นเปรียบเทียบ Supply chain Value chain วัตถุประสงค์ เพื่อลดต้นทุน เพื่อเติมเต็มความต้องการของลูกค้าให้สามารถใช้ทรัพยากรได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด รวมถึงความสามารถในการกระจายสินค้าและแรงงาน เพื่อเพิ่มคุณค่าโดยตัดกิจกรรมที่ไม่จำเป็นออกไปและเพิ่มกิจกรรมบางอย่างที่ให้คุณค่าเพิ่มขึ้น ขอบเขต เริ่มตั้งแต่การจัดหาวัตถุดิบจนถึงการส่งมอบผลิตภัณฑ์ หรือตั้งแต่ซัพพลายเออร์ของซัพพลายเออร์จนถึงลูกค้าของลูกค้า เริ่มตั้งแต่การจัดหาวัตถุดิบจนถึงการส่งมอบผลิตภัณฑ์
ประเด็นยุทธศาสตร์ : พัฒนาคุณภาพการผลิตและเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ข้าวหอมมะลิคุณภาพ การวิจัย และพัฒนา(R&D) + ปัจจัยพื้นฐาน การเพิ่มผลผลิต พัฒนาคุณภาพ และลดต้นทุน การแปรรูป เพิ่มและสร้าง คุณค่า การพัฒนา ระบบ การตลาด การบริหารจัดการ สินค้า (Logistics) การพัฒนา เกษตรกรและ สถาบัน เกษตรกร ตัวอย่าง การวิจัยและพัฒนา เทคโนโลยีการเกษตร การพัฒนาและ ปรับปรุงพันธ์ข้าว หอมมะลิ การพัฒนาพื้นที่ทุ่งกุลา ร้องไห้ แหล่งน้ำและ ระบบชลประทาน การวางแผนการผลิต ของประเทศ โดย คำนึงถึงการจัดสรร การใช้พื้นที่ การบูรณาการการ รับรองมาตรฐานสำหรับ ประเทศ ที่ทัดเทียม สากล การส่งเสริมการจัดทำ ระบบ Zero Waste การจัด model ตัวอย่าง เพื่อถ่ายทอดเทคโนโลยี การแปรรูปข้าวหอม มะลิ การพัฒนาบรรจุภัณฑ์ การพัฒนาระบบประกัน ราคาข้าวและตลาดซื้อ ขายล่วงหน้า การทำการตลาดเพื่อ ประชาสัมพันธ์ข้าวหอม มะลิสู่ครัวโลก วางแผนเส้นทางขนส่ง ในประเทศ เพื่อ รองรับ ASEAN Supply Chain จัดตั้งศูนย์กระจาย สินค้า เพื่อเป็นจุด ส่งผ่านสินค้าทั้งใน และต่างประเทศ ส่งเสริมความ ร่วมมือกัย สถาบันการศึกษา เพื่ออบรมผู้ประกอบ และสร้างความ แข็งแกร่งในด้านโล จิสติกส์และซัพพลาย เชน บริการปรึกษาแนะนำ เทคโนโลยีการผลิตใหม่ อาทิ Post Harvest Technology สนับสนุนสินเชื่อและการ แปลงสินทรัพย์ให้เป็นทุน แก่เกษตรกร ระดับกระทรวง การปรับปรุงคุณภาพ แม่น้ำชีที่มีมลพิษ การพัฒนาระบบเกษตร อินทรีย์ (Organic Farm) โดยใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น เพื่อลดการใช้สารเคมี การพัฒนาการบริหาร จัดการเพื่อขอรับรอง มาตรฐานคุณภาพเพื่อ การส่งออก GAP/GMP/HACCP การคัดแยกข้าวหอม มะลิตามคุณภาพเพื่อ จัดเกรดสินค้า การพัฒนา กระบวนการ แปรรูปและ วัสดุเหลือ ใช้ ภาคการเกษตร ส่งเสริมให้เอกชนมา ลงทุนระบบการเก็บ รักษาข้าวหอมมะลิ การเจรจาจับคู่ระหว่างผู้ส่งออกและเกษตรกร (Contract Farming) การพัฒนา/ยกระดับมาตรฐานตลาดกลางข้าวหอมมะลิ ให้ได้รับการยอมรับระดับสากล การพัฒนาจัดการข้อมูลการตลาด (Market Intelligence Unit) โดยมีการรวบรวมข้อมูลผลิตภัณฑ์ นาข้าวการเกษตร ในพื้นที่ทั้งหมด การจัดงานแสดงสินค้าผลิตภัณฑ์การเกษตรระดับท้องถิ่น การวิจัย และพัฒนาข้าวหอมมะลิชนิดพิเศษ การจัดตั้งศูนย์พัฒนา อุตสาหกรรมการเกษตร เพื่อส่งออกแบบครบ วงจรในพื้นที่ (Food Processing Capacity Building and Export Development Center) การส่งเสริม สืบทอด วัฒนธรรมและวิถีชีวิต ทางการเกษตร ระดับกลุ่มจังหวัด ระดับจังหวัด การส่งเสริมจัดทำปุ๋ย หมักชีวภาพใช้ใน ระดับชุมชน เพื่อเพิ่ม รายได้ให้เกษตรกร การทำส่งเสริมการ รวมกลุ่มของเกษตรกร และการจัดตั้งสหกรณ์ การเกษตรในชุมชน การทำแปลงสาธิตเกษตร อินทรีย์ในระดับอำเภอ และระดับตำบล การส่งเสริมให้เกษตรกร ใช้น้ำส้มควันอ้อยเพื่อ กำจัดศัตรูพืช ระดับท้องถิ่น * ข้อมูลที่ปรากฎเป็นเพียงตัวอย่างประกอบเท่านั้น 10 10 10
ต้นน้ำ กลางน้ำ ปลายน้ำ ผลลัพธ์ การจัดการห่วงโซ่คุณค่า ผลผลิตมังคุดและเงาะ จังหวัดนครศรีธรรมราช และกลุ่ม จว.ใต้บน ต้นน้ำ กลางน้ำ ปลายน้ำ ผลลัพธ์ ศึกษาความต้องการและคู่แข่ง ใน - ต่าง ประ เทศ สำรวจปริมาณ การผลิต ใน- นอก ฤดู ด้วย GIS พัฒนาเกษตรแบบปลอดภัย ใน-นอก ฤดู GAP การจัดองค์กร ชาว สวน ทุน+คน+ ความรู้ 5 P. วิจัยและพัฒนา การเก็บเกี่ยว พัฒนา การแปร รูป และ ผลิตภัณฑ์ กองทุน ส่งเสริมการแปรรูป เชื่อมโยงวัตถุดิบ ศึกษาการ ตลาด ใน – ต่าง ประ เทศ พัฒนาช่องทางจำหน่าย ผลผลิต สด และ แปรรูป ใน-นอก ประเทศ ติด ตาม ประ เมิน คู่ค้า และ กล ไก 8ความยั่งยืนของนิเวศน์,เศรษฐกิจชาวสวนมั่นคง, ความ สัมพันธ์ ผู้ผลิต- ผู้บริโภคและการค้าที่เป็นธรรม การวิจัยและพัฒนาสารสนเทศเพื่อรองรับระบบสนับสนุนการตัดสินใจของภาคีที่เกี่ยวข้องทุกระดับ - พ.ศ.2554-2555 โครงการพัฒนา GIS ไม้ผล (เกษตรจังหวัด+ชาวสวน) โครงการศึกษาคู่แข่งการผลิตไม้ผลเชิงลึก (ศูนย์ส่งออกสุราษฎร์ฯ+ TTCทั่วโลก ) โครงการพัฒนา GAP เพื่อการส่งออก( สนง.วิจัยและพัฒนาการเกษตรที่ 7 สฎ.) โครงการยืดอายุเงาะ(สกว.+ชาวสวน นคร) โครงการวิจัยและพัฒนาโรงงานต้นแบบแปรรูปเงาะ มังคุด ลองกอง บ้านคีรีวง ลานสกา นครฯ(วิสาหกิจชุมชน+สปน.+ก. อุต) โครงการกองทุนส่งเสริมการแปรรูปไม้ผล (ธกส.+หอการค้า+สหกรณ์+วิสาหกิจ ชช.) โครงการจับคู่พัฒนาตลาดพิเศษ –Niche Mar. Duo ( วิสาหกิจ ชช. + บริษัทส่งออก + TCC นำร่อง + ห้างเดอะมอลล์) โครงการพัฒนาทายาทชาวสวนสู้ตลาดโลก ( กรมส่งเสริมการส่งออก + สกว.+ ชาวสวน ) โครงการผลิตภัณฑ์ ไซรัปผลไม้ส่งออก (สกว. + วิสาหกิจฯคีรีวง + TTC นำร่อง ) 11
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กระทรวงพาณิชย์ Policy การเชื่อมโยง Area VCP สู่ Policy VCP กรณีผลผลิตทางการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กระทรวงพาณิชย์ กำหนดนโยบาย ส่งเสริมการแข่งขันการค้าที่เสรีและเป็นธรรม ส่งเสริมธุรกิจการค้าและบริการ ส่งเสริมและพัฒน าตลาดเพื่อส่งออก เจรจาการค้า บริหารการค้า ระหว่างประเทศ กำหนดนโยบาย พัฒนา ผลผลิต บริหารจัดการ ทรัพยากรการผลิต ส่งเสริมพัฒนา กษ. และ สหกรณ์ กระทรวงต่างประเทศ กระทรวงอุตสาหกรรม กำหนดนโยบาย ความสัมพันธ์ ทวิภาคี ความสัมพันธ์ พหุภาคี กำหนดนโยบาย ส่งเสริม การลงทุน พัฒนาประสิทธิ ภาพการผลิต ส่งเสริม อุตสาหกรรม Area ศึกษาความต้องการและคู่แข่ง ใน - ต่าง ประ เทศ สำรวจปริมาณ การผลิต ใน- นอก ฤดู ด้วย GIS พัฒนาเกษตรแบบปลอดภัย ใน-นอก ฤดู GAP การจัดองค์กร ชาว สวน ทุน+คน+ ความรู้ 5 P. วิจัยและพัฒนา การเก็บเกี่ยว พัฒนา การแปร รูป และ ผลิตภัณฑ์ กองทุน ส่งเสริมการแปรรูป เชื่อมโยงวัตถุดิบ ศึกษาการ ตลาด ใน – ต่าง ประ เทศ พัฒนาช่องทางจำหน่าย ผลผลิต สด และ แปรรูป ใน-นอก ประเทศ ติด ตาม ประ เมิน คู่ค้า และ กล ไก 8ความยั่งยืนของนิเวศน์,เศรษฐกิจชาวสวนมั่นคง, ความ สัมพันธ์ ผู้ผลิต- ผู้บริโภคและการค้าที่เป็นธรรม
การบูรณาการแผนท่องเที่ยว ต้นน้ำ กลางน้ำ ปลายน้ำ ความต้องการของชุมชน งานวิจัยในการส่งเสริมการท่องเที่ยว พัฒนากลไก ประสานงานและบูรณาการแผนการท่องเที่ยวหลัก พัฒนาระบบ บริหารและจัดการ การท่องเที่ยว พัฒนาปัจจัยพื้นฐาน ด้านการท่องเที่ยว พัฒนาและปรับปรุง แหล่งท่องเที่ยว พัฒนาศักยภาพ บุคลากร ส่งเสริมการตลาด ประชาสัมพันธ์ พัฒนาแหล่ง ท่องเที่ยวอย่าง ยั่งยืน เป้าประสงค์/ การขับเคลื่อน *การรวมกลุ่มในการบริหารจัดการแหล่งท่องเที่ยว * โครงการส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงนิเวศแบบยั่งยืนมอหินขาว / การจัดการชุมชนบ้านร่องกล้า/ชุมชนในอุทัยธานี * พัฒนาการมีส่วนร่วมในการวางแผนและพัฒนาพื้นที่ ปฏิบัติการร่วม * กำหนดบทบาทหน้าที่และแต่งตั้งคณะกรรมการร่วม และคณะทำงานชุดต่างๆ * ผลักดันให้เกิดบันทึกข้อตกลงว่าด้วยความร่วมมือโครงการ พัฒนาแหล่งท่องเที่ยวมอหินขาวในเขตป่าสงวนแห่งชาติป่า ภูแลนคาด้านทิศเหนือ จังหวัดชัยภูมิ (ระหว่างกรมป่าไม้ กรมอุทยานแห่งชาติฯและจังหวัดชัยภูมิ)/ บ้านร่องกล้า จ.พิษณุโลก/ อุทัยธานี * โครงการปรับปรุงเส้นทางเข้าพื้นที่ * โครงการก่อสร้างแหล่งเก็บกักน้ำและระบบประปา เพื่อเพิ่ม ศักยภาพการท่องเที่ยวในอุทยานแห่งชาติภูแลนคา / บ้า ร่องกล้า/ อุทัยธานี * โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์แหล่งท่องเที่ยวธรรมชาติ * โครงการประชุมสัมมนาเครือข่ายผู้ประกอบการด้านการ ท่องเที่ยว รูปธรรม/กิจกรรมร่วม *โครงการ “12 เดือน 7 ดาว 9 ตะวัน": นอนนับดาวที่มอหินขาว สโตเฮนจ์เมืองไทย จ.ชัยภูมิ * การส่งเสริมการตลาดประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยวเชิงรุก * โครงการส่งเสริมการตลาดและประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยวจังหวัดชัยภูมิ *การเสริมสร้างศักยภาพพื้นที่ *การจัดการทางการตลาด 13 13
policy กระทรวงท่องเที่ยวและกีฬา กระทรวงวัฒนธรรม กระทรวงคมนาคม การเชื่อมโยง Area VCP สู่ Policy VCP กรณีผลผลิตทางการท่องเที่ยว กระทรวงท่องเที่ยวและกีฬา กำหนดนโยบาย วิจัยและพัฒนา การตลาดและประชาสัมพันธ์ กระทรวงวัฒนธรรม กำหนดนโยบาย ทำนุบำรุงอุปถัมภ์ คุ้มครอง ส่งเสริมกิจกรรม ทางศาสนา ศิลปะ และ วัฒนธรรม สืบทอดการ ศาสนา ศิลปะ และวัฒนธรรม กระทรวงคมนาคม กำหนดนโยบายและแผน พัฒนาโครงสร้าง พื้นฐานดานการ ก่อสร้าง การขนส่ง จัดระบบและจัดระเบียบการขนส่ง กำกับดูแล การบริการ ขนส่ง กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติฯ กำหนดนโยบายและแผน สงวนและ อนุรักษ์ วิจัยและ พัฒนา กำกับ ดูแล ฟื้นฟู กระทรวงศึกษาธิการ (มหาวิทยาลับ) กำหนดนโยบาย การศึกษาเพื่อเข้าสู่การประกอบอาชีพ วิจัยและ พัฒนา บริการสังคม และชุมชน Area ความต้องการของชุมชน งานวิจัยในการส่งเสริมการท่องเที่ยว พัฒนากลไก ประสานงานและบูรณาการแผนการท่องเที่ยวหลัก 14 พัฒนาระบบ บริหารและจัดการ การท่องเที่ยว พัฒนาปัจจัยพื้นฐาน ด้านการท่องเที่ยว พัฒนาและปรับปรุง แหล่งท่องเที่ยว พัฒนา ศักยภาพ บุคลากร ส่งเสริม การตลาด ประชาสัมพันธ์ พัฒนาแหล่ง ท่องเที่ยวอย่าง ยั่งยืน
www.pad.moi.go.th โทร 02-2219200