งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การพัฒนาและการจัดการคลังปัญญาดิจิทัล มหาวิทยาลัยศิลปากร

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การพัฒนาและการจัดการคลังปัญญาดิจิทัล มหาวิทยาลัยศิลปากร"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การพัฒนาและการจัดการคลังปัญญาดิจิทัล มหาวิทยาลัยศิลปากร
Development and management of digital intellectual repository Silpakorn University สุนิศา รอดจินดา นพดล เอกผาชัยสวัสดิ์ หอสมุดสาขา วังท่าพระ สำนักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยศิลปากร

2 สาเหตุ ปัญหา ในการจัดทำคลังปัญญาดิจิทัล
มหาวิทยาลัยศิลปากร วังท่าพระ เป็นมหาวิทยาลัยที่มีการเรียนการสอนทางด้านศิลปะและโบราณคดี แห่งแรกในประเทศไทย ที่มีผลงานทางวิชาการ และผลงานทางศิลปะมาก โดยมีหน่วยงานทั้งหมด 9 หน่วยงาน คือ คณะจิตรกรรมฯ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ คณะโบราณคดี คณะมัณฑนศิลป์ หอสมุดสาขา วังท่าพระ หอศิลป์ กองกิจการนักศึกษา กองบริการการศึกษา พบว่าในทุกหน่วยงานมีผลงานทางวิชาการและศิลปะจำนวนมาก บางหน่วยงานมีการจัดเก็บอย่างเป็นระบบและไม่เป็นระบบ อีกทั้งมีปัญหาด้านสถานที่การจัดเก็บผลงาน เนื่องจากการจัดเก็บผลงานทางวิชาการของแต่ละหน่วยงานไม่มีระบบที่เป็นมาตรฐานในการจัดเก็บ ทำให้การสืบค้นข้อมูลตลอดจนการเข้าถึงข้อมูลของผู้ใช้บริการนั้นทำได้ยาก รวมถึงไม่มีการเผยแพร่ผลงานของบุคลากรมหาวิทยาลัยศิลปากร หอสมุดสาขา วังท่าพระ จึงมีแนวคิดในการจัดตั้งคลังปัญญา มหาวิทยาลัยศิลปากรขึ้น เพื่อเป็นศูนย์กลางในการรวบรวม จัดเก็บผลงานทางวิชาการ และผลงานศิลปะ ให้มีระบบมีแบบแผนมากขึ้น โดยสามารถแก้ปัญหาด้านสถานที่การจัดเก็บผลงาน ทางวิชาการ ทั้งนี้หากมีระบบคลังปัญญามหาวิทยาลัยศิลปากร จะทำให้สามารถเข้าถึงข้อมูลได้ง่าย สามารถสืบค้นผลงานและเป็นการเผยแพร่ผลงานของมหาวิทยาลัยศิลปากร วัตถุประสงค์ ในการจัดทำคลังปัญญาดิจิทัล เพื่อการจัดการคลังปัญญาดิจิทัล มหาวิทยาลัยศิลปากร เพื่อการพัฒนาคลังปัญญาดิจิทัล มหาวิทยาลัยศิลปากร

3 กลุ่มเป้าหมาย/เอกสาร
วิธีการดำเนินงาน (R&D) วัตถุประสงค์ วิธีการ กลุ่มเป้าหมาย/เอกสาร เครื่องมือ/สถิติ 1. ศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับคลังปัญญา ศึกษาแนวคิดและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เอกสาร/งานวิจัย การวิเคราะห์การศึกษาเอกสาร 2.ศึกษาสภาพการณ์การจัดการคลังปัญญาในมหาวิทยาลัย 4 แห่ง และสภาพการณ์การจัดการผลงานทางวิชาการของคณะวิชา เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยการสัมภาษณ์ผู้เกี่ยวข้อง ผู้ให้ข้อมูลหลัก บุคลากรของหน่วยงานที่ผู้วิจัยไปศึกษาดูงานการจัดการคลังปัญญาสถาบัน บุคลากรของคณะวิชา/หน่วยงาน มหาวิทยาลัยศิลปากร วังท่าพระ จำนวนรวม 26 คน แบบสัมภาษณ์ 4 ชุด สถิติที่ใช้คือความถี่และร้อยละ 3. ศึกษาความต้องการและรูปแบบคลังปัญญาดิจิทัลของประชาคม มหาวิทยาลัยศิลปากร เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยการแจกแบบสอบถาม กลุ่มตัวอย่างของนักศึกษา อาจารย์ ข้าราชการ และพนักงานมหาวิทยาลัย ที่ในมหาวิทยาลัยศิลปากร วังท่าพระ จำนวน 354 คน แบบสอบถาม 354 ชุด สถิติที่ใช้คือความถี่และร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน F-test ทดสอบรายคู่ด้วยวิธีเชฟเฟ่ R1: ศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูล D1: ออกแบบรูปแบบและพัฒนา R2: แนะนำและทดลองใช้ D2: ประเมินผลความพึงพอใจ

4 กลุ่มเป้าหมาย/เอกสาร
วิธีการดำเนินงาน (R&D) วัตถุประสงค์ วิธีการ กลุ่มเป้าหมาย/เอกสาร เครื่องมือ/สถิติ 1. เพื่อออกแบบและและพัฒนาเครื่องมือในการวิจัย สังเคราะห์ เอกสาร การวิเคราะห์เนื้อหา 1.1 สังเคราะห์รูปแบบการจัดการคลังปัญญา 1.2 เพื่อรับรองความเที่ยงตรงของเนื้อหา ใช้แบบสอบถาม ผู้ทรงคุณวุฒิด้านการจัดการคลังปัญญา จำนวน 3 คน แบบประเมินความสอดคล้อง/ค่าดัชนีความสอดคล้อง 2. เพื่อรับรองรูปแบบการจัดการคลังปัญญาดิจิทัล มหาวิทยาลัยศิลปากร แบบสอบถามผู้เชี่ยวชาญด้านการจัดการคลังปัญญา จำนวน 5 คน ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 3. เพื่อการดำเนินการพัฒนาคลังปัญญาดิจิทัล มหาวิทยาลัยศิลปากร และประเมินผลการปฏิบัติงานของคลังปัญญา พัฒนาคลังปัญญาดิจิทัลตามรูปแบบที่สังเคราะห์ ผู้ทรงคุณวุฒิด้านการจัดการคลังปัญญา จำนวน 3 คน ผู้ทรงคุณวุฒิ ด้านศิลปะ 2 คน R1: ศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูล D1: ออกแบบรูปแบบและพัฒนา R2: แนะนำและทดลองใช้ D2: ประเมินผลความพึงพอใจ

5 กลุ่มเป้าหมาย/เอกสาร
วิธีการดำเนินงาน (R&D) R1: ศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูล วัตถุประสงค์ วิธีการ กลุ่มเป้าหมาย/เอกสาร เครื่องมือ/สถิติ 1. อบรมการใช้คลังปัญญาดิจิทัล มหาวิทยาลัยศิลปากร ประเมินผลหลังจากอบรม ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน D1: ออกแบบรูปแบบและพัฒนา R2: แนะนำและทดลองใช้ D2: ประเมินผลความพึงพอใจ

6 กลุ่มเป้าหมาย/เอกสาร
วิธีการดำเนินงาน (R&D) R1: ศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูล D1: ออกแบบรูปแบบและพัฒนา วัตถุประสงค์ วิธีการ กลุ่มเป้าหมาย/เอกสาร เครื่องมือ/สถิติ การประเมินผลและปรับปรุง ใช้แบบสอบถาม ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน R2: แนะนำและทดลองใช้ D2: ประเมินผลความพึงพอใจ

7 ผลการดำเนินงาน (R&D) จากการศึกษาสภาพการณ์ในการจัดการผลงานทางวิชาการ
ในมหาวิทยาลัยศิลปากร วังท่าพระ 9 หน่วยงาน ผลการดำเนินงาน (R&D) หน่วยงานมีนโยบายการจัดเก็บผลงานทางวิชาการ ร้อยละ 66.6 หน่วยงานมีการวางแผนการจัดเก็บและให้บริการผลงานทางวิชาการเพื่อการเรียนรู้ ร้อยละ 66.6 หน่วยงานมีการจัดเก็บรวมรวมผลงานทางวิชาการ ร้อยละ 55.6 (วิธีการจัดเก็บ คือ ระบบมือ ร้อยละ 44.4 ผลงานที่จัดเก็บ คือ รายงานวิจัย ร้อยละ 44.4) หน่วยงานมีสถานที่จัดเก็บเป็นสัดส่วน ร้อยละ 55.6 หน่วยงานมีผู้รับผิดชอบในการจัดเก็บ ร้อยละ 66.6 ปัญหาและอุปสรรค : สถานที่จัดเก็บมีไม่เพียงพอ ร้อยละ 33.3 และเสนอว่าควรมีหน่วยงานกลางทำหน้าที่ในการเก็บรวบรวมผลงานทางวิชาการ ร้อยละ 100 R1: ศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูล เครื่องมือที่ใช้ : วิเคราะห์เอกสาร/แบบสัมภาษณ์/แบบสอบถาม D1: ออกแบบรูปแบบและพัฒนา ความต้องการและรูปแบบคลังปัญญาดิจิทัลที่พึงประสงค์ของประชาคมมหาวิทยาลัยศิลปากร วิเคราะห์ข้อมูลจากการแจกแบบสอบถามแก่กลุ่มตัวอย่างที่ได้รับกลับคืนจำนวน 338 ชุด มีระดับความต้องการรูปแบบคลังปัญญาดิจิทัล มหาวิทยาลัยศิลปากรในภาพรวมมีค่าเฉลี่ยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน ด้านทรัพยากรสารสนเทศ ด้านการสืบค้นและแสดงผลการสืบค้น ด้านการเข้าถึงและการกำหนดสิทธิ์ ด้านอัตลักษณ์ของคลังปัญญาดิจิทัล พบว่ามีค่าเฉลี่ยในระดับมากเกือบทุกด้าน โดยด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือด้านอัตลักษณ์ของคลังปัญญาดิจิทัล ด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุดอยู่ในระดับปานกลางคือด้านการเข้าถึงและการกำหนดสิทธิ์ R2: แนะนำและทดลองใช้ D2: ประเมินผลความพึงพอใจ

8 สร้างรูปแบบ “CREATION Model ”
ผลการดำเนินงาน (R&D) C : Content of Silpakorn University Repository (เนื้อหาสาระของคลังปัญญาดิจิทัล มหาวิทยาลัยศิลปากร) RE : Retrieve and results (การค้นคืนและการแสดงผล) A : Authorization by Owner Rights and Silpakorn University (การกำหนดสิทธิ์โดยผู้ทรงสิทธิ์และประชาคมมหาวิทยาลัยศิลปากร) T : Technology for Repository (เทคโนโลยีที่เหมาะสมสำหรับคลังปัญญา) I : Identity of Silpakorn University (อัตลักษณ์ของมหาวิทยาลัยศิลปากร) O : Open Access (การเข้าถึงแบบเสรี) N : Needs of Silpakorn University Community (ความต้องการของประชาคมมหาวิทยาลัยศิลปากร) - - - R1: ศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูล D1: ออกแบบรูปแบบและพัฒนา R2: แนะนำและทดลองใช้ 1. รับรองรูปแบบด้านคลังปัญญาจากผู้เชี่ยวชาญด้านคลังปัญญา 5 ท่าน เพื่อประเมินและรับรองความเหมาะสมของรูปแบบ พบว่าผู้เชี่ยวชาญมีความคิดเห็นว่ารูปแบบเหมาะสมในระดับมากที่สุด ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดในระดับมากที่สุด คือด้านอัตลักษณ์ของมหาวิทยาลัยศิลปากร (I=Identity of Silpakorn University) D2: ประเมินผลความพึงพอใจ 2.นำรูปแบบ CREATION Model มาพัฒนาคลังปัญญาดิจิทัล โดยใช้โปรแกรม Dspace 3. ประเมินผลความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของคลังปัญญาดิจิทัล จากผู้ทรงคุณวุฒิจำนวน 5 ท่าน พบว่าอยู่ในระดับมาก (อันดับ 1 คือ ด้านความสะดวกในการใช้งาน , อันดับ 2 คือ ด้านการทำงานได้ตามฟังก์ชัน , อันดับ 3 คือ ด้านความปลอดภัยของข้อมูลในคลังปัญญาดิจิทัล)

9 ผลการดำเนินงาน (R&D) R1: ศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูล
แนะนำและทดลองใช้คลังปัญญา โดยการจัดอบรมความรู้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย จำนวน 45 คน *เป็นแบบสอบถามที่ตอบได้มากกว่า 1 คำตอบ ผู้อบรมได้รับความรู้เกี่ยวกับการจัดการคลังปัญญา ร้อยละ 97.8 ได้รับความรู้เกี่ยวกับการค้นหาและการบันทึกข้อมูลคลังปัญญาดิจิทัล ร้อยละ 95.6 ได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันในเรื่องการจัดการคลังปัญญาดิจิทัล ร้อยละ 42.2 R2: แนะนำและทดลองใช้ D2: ประเมินผลความพึงพอใจ

10 ผลการดำเนินงาน (R&D) R1: ศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูล
ประเมินผลการใช้และความพึงพอใจในการใช้งานคลังปัญญาดิจิทัล มหาวิทยาลัยศิลปากร โดยผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย มีค่าเฉลี่ยความต้องการใช้ในภาพรวมในระดับมาก โดยด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ การสืบค้นและการใช้ทางเลือกในการสืบคันด้วย Browse มีค่าเฉลี่ยความพึงพอใจที่มีต่อการใช้คลังปัญญาดิจิทัล มหาวิทยาลัยศิลปากรในภาพรวมในระดับมาก ด้านที่มีค่าเฉลี่ยในระดับมากสูงสุด คือ ด้านความต้องการของประชาคมมหาวิทยาลัยศิลปากร D2: ประเมินผลความพึงพอใจ

11 ผลปฎิบัติงาน ในการจัดทำคลังปัญญา

12 ผลปฎิบัติงาน ในการจัดทำคลังปัญญาดิจิทัล
community แบ่งตามภาควิชา Collection บทความทางวิชาการ ผลงานศิลปะ วิทยานิพนธ์ ศิลปะนิพนธ์ รายงานการวิจัย เอกสารคำสอน เอกสารประกอบการบรรยาย

13 ผลปฎิบัติงานในการจัดทำคลังปัญญาดิจิทัล

14 ผลปฎิบัติงาน ในการจัดทำคลังปัญญาดิจิทัล

15 ผลปฎิบัติงาน ในการจัดทำคลังปัญญาดิจิทัล

16 ประโยชน์ที่ได้รับ ในการจัดทำคลังปัญญาดิจิทัล
ได้รูปแบบการจัดคลังปัญญาดิจิทัลของมหาวิทยาลัยศิลปากร ได้ต้นแบบจัดเก็บ ผลงานทางวิชาการและการสร้างสรรค์ทางด้านศิลปะ การออกแบบ โบราณคดี งานอันมีเอกลักษณ์เฉพาะของมหาวิทยาลัยศิลปากร ช่วยสงวนรักษาผลงานทางวิชาการของนักวิชาการ นักวิจัย

17 ข้อเสนอแนะ ในการจัดทำคลังปัญญาดิจิทัล
ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย นำเสนอให้ผู้บริหารมหาวิทยาลัยวิทยาลัยตระหนักถึงความสำคัญของการจัดทำคลังปัญญามหาวิทยาลัย ผู้บริหารมหาวิทยาลัยวิทยาลัยควรสนับสนุนงบประมาณสำหรับการจัดทำคลังปัญญา ข้อเสนอแนะในการนำผลการวิจัยไปใช้ จากผลการวิจัยที่พบว่าความพึงพอใจที่มีต่อการใช้คลังปัญญาดิจิทัล ด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือด้านอัตลักษณ์ของมหาวิทยาลัยศิลปากร คือขนาดของภาพไม่เหมาะสมและมีข้อมูลของนักวิชาการไม่เพียงพอต่อความต้องการของผู้ใช้ ดังนั้นจึงควรมีการพัฒนาและปรับปรุงข้อมูลให้มีความสมบูรณ์มากยิ่งขึ้น

18 สร้างคลังปัญญามหาวิทยาลัย (SURE)
นำผลจากการวิจัยมาพัฒนาคลังปัญญาของมหาวิทยาลัยศิลปากร

19 | ขอบคุณค่ะ


ดาวน์โหลด ppt การพัฒนาและการจัดการคลังปัญญาดิจิทัล มหาวิทยาลัยศิลปากร

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google